ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลงพระปรมาภิไธย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาส...
 
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจเด็ดขาดเพียงพระองค์เดียว จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๕ ระบอบการปกครองเช่นนี้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติ
'''ผู้เรียบเรียง''' อรพรรณ สินธ์ศิริมานะ
บริหาร ตุลาการ ผ่านองค์กรหรือหน่วยงานรับผิดชอบโดยเฉพาะ มิได้ทรงใช้
พระราชอำนาจเหล่านั้นด้วยพระองค์เองโดยตรง
การลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์เป็นสิ่งสำคัญเพราะบทกฎหมายและ พระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินจะมีผลบังคับใช้ได้ต่อเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลง
พระปรมาภิไธยหรือเสมือนว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว โดยมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ การลงพระปรมาภิไธยเป็นการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ


ความหมาย
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้ความหมายของ ปรมาภิไธย ว่า “ปรมาภิไธย  น. ชื่อ (ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลงพระปรมาภิไธย” (๑)
คำว่า พระปรมาภิไธย ประกอบด้วยคำว่า พระ+ปรม+อภิไธย มีความหมายว่า ชื่ออันประเสริฐยิ่ง (อภิไธย แปลว่า ชื่อ) (๒)
ลงพระปรมาภิไธย หมายถึง การลงพระนามของพระมหากษัตริย์ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของประเทศ เพื่อให้บรรดาบทกฎหมายต่างๆ มีผลบังคับใช้ ขั้นตอนหลังจากที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ต้องนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา (๓)


ความเป็นมาของการลงพระปรมาภิไธย
----
ตามประเพณีตั้งแต่อดีตของไทยเกี่ยวกับหนังสือราชการประเภทต่างๆ เช่น ศุภอักษร สารตรา ท้องตรา ใบบอก จะใช้การประทับตราประจำตัวหรือประจำตำแหน่งของ
ผู้ที่ออกหนังสือนั้นๆ แทนการลงลายมือชื่อหรือลายเซ็น ส่วนพระมหากษัตริย์จะทรงประทับตราพระราชลัญจกรแทนการลงพระปรมาภิไธยในหนังสือสำคัญต่างๆ เช่น พระราชสาส์น พระบรมราชโองการ ประกาศต่างๆ เป็นต้น (๔)
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงอธิบายว่า การลงนามบนเอกสารโดยใช้ลายเซ็นแทนนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ก่อนผู้อื่น เพราะขณะเมื่อทรงผนวชได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษและต้องมีลายพระหัตถ์ตอบชาวต่างประเทศในประเทศอเมริกาและที่เมืองปีนังบ่อยๆ ซึ่งจดหมายฝรั่งใช้เซ็นชื่อเป็นสำคัญ ทรงเซ็นพระนามเป็นอักษรฝรั่งเช่นกัน ทรงเซ็นพระนามว่า Fa Yai (ฟ้าใหญ่) แต่เมื่อเสวยราชย์แล้วทรงเซ็นพระปรมาภิไธยว่า S.P.P.M. Mongkut (สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ) การเซ็นชื่อก็มีผู้อื่นกระทำตามแม้ตัวจดหมายเป็นภาษาไทยก็เซ็นเป็นอักษรฝรั่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ก็ทรงเซ็นว่า Chulalongkorn กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงเซ็นย่อว่า K.P.R.W.B.S. Mongkol สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ ทรงเซ็นพระนามว่า Mahamala (มหามาลา) ส่วนการเซ็นเป็นอักษรไทยก็ทรงใช้ก่อน เริ่มมีในสัญญาบัตรตั้งขุนนาง ข้างท้ายทรงเซ็นว่า “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ” ยาวตลอดหน้าสัญญาบัตร การเซ็นชื่อเป็นอักษรไทยแพร่หลายต่อมาในรัชกาลที่ ๕ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยที่ท้ายพระราชหัตถเลขาว่าChulalongkorn R.S. จุฬาลงกรณ์ ปร. และ สยามินทร์  (๕)
ทั้งนี้ พระราชหัตถเลขาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลง
พระปรมาภิไธยนั้นเป็นพระราชหัตถเลขาที่ทรงสั่งราชการแผ่นดินกับเสนาบดี แต่ไม่พบว่าทรงลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายหรือพระบรมราชโองการ มีเพียงการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เช่น เมื่อปีพ.ศ. ๒๔๒๗ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระบรมราชโองการเรื่อง “ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” มีการขึ้นต้นข้อความว่า “มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศแก่ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ....”  (๖)
การลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายหรือการอื่นที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินปรากฏในยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองพบว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยที่ท้าย “พระราชกำหนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พ.ศ.๒๔๗๕” ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙ วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๔๗๕ และ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ.๒๔๗๕” ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙ วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๔๗๕ นับแต่นั้นการลงพระปรมาภิไธยก็ปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน (๗)


หลักประมุขของประเทศไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง
ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจเด็ดขาดเพียงพระองค์เดียว จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อ พ.ศ. 2475 ระบอบการปกครองเช่นนี้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ผ่านองค์กรหรือหน่วยงานรับผิดชอบโดยเฉพาะ มิได้ทรงใช้พระราชอำนาจเหล่านั้นด้วยพระองค์เองโดยตรง
พัฒนาการทางการเมืองของอังกฤษเป็นผลให้พระมหากษัตริย์ถูกจำกัดพระราชอำนาจทั้งในการตรากฎหมายและการบริหารราชการแผ่นดิน จนในที่สุดได้พัฒนาไปสู่การ “ทรงอยู่ เหนือการเมือง” และ “ไม่ทรงรับผิดชอบทางการเมือง” ทรงทำหน้าที่เป็นประมุขอย่างเดียว โดยกิจกรรมทางการเมืองจะทรงทำตามบทบัญญัติ กฎหมาย และจารีตประเพณี โดยมีผู้รับสนอง
 
