ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2496"
ล พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น [[พระราชบัญญั� |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
== พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3 ) พุทธศักราช 2496 == | == พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3 ) พุทธศักราช 2496 == | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 70 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2496, หน้า 258-265.</ref> เป็นกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติม[[กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล]]ที่มีการประกาศใช้ก่อนหน้านั้นได้แก่ [[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482]] และ [[พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485]] ซึ่งเนื้อหาสาระของการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว สามารถพิจารณาได้ดังต่อไปนี้ | |||
'''1. การแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง''' ได้แก่ | '''1. การแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง''' ได้แก่ | ||
บรรทัดที่ 16: | บรรทัดที่ 15: | ||
:::1.1 เดิมพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 กำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่บิดาเป็นคนต่างประเทศ (กฎหมายใหม่เรียกว่าคนต่างด้าว) ต้องเป็นผู้ที่ได้เรียนภาษาไทยจนได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1642-1643. มาตรา 17.</ref> กฎหมายใหม่กำหนดให้ต้องเป็นผู้ที่เรียนภาษาไทยจนได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ,อ้างแล้ว, น.259-260 มาตรา 3.</ref> | :::1.1 เดิมพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 กำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่บิดาเป็นคนต่างประเทศ (กฎหมายใหม่เรียกว่าคนต่างด้าว) ต้องเป็นผู้ที่ได้เรียนภาษาไทยจนได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1642-1643. มาตรา 17.</ref> กฎหมายใหม่กำหนดให้ต้องเป็นผู้ที่เรียนภาษาไทยจนได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ,อ้างแล้ว, น.259-260 มาตรา 3.</ref> | ||
:::1.2 การเปลี่ยนลักษณะของผู้ขาดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยกฎหมายเดิม พ.ศ.2482 | :::1.2 การเปลี่ยนลักษณะของผู้ขาดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยกฎหมายเดิม พ.ศ.2482 กำหนดว่าผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภา[[เทศบาล]]ต้องไม่เป็นบุคคลหูหนวกและเป็นใบ้ซึ่งไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482 (อ้างแล้ว) , น.1643 มาตรา 18.</ref> แต่[[กฎหมาย]] พ.ศ.2496 แก้ไขเป็น ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลต้องไม่เป็นบุคคลหูหนวก หรือเป็นใบ้ หรือบุคคลซึ่งตาบอดทั้งสองข้าง<ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) , น.260 มาตรา 4.</ref> นั่นหมายความว่า จากเดิมผู้ที่หูหนวกหรือเป็นใบ้แต่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้และผู้ที่ตาบอดทั้งสองข้างเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล แต่กฎหมายแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2496 ได้ตัดสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลของบุคคลดังกล่าวออกไป | ||
'''2. การแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง''' พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ได้ยกเลิกมาตรา 19, 20 และ 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 ซึ่งเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล และได้บัญญัติมาตรา 19, 20 และ 21 เสียใหม่ โดยมีสาระสำคัญ สามารถเปรียบเทียบได้ดังนี้ <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, อ้างแล้ว, มาตรา 19, 20 และ 21. และ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) ,มาตรา 5, 6, 7 และ 8.</ref> | '''2. การแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง''' พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ได้ยกเลิกมาตรา 19, 20 และ 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 ซึ่งเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล และได้บัญญัติมาตรา 19, 20 และ 21 เสียใหม่ โดยมีสาระสำคัญ สามารถเปรียบเทียบได้ดังนี้ <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, อ้างแล้ว, มาตรา 19, 20 และ 21. และ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) ,มาตรา 5, 6, 7 และ 8.</ref> | ||
บรรทัดที่ 37: | บรรทัดที่ 36: | ||
|ต้องมีพื้นความรู้ดังนี้ | |ต้องมีพื้นความรู้ดังนี้ | ||
