ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราษฎรรักไทย (พ.ศ. 2549)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐ...
 
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
'''พรรคราษฎรรักไทย'''
'''พรรคราษฎรรักไทย'''


พรรคราษฎรรักไทยจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2549<ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 38</ref>  โดยมีนายโภมาต เจริญภูวดล ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคและนายภาคิน เหลื่อมรัมย์ ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 70</ref>  
พรรคราษฎรรักไทยจดทะเบียนจัดตั้ง[[พรรคการเมือง]]เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2549<ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 38</ref>  โดยมีนายโภมาต เจริญภูวดล ดำรงตำแหน่งเป็น[[หัวหน้าพรรค]]และนายภาคิน เหลื่อมรัมย์ ดำรงตำแหน่งเป็น[[เลขาธิการพรรค]] <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 70</ref>  


ในส่วนของการร่วมกิจกรรมทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคนั้น ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พรรคได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งในนามของพรรคจำนวน 10 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นการเลือกตั้งในแบบสัดส่วน ผลของการเลือกตั้งครั้งดังกล่าวนั้นผู้สมัครทั้งหมดของพรรคมิได้ถูกรับเลือกแต่อย่างใด
ในส่วนของการร่วม[[กิจกรรมทางการเมือง]]อย่างเป็นทางการของพรรคนั้น ใน[[การเลือกตั้ง]][[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พรรคได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งในนามของพรรคจำนวน 10 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นการเลือกตั้งในแบบสัดส่วน ผลของการเลือกตั้งครั้งดังกล่าวนั้นผู้สมัครทั้งหมดของพรรคมิได้ถูกรับเลือกแต่อย่างใด




รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ<ref>สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 38-45</ref>  
รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ<ref>สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 38-45</ref>  


<u>'''ด้านเศรษฐกิจ'''</u> 1.สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2.ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและขจัดความยากจนในประเทศให้ลดน้อยลง 3.สนับสนุนธุรกิจและอุตสาหกรรมส่งออก 4.ปลดหนี้ให้คนไทยทุกคนไม่เกินห้าแสนบาทต่อคน 5.มีนโยบายเก็บภาษีก้าวหน้าสำหรับผู้ที่ถือครองที่ดินเกิน 2 ไร่
<u>'''ด้านเศรษฐกิจ'''</u> 1.สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2.ลด[[ช่องว่างทางเศรษฐกิจ]]และขจัด[[ความยากจน]]ในประเทศให้ลดน้อยลง 3.สนับสนุนธุรกิจและอุตสาหกรรมส่งออก 4.ปลดหนี้ให้คนไทยทุกคนไม่เกินห้าแสนบาทต่อคน 5.มีนโยบายเก็บ[[ภาษีก้าวหน้า]]สำหรับผู้ที่ถือครองที่ดินเกิน 2 ไร่


<u>'''ด้านการเมือง'''</u> 1.ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในรัฐธรรมนูญ 2.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 3.สนับสนุนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
<u>'''ด้านการเมือง'''</u> 1.ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจใน[[รัฐธรรมนูญ]]  2.ส่งเสริม[[การมีส่วนร่วมทางการเมือง]]ของประชาชน 3.สนับสนุนการ[[ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ]]


<u>'''ด้านสังคม'''</u> 1.พัฒนาคนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม  2.สนับสนุนการสืบทอดเอกลักษณ์ความเป็นไทย 3.ส่งเสริมสื่อให้มีคุณภาพเพื่อปลูกฝังค่านิยมที่ดีงาม    3.จัดทำโครงการสร้างจริยธรรม คุณธรรมและวินัยของคนในชาติ 4.ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด 5.สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเด็กจรจัด แรงงานเด็ก และโสเภณี        6.ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดทางเพศต่อเด็กและสตรี
<u>'''ด้านสังคม'''</u> 1.พัฒนาคนให้เป็นคนดี มี[[คุณธรรม]] มีระเบียบวินัย รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม  2.สนับสนุนการสืบทอดเอกลักษณ์ความเป็นไทย 3.ส่งเสริมสื่อให้มีคุณภาพเพื่อปลูกฝังค่านิยมที่ดีงาม    3.จัดทำโครงการสร้างจริยธรรม คุณธรรมและวินัยของคนในชาติ 4.ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด 5.สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเด็กจรจัด แรงงานเด็ก และโสเภณี        6.ปรับปรุง[[กฎหมาย]]เกี่ยวกับ[[การกระทำผิดทางเพศ]]ต่อเด็กและสตรี