พระบรมราชโองการ อันเป็นผลให้องค์พระประมุขทรงพ้นจากความรับผิดเพราะผู้รับสนอง
การลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์เป็นสิ่งสำคัญเพราะบทกฎหมายและ พระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินจะมีผลบังคับใช้ได้ต่อเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยหรือเสมือนว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว โดยมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ การลงพระปรมาภิไธยเป็นการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ
พระบรมราชโองการต้องเป็นผู้รับผิดชอบแทน พระมหากษัตริย์จึงกลายเป็นสถาบันที่ผู้ใดจะละเมิดหรือว่ากล่าวฟ้องร้องไม่ได้ (the King can do no wrong)
 
ประเทศไทยได้นำระบบรัฐสภาแบบอังกฤษมาปรับใช้ จึงนำหลักการดังกล่าวมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๘ ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” โดยสิ่งใดที่พระมหากษัตริย์ทรงกระทำจะต้องมีผู้รับผิดชอบ ซึ่งมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๑๙๕ ว่า “บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วหรือถือเสมือนหนึ่งได้ทรงลง
==ความหมาย==
พระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน”
 
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของ ปรมาภิไธย ว่า “ปรมาภิไธย  น. ชื่อ (ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลงพระปรมาภิไธย” <ref>ราชบัณฑิตยสถาน. '''พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542.''' กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, 2542. หน้า 651.</ref>
 
คำว่า พระปรมาภิไธย ประกอบด้วยคำว่า พระ+ปรม+อภิไธย มีความหมายว่า ชื่ออันประเสริฐยิ่ง (อภิไธย แปลว่า ชื่อ) <ref>กาญจนา นาคสกุล. “พระบรมนามาภิไธย-พระปรมาภิไธย” '''คลังความรู้.''' [on line] Accessed 3 July 2009. Available from http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID183 </ref>
 
ลงพระปรมาภิไธย หมายถึง การลงพระนามของพระมหากษัตริย์ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของประเทศ เพื่อให้บรรดาบทกฎหมายต่างๆ มีผลบังคับใช้ ขั้นตอนหลังจากที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ต้องนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา <ref>คณิน บุญสุวรรณ. '''ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย  ฉบับสมบูรณ์.''' กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548. หน้า 818.</ref>
 
==ความเป็นมาของการลงพระปรมาภิไธย==
 
ตามประเพณีตั้งแต่อดีตของไทยเกี่ยวกับหนังสือราชการประเภทต่างๆ เช่น ศุภอักษร สารตรา ท้องตรา ใบบอก จะใช้การประทับตราประจำตัวหรือประจำตำแหน่งของ
ผู้ที่ออกหนังสือนั้นๆ แทนการลงลายมือชื่อหรือลายเซ็น ส่วนพระมหากษัตริย์จะทรงประทับตราพระราชลัญจกรแทนการลงพระปรมาภิไธยในหนังสือสำคัญต่างๆ เช่น พระราชสาส์น พระบรมราชโองการ ประกาศต่างๆ เป็นต้น <ref>พระยาอนุมานราชธน. '''พระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง.''' พระนคร : กรมศิลปากร, 2493. หน้า 1.</ref>
 
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงอธิบายว่า การลงนามบนเอกสารโดยใช้ลายเซ็นแทนนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ก่อนผู้อื่น เพราะขณะเมื่อทรงผนวชได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษและต้องมีลายพระหัตถ์ตอบชาวต่างประเทศในประเทศอเมริกาและที่เมืองปีนังบ่อยๆ ซึ่งจดหมายฝรั่งใช้เซ็นชื่อเป็นสำคัญ ทรงเซ็นพระนามเป็นอักษรฝรั่งเช่นกัน ทรงเซ็นพระนามว่า Fa Yai (ฟ้าใหญ่) แต่เมื่อเสวยราชย์แล้วทรงเซ็นพระปรมาภิไธยว่า S.P.P.M. Mongkut (สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ) การเซ็นชื่อก็มีผู้อื่นกระทำตามแม้ตัวจดหมายเป็นภาษาไทยก็เซ็นเป็นอักษรฝรั่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรงเซ็นว่า Chulalongkorn กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงเซ็นย่อว่า K.P.R.W.B.S. Mongkol สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ ทรงเซ็นพระนามว่า Mahamala (มหามาลา) ส่วนการเซ็นเป็นอักษรไทยก็ทรงใช้ก่อน เริ่มมีในสัญญาบัตรตั้งขุนนาง ข้างท้ายทรงเซ็นว่า “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ” ยาวตลอดหน้าสัญญาบัตร การเซ็นชื่อเป็นอักษรไทยแพร่หลายต่อมาในรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยที่ท้ายพระราชหัตถเลขาว่าChulalongkorn R.S. จุฬาลงกรณ์ ปร. และ สยามินทร์  <ref>สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาส์นสมเด็จ เล่ม 15. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, 2505. หน้า 270-271.</ref>
 
ทั้งนี้ พระราชหัตถเลขาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยนั้นเป็นพระราชหัตถเลขาที่ทรงสั่งราชการแผ่นดินกับเสนาบดี แต่ไม่พบว่าทรงลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายหรือพระบรมราชโองการ มีเพียงการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เช่น เมื่อปีพ.ศ. 2427 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระบรมราชโองการเรื่อง “ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” มีการขึ้นต้นข้อความว่า “มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศแก่ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ....”  <ref>“ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” '''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่ม 1 วันอังคาร เดือนยี่ แรมหกค่ำ ปีวอก ฉศก