1. | 1. ในกรณี[[เทศบาลนคร]] ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 3 ตามหลักสูตรของ[[กระทรวงธรรมการ]] (ศึกษาธิการ) หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น แต่ถ้า[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]เห็นว่าจำเป็นในกรณีแห่งเทศบาลใด จะประกาศกำหนดพื้นความรู้ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 3 เฉพาะเทศบาลนั้นก็ได้ แต่ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ | ||
2. | 2. ในกรณีแห่ง[[เทศบาลเมือง]] ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษาสามัญตามหลักสูตรของกระทรวงธรรมการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น แต่ถ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเห็นว่าจำเป็นในกรณีแห่ง[[เทศบาล]]ใด จะประกาศกำหนดพื้นความรู้ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษาสามัญเฉพาะเทศบาลนั้นก็ได้ แต่ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ | ||
3. | 3. กรณี[[เทศบาลตำบล]] ต้องมีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ | ||
|ต้องมีพื้นความรู้ดังนี้ | |ต้องมีพื้นความรู้ดังนี้ | ||
บรรทัดที่ 47: | บรรทัดที่ 46: | ||
1. ในกรณีเทศบาลนคร ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 6 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น หรือเป็นข้าราชการประจำ หรือพนักงานเทศบาลประจำตั้งแต่ชั้นตรีขึ้นไป หรือมีชื่ออย่างอื่นซึ่งคณะกรรมการข้าราการพลเรือน หรือคณะกรรมการพนักงานเทศบาลแล้วแต่กรณีรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่าชั้นตรีขึ้นไป หรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานเทศบาลดังกล่าวข้างต้นและมิได้ถูกไล่ออกหรือปลดออกโดยมิได้รับบำเหน็จบำนาญ | 1. ในกรณีเทศบาลนคร ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 6 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น หรือเป็นข้าราชการประจำ หรือพนักงานเทศบาลประจำตั้งแต่ชั้นตรีขึ้นไป หรือมีชื่ออย่างอื่นซึ่งคณะกรรมการข้าราการพลเรือน หรือคณะกรรมการพนักงานเทศบาลแล้วแต่กรณีรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่าชั้นตรีขึ้นไป หรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานเทศบาลดังกล่าวข้างต้นและมิได้ถูกไล่ออกหรือปลดออกโดยมิได้รับบำเหน็จบำนาญ | ||
2. ในกรณีแห่งเทศบาลเมือง ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น หรือเป็นข้าราชการประจำ หรือพนักงานเทศบาลประจำตั้งแต่ชั้นจัตวาขึ้นไป | 2. ในกรณีแห่งเทศบาลเมือง ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น หรือเป็นข้าราชการประจำ หรือพนักงานเทศบาลประจำตั้งแต่ชั้นจัตวาขึ้นไป หรือมีชื่ออย่างอื่นซึ่งคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน หรือคณะกรรมการพนักงานเทศบาลแล้วแต่กรณีรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่าชั้นจัตวาขึ้นไป หรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานเทศบาลดังกล่าวข้างต้นและมิได้ถูกไล่ออกหรือปลดออกโดยมิได้รับบำเหน็จบำนาญ ถ้ารัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงมหาดไทย]]เห็นสมควร จะประกาศกำหนดพื้นความรู้สูงขึ้น แต่ไม่เกินกว่าพื้นความรู้ที่กำหนดไว้ในกรณีแห่งเทศบาลนคร หรือกำหนดพื้นความรู้ต่ำลงแต่ไม่ต่ำกว่าพื้นความรู้ที่กำหนดไว้ในกรณีแห่งเทศบาลตำบลเฉพาะเทศบาลใดก็ได้ | ||
3. ในกรณีเทศบาลตำบล มีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าประโยคประถมศึกษา ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น | 3. ในกรณีเทศบาลตำบล มีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าประโยคประถมศึกษา ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น | ||
บรรทัดที่ 65: | บรรทัดที่ 64: | ||
|- | |- | ||
|align="center" |7 | |align="center" |7 | ||
| | |ไม่เป็นผู้อยู่ในฐานะเหนือการเมืองตาม[[รัฐธรรมนูญ]] | ||
|align="center" |-ยกเลิก- | |align="center" |-ยกเลิก- | ||
|- | |- | ||
บรรทัดที่ 74: | บรรทัดที่ 73: | ||
|} | |} | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยเนื้อหาส่วนใหญ่ได้ยกเลิกบทบัญญัติที่ตราขึ้นโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 แล้ว ยังมีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล ( | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยเนื้อหาส่วนใหญ่ได้ยกเลิกบทบัญญัติที่ตราขึ้นโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 แล้ว ยังมีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2485 อีกด้วย โดยเนื้อหาของมาตรา 22 ของกฎหมายทั้ง 2 ฉบับสามารถพิจารณาเทียบเทียบได้ดังนี้ <ref>พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485, ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32 น.1045-1046. ม.3. และ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) ,ม.8.</ref> | ||