<u>'''ด้านการต่างประเทศ'''</u> 1.ส่งเสริมมิตรภาพและความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน 2.เพิ่มบทบาทของประเทศไทยในองค์การระหว่างประเทศ 3.ร่วมมือกับประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4.ส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคงในเอเชีย          5.สนับสนุนการสร้างสันติภาพโลก
<u>'''ด้านการต่างประเทศ'''</u> 1.ส่งเสริมมิตรภาพและความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน 2.เพิ่มบทบาทของประเทศไทยในองค์การระหว่างประเทศ 3.ร่วมมือกับประเทศสมาชิกในกลุ่ม[[อาเซียน]]ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4.ส่งเสริม[[สันติภาพ]] เสถียรภาพและความมั่นคงในเอเชีย          5.สนับสนุนการสร้างสันติภาพโลก


<u>'''ด้านการเกษตร '''</u> 1.ปฏิรูปที่ดินให้แก่เกษตรกร ผู้ยากจนและไม่มีที่ทำกิน 2.ส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป 3.พัฒนาความรู้ทางการเกษตรที่สำคัญให้แก่เกษตรกร 4.สนับสนุนการวิจัยด้านการเกษตร  
<u>'''ด้านการเกษตร '''</u> 1.[[ปฏิรูปที่ดิน]]ให้แก่เกษตรกร ผู้ยากจนและไม่มีที่ทำกิน 2.ส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป 3.พัฒนาความรู้ทางการเกษตรที่สำคัญให้แก่เกษตรกร 4.สนับสนุนการวิจัยด้านการเกษตร  


<u>'''ด้านการศึกษา'''</u> 1.ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงคนทุกกลุ่ม 2.สนับสนุนการจัดการศึกษาชั้นอนุบาลหรือก่อนประถมศึกษา 3.ให้ความรู้แก่พ่อแม่ในการดูแลลูก 4.จัดการศึกษาโดยเน้นในเรื่องความรู้คู่คุณธรรม 5.เน้นการผลิตครูในสาขาที่ขาดแคลน 6.เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี
<u>'''ด้านการศึกษา'''</u> 1.[[ขยายโอกาสทางการศึกษา]]ให้ทั่วถึงคนทุกกลุ่ม 2.สนับสนุนการจัดการศึกษาชั้นอนุบาลหรือก่อนประถมศึกษา 3.ให้ความรู้แก่พ่อแม่ในการดูแลลูก 4.จัดการศึกษาโดยเน้นในเรื่องความรู้คู่คุณธรรม 5.เน้นการผลิตครูในสาขาที่ขาดแคลน 6.เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี


<u>'''ด้านการสาธารณสุข'''</u> 1.พัฒนาบุคลากรในด้านการรักษาพยาบาล 2.สนับสนุนให้สถาบันครอบครัว อาสาสมัครสาธารณสุขเข้ามามีบทบาทในด้านการดูแลสุขภาพ 3.เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์          4.สนับสนุนมาตรการคุ้มครองผู้บริโภค 5.รักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้มีรายได้น้อยและผู้ใช้แรงงาน 6.จัดให้มีสถานนี้อนามัยครบทุกตำบลและเปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง
<u>'''ด้านการสาธารณสุข'''</u> 1.พัฒนาบุคลากรในด้านการรักษาพยาบาล 2.สนับสนุนให้สถาบันครอบครัว อาสาสมัครสาธารณสุขเข้ามามีบทบาทในด้านการดูแลสุขภาพ 3.เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์          4.สนับสนุนมาตรการคุ้มครองผู้บริโภค 5.รักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้มีรายได้น้อยและผู้ใช้แรงงาน 6.จัดให้มีสถานนี้อนามัยครบทุกตำบลและเปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:33, 11 กรกฎาคม 2553

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พรรคราษฎรรักไทย

พรรคราษฎรรักไทยจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองเมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2549[1] โดยมีนายโภมาต เจริญภูวดล ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคและนายภาคิน เหลื่อมรัมย์ ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค [2]

