ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตู้ ATM เคลื่อนที่"
จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต | '''ผู้เรียบเรียง''' รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
---- | |||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล | |||
---- | ---- | ||
เป็นคำอุปมัยอุปมาของหนังสือพิมพ์ที่ใช้เรียก[[นักการเมือง]]ที่เป็นนายทุนใหญ่[[อุปถัมภ์นักการเมือง]]ในสังกัดหรือนักการเมืองอื่นที่พร้อมจะย้ายเข้ามาอยู่ในสังกัด อันเป็นกลวิธีในการดูดนักการเมืองเข้าไว้ในสังกัดและการจัดตั้ง[[รัฐบาล]] โดยเฉพาะ[[บรรหาร ศิลปอาชา|นายบรรหาร ศิลปอาชา]] ซึ่งเป็น[[หัวหน้าพรรค]][[ชาติไทย]] ในสมัยที่เสนอตัวเข้าแข่งในตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]ในฤดูกาลเลือกตั้งทั่วไป ปี พ.ศ. 2538 เหตุที่ได้ชื่อว่า “ตู้ ATM เคลื่อนที่” เพราะนายบรรหารสามารถจ่ายเงินสนับสนุนให้กับบรรดาสมาชิกผู้มีความทุกข์ด้านการเงินได้ทุกเวลาทุกสถานที่ เปรียบเสมือนตู้ ATM ของธนาคาร (Automated Teller Machine) ที่บรรดาสมาชิกบัตรเรียกเงินสามารถเบิกเงินได้ทุกเวลาที่ต้องการ | เป็นคำอุปมัยอุปมาของหนังสือพิมพ์ที่ใช้เรียก[[นักการเมือง]]ที่เป็นนายทุนใหญ่[[อุปถัมภ์นักการเมือง]]ในสังกัดหรือนักการเมืองอื่นที่พร้อมจะย้ายเข้ามาอยู่ในสังกัด อันเป็นกลวิธีในการดูดนักการเมืองเข้าไว้ในสังกัดและการจัดตั้ง[[รัฐบาล]] โดยเฉพาะ[[บรรหาร ศิลปอาชา|นายบรรหาร ศิลปอาชา]] ซึ่งเป็น[[หัวหน้าพรรค]][[ชาติไทย]] ในสมัยที่เสนอตัวเข้าแข่งในตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]ในฤดูกาลเลือกตั้งทั่วไป ปี พ.ศ. 2538 เหตุที่ได้ชื่อว่า “ตู้ ATM เคลื่อนที่” เพราะนายบรรหารสามารถจ่ายเงินสนับสนุนให้กับบรรดาสมาชิกผู้มีความทุกข์ด้านการเงินได้ทุกเวลาทุกสถานที่ เปรียบเสมือนตู้ ATM ของธนาคาร (Automated Teller Machine) ที่บรรดาสมาชิกบัตรเรียกเงินสามารถเบิกเงินได้ทุกเวลาที่ต้องการ | ||
[[หมวดหมู่: สารานุกรมการเมืองไทย]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:13, 28 พฤษภาคม 2555
ผู้เรียบเรียง รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
เป็นคำอุปมัยอุปมาของหนังสือพิมพ์ที่ใช้เรียกนักการเมืองที่เป็นนายทุนใหญ่อุปถัมภ์นักการเมืองในสังกัดหรือนักการเมืองอื่นที่พร้อมจะย้ายเข้ามาอยู่ในสังกัด อันเป็นกลวิธีในการดูดนักการเมืองเข้าไว้ในสังกัดและการจัดตั้งรัฐบาล โดยเฉพาะนายบรรหาร ศิลปอาชา ซึ่งเป็นหัวหน้าพรรคชาติไทย ในสมัยที่เสนอตัวเข้าแข่งในตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในฤดูกาลเลือกตั้งทั่วไป ปี พ.ศ. 2538 เหตุที่ได้ชื่อว่า “ตู้ ATM เคลื่อนที่” เพราะนายบรรหารสามารถจ่ายเงินสนับสนุนให้กับบรรดาสมาชิกผู้มีความทุกข์ด้านการเงินได้ทุกเวลาทุกสถานที่ เปรียบเสมือนตู้ ATM ของธนาคาร (Automated Teller Machine) ที่บรรดาสมาชิกบัตรเรียกเงินสามารถเบิกเงินได้ทุกเวลาที่ต้องการ