{| border="1" align="center" | {| border="1" align="center" | ||
|- | |- | ||
!width="70" style="background:#87cefa;" | ลำดับ | !width="70" style="background:#87cefa;" | ลำดับ | ||
!width="400" style="background:#87cefa;" |พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล ( | !width="400" style="background:#87cefa;" |พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2485 | ||
!width="400" style="background:#87cefa;" |พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 | !width="400" style="background:#87cefa;" |พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 | ||
|- | |- | ||
บรรทัดที่ 89: | บรรทัดที่ 88: | ||
ห้ามมิให้ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลซึ่งมีเงินเดือน และประจำในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ห้ามมิให้ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลซึ่งมีเงินเดือน และประจำในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ||
ในกรณีที่ไม่ต้องห้ามตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการ พนักงานเทศบาล ครูประชาบาล | ในกรณีที่ไม่ต้องห้ามตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการ พนักงานเทศบาล ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของ[[รัฐบาล]]ผู้ใด ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลแล้ว ผู้นั้นต้องลาออกจากตำแหน่ง ในส่วนข้าราชการนั้นให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญและถ้าเป็นข้าราชการทหารก็อาจได้รับเบี้ยหวัดแทนบำบาญตามระเบียบของทหาร | ||
ความในมาตรานี้ มิให้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง | ความในมาตรานี้ มิให้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง | ||
|มาตรา 22 นอกจากข้าราชการการเมือง ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ในจังหวัดใด | |มาตรา 22 นอกจากข้าราชการการเมือง ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ในจังหวัดใด สมัครรับเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาเทศบาล]]ในจังหวัดนั้น | ||
ห้ามมิให้พนักงานเทศบาล ซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ห้ามมิให้พนักงานเทศบาล ซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ||
ห้ามมิให้พนักงานสุขาภิบาล | ห้ามมิให้พนักงานสุขาภิบาล ซึ่งประจำอยู่ใน[[จังหวัด]]ใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ||
ห้ามมิให้ลูกจ้าง หรือคนงานของรัฐบาล ซึ่งมีเงินเดือนและประจำในจังหวัดใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ห้ามมิให้ลูกจ้าง หรือคนงานของรัฐบาล ซึ่งมีเงินเดือนและประจำในจังหวัดใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น | ||
บรรทัดที่ 110: | บรรทัดที่ 109: | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482. | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482. | ||
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล ( | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485, ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32. | ||
==อ้างอิง== | ==อ้างอิง== | ||
<references/> | <references/> | ||
[[หมวดหมู่:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง ]] | [[หมวดหมู่:กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง ]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:24, 3 ตุลาคม 2554
ผู้เรียบเรียง อลงกรณ์ อรรคแสง
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3 ) พุทธศักราช 2496
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496[1] เป็นกฎหมายแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลที่มีการประกาศใช้ก่อนหน้านั้นได้แก่ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 และ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485 ซึ่งเนื้อหาสาระของการแก้ไขเพิ่มเติมดังกล่าว สามารถพิจารณาได้ดังต่อไปนี้
1. การแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ได้แก่
- 1.1 เดิมพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 กำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่บิดาเป็นคนต่างประเทศ (กฎหมายใหม่เรียกว่าคนต่างด้าว) ต้องเป็นผู้ที่ได้เรียนภาษาไทยจนได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาปีที่ 3[2] กฎหมายใหม่กำหนดให้ต้องเป็นผู้ที่เรียนภาษาไทยจนได้รับประกาศนียบัตรไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 [3]