ในส่วนของการร่วมกิจกรรมทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคนั้น ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 พรรคได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งในนามของพรรคจำนวน 10 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นการเลือกตั้งในแบบสัดส่วน ผลของการเลือกตั้งครั้งดังกล่าวนั้นผู้สมัครทั้งหมดของพรรคมิได้ถูกรับเลือกแต่อย่างใด


รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ[3]

ด้านเศรษฐกิจ 1.สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2.ลดช่องว่างทางเศรษฐกิจและขจัดความยากจนในประเทศให้ลดน้อยลง 3.สนับสนุนธุรกิจและอุตสาหกรรมส่งออก 4.ปลดหนี้ให้คนไทยทุกคนไม่เกินห้าแสนบาทต่อคน 5.มีนโยบายเก็บภาษีก้าวหน้าสำหรับผู้ที่ถือครองที่ดินเกิน 2 ไร่

ด้านการเมือง 1.ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในรัฐธรรมนูญ 2.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน 3.สนับสนุนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ

ด้านสังคม 1.พัฒนาคนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม มีระเบียบวินัย รับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 2.สนับสนุนการสืบทอดเอกลักษณ์ความเป็นไทย 3.ส่งเสริมสื่อให้มีคุณภาพเพื่อปลูกฝังค่านิยมที่ดีงาม 3.จัดทำโครงการสร้างจริยธรรม คุณธรรมและวินัยของคนในชาติ 4.ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและสารเสพติด 5.สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาเด็กจรจัด แรงงานเด็ก และโสเภณี 6.ปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับการกระทำผิดทางเพศต่อเด็กและสตรี

ด้านการต่างประเทศ 1.ส่งเสริมมิตรภาพและความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน 2.เพิ่มบทบาทของประเทศไทยในองค์การระหว่างประเทศ 3.ร่วมมือกับประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 4.ส่งเสริมสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคงในเอเชีย 5.สนับสนุนการสร้างสันติภาพโลก

ด้านการเกษตร 1.ปฏิรูปที่ดินให้แก่เกษตรกร ผู้ยากจนและไม่มีที่ทำกิน 2.ส่งเสริมให้เกิดอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป 3.พัฒนาความรู้ทางการเกษตรที่สำคัญให้แก่เกษตรกร 4.สนับสนุนการวิจัยด้านการเกษตร

ด้านการศึกษา 1.ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงคนทุกกลุ่ม 2.สนับสนุนการจัดการศึกษาชั้นอนุบาลหรือก่อนประถมศึกษา 3.ให้ความรู้แก่พ่อแม่ในการดูแลลูก 4.จัดการศึกษาโดยเน้นในเรื่องความรู้คู่คุณธรรม 5.เน้นการผลิตครูในสาขาที่ขาดแคลน 6.เรียนฟรีจนถึงปริญญาตรี

ด้านการสาธารณสุข 1.พัฒนาบุคลากรในด้านการรักษาพยาบาล 2.สนับสนุนให้สถาบันครอบครัว อาสาสมัครสาธารณสุขเข้ามามีบทบาทในด้านการดูแลสุขภาพ 3.เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ 4.สนับสนุนมาตรการคุ้มครองผู้บริโภค 5.รักษาพยาบาลฟรีแก่ผู้มีรายได้น้อยและผู้ใช้แรงงาน 6.จัดให้มีสถานนี้อนามัยครบทุกตำบลและเปิดบริการตลอด 24 ชั่วโมง

ด้านแรงงานและสวัสดิการสังคม 1.ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวกับแรงงาน 2.ฝึกอบรมและพัฒนาฝีมือแรงงาน 3.สนับสนุนและส่งเสริมให้มีแรงงานสัมพันธ์

ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1.ผลิตและพัฒนากำลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.ร่วมกันพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับต่างประเทศ 3.สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ด้านการอุตสาหกรรม 1.จัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมและเขตอุตสาหกรรมส่งออกในชนบท 2.สนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมส่งออกหลักของประเทศและอุตสาหกรรมในครัวเรือน

ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1.อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ 2.อนุรักษ์ ควบคุมดูแลแหล่งน้ำ 3.ปลูกฝังเด็กและเยาวชนให้อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม


อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 38
  2. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 70
  3. สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 123 ตอนที่ 90ง หน้า 38-45