- 1.2 การเปลี่ยนลักษณะของผู้ขาดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยกฎหมายเดิม พ.ศ.2482 กำหนดว่าผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลต้องไม่เป็นบุคคลหูหนวกและเป็นใบ้ซึ่งไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้[4] แต่กฎหมาย พ.ศ.2496 แก้ไขเป็น ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลต้องไม่เป็นบุคคลหูหนวก หรือเป็นใบ้ หรือบุคคลซึ่งตาบอดทั้งสองข้าง[5] นั่นหมายความว่า จากเดิมผู้ที่หูหนวกหรือเป็นใบ้แต่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้และผู้ที่ตาบอดทั้งสองข้างเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล แต่กฎหมายแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ.2496 ได้ตัดสิทธิในการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลของบุคคลดังกล่าวออกไป
2. การแก้ไขคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ได้ยกเลิกมาตรา 19, 20 และ 21 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 ซึ่งเป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล และได้บัญญัติมาตรา 19, 20 และ 21 เสียใหม่ โดยมีสาระสำคัญ สามารถเปรียบเทียบได้ดังนี้ [6]
ลำดับ | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 |
---|---|---|
1 | ต้องมิใช่เป็นผู้เคยต้องคำพิพากษาให้กักกันหรือจำคุกตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป โดยพ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปีในวันเลือกตั้ง เว้นแต่ความผิดส่วนตัวหรือฐานประมาท | -ยกเลิก- |
2 | -ไม่มี- | เป็นผู้ที่ต้องเสียภาษีโรงเรือนตามกฎหมายว่าด้วยภาษีโรงเรือนและที่ดิน หรือภาษีเงินได้ หรือภาษีบำรุงท้องที่ตามประมวลรัษฎากร หรือเป็นสามีหรือภริยาของผู้ที่ต้องเสียภาษีดังกล่าว หรือเป็นเจ้าบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเทียนราษฎรในเขตเทศบาลนั้น |
3 | ต้องมีพื้นความรู้ดังนี้
1. ในกรณีเทศบาลนคร ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 3 ตามหลักสูตรของกระทรวงธรรมการ (ศึกษาธิการ) หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น แต่ถ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเห็นว่าจำเป็นในกรณีแห่งเทศบาลใด จะประกาศกำหนดพื้นความรู้ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 3 เฉพาะเทศบาลนั้นก็ได้ แต่ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ 2. ในกรณีแห่งเทศบาลเมือง ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษาสามัญตามหลักสูตรของกระทรวงธรรมการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น แต่ถ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเห็นว่าจำเป็นในกรณีแห่งเทศบาลใด จะประกาศกำหนดพื้นความรู้ต่ำกว่าชั้นประถมศึกษาสามัญเฉพาะเทศบาลนั้นก็ได้ แต่ต้องเป็นผู้ที่มีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ 3. กรณีเทศบาลตำบล ต้องมีความรู้อ่านและเขียนหนังสือไทยได้ |
ต้องมีพื้นความรู้ดังนี้
1. ในกรณีเทศบาลนคร ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมปีที่ 6 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น หรือเป็นข้าราชการประจำ หรือพนักงานเทศบาลประจำตั้งแต่ชั้นตรีขึ้นไป หรือมีชื่ออย่างอื่นซึ่งคณะกรรมการข้าราการพลเรือน หรือคณะกรรมการพนักงานเทศบาลแล้วแต่กรณีรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่าชั้นตรีขึ้นไป หรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานเทศบาลดังกล่าวข้างต้นและมิได้ถูกไล่ออกหรือปลดออกโดยมิได้รับบำเหน็จบำนาญ 2. ในกรณีแห่งเทศบาลเมือง ต้องมีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น หรือเป็นข้าราชการประจำ หรือพนักงานเทศบาลประจำตั้งแต่ชั้นจัตวาขึ้นไป หรือมีชื่ออย่างอื่นซึ่งคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน หรือคณะกรรมการพนักงานเทศบาลแล้วแต่กรณีรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่าชั้นจัตวาขึ้นไป หรือเคยเป็นข้าราชการหรือพนักงานเทศบาลดังกล่าวข้างต้นและมิได้ถูกไล่ออกหรือปลดออกโดยมิได้รับบำเหน็จบำนาญ ถ้ารัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควร จะประกาศกำหนดพื้นความรู้สูงขึ้น แต่ไม่เกินกว่าพื้นความรู้ที่กำหนดไว้ในกรณีแห่งเทศบาลนคร หรือกำหนดพื้นความรู้ต่ำลงแต่ไม่ต่ำกว่าพื้นความรู้ที่กำหนดไว้ในกรณีแห่งเทศบาลตำบลเฉพาะเทศบาลใดก็ได้ 3. ในกรณีเทศบาลตำบล มีความรู้สอบไล่ได้ไม่ต่ำกว่าประโยคประถมศึกษา ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีความรู้ซึ่งกระทรวงธรรมการรับรองว่าเทียบได้ไม่ต่ำกว่านั้น |
4 | อายุไม่ต่ำกว่า 23 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง | อายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง |
5 | -ไม่มี- | บิดามีสัญชาติไทย |
6 | ไม่เป็นบุคคลหูหนวกหรือเป็นใบ้ซึ่งไม่สามารถอ่านและเขียนหนังสือได้ | ไม่เป็นบุคคลหูหนวก หรือเป็นใบ้ หรือบุคคลซึ่งตาบอดทั้งองข้าง |
7 | ไม่เป็นผู้อยู่ในฐานะเหนือการเมืองตามรัฐธรรมนูญ | -ยกเลิก- |
8 | -ไม่มี- | ไม่เป็นผู้รับโทษ หรือเคยรับโทษจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ความผิดลหุโทษ หรือความผิดที่กำหนดโทษชั้นลหุโทษ หรือความผิดอันได้กระทำโดยประมาท |
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 นอกจากจะเป็นการแก้ไขเพิ่มเติมโดยเนื้อหาส่วนใหญ่ได้ยกเลิกบทบัญญัติที่ตราขึ้นโดยพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พ.ศ.2482 แล้ว ยังมีการแก้ไขเพิ่มเติมโดยยกเลิกมาตรา 22 แห่งพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2485 อีกด้วย โดยเนื้อหาของมาตรา 22 ของกฎหมายทั้ง 2 ฉบับสามารถพิจารณาเทียบเทียบได้ดังนี้ [7]
ลำดับ | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2485 | พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 |
---|---|---|
1 | มาตรา 22 ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น
ห้ามมิให้พนักงานเทศบาลซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลใดสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกแห่งสภาเทศบาลนั้น ห้ามมิให้ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลซึ่งมีเงินเดือน และประจำในจังหวัดใดสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น ในกรณีที่ไม่ต้องห้ามตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการ พนักงานเทศบาล ครูประชาบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลผู้ใด ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลแล้ว ผู้นั้นต้องลาออกจากตำแหน่ง ในส่วนข้าราชการนั้นให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญและถ้าเป็นข้าราชการทหารก็อาจได้รับเบี้ยหวัดแทนบำบาญตามระเบียบของทหาร ความในมาตรานี้ มิให้บังคับแก่ข้าราชการการเมือง |
มาตรา 22 นอกจากข้าราชการการเมือง ห้ามมิให้ข้าราชการซึ่งรับราชการอยู่ในจังหวัดใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น
ห้ามมิให้พนักงานเทศบาล ซึ่งเป็นพนักงานประจำของเทศบาลใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น ห้ามมิให้พนักงานสุขาภิบาล ซึ่งประจำอยู่ในจังหวัดใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น ห้ามมิให้ลูกจ้าง หรือคนงานของรัฐบาล ซึ่งมีเงินเดือนและประจำในจังหวัดใด สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลในจังหวัดนั้น ในกรณีที่ไม่ต้องห้ามตามมาตรานี้ เมื่อข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานสุขาภิบาล หรือลูกจ้างของรัฐบาลผู้ใดได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาเทศบาลแล้ว ผู้นั้นต้องลาออกจากตำแหน่ง ในส่วนข้าราชการนั้น ให้มีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญด้วยเหตุทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญ และถ้าเป็นข้าราชการทหาร ก็อาจรับเบี้ยหวัดแทนบำนาญตามระเบียบของทหาร |
ที่มา
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 70 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2496.
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482.
พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485, ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32.
อ้างอิง
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 70 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2496, หน้า 258-265.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 56 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2482, น.1642-1643. มาตรา 17.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 ,อ้างแล้ว, น.259-260 มาตรา 3.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482 (อ้างแล้ว) , น.1643 มาตรา 18.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) , น.260 มาตรา 4.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล พุทธศักราช 2482, อ้างแล้ว, มาตรา 19, 20 และ 21. และ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) ,มาตรา 5, 6, 7 และ 8.
- ↑ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2485, ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 พฤษภาคม 2485 เล่มที่ 59 ตอนที่ 32 น.1045-1046. ม.3. และ พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2496 (อ้างแล้ว) ,ม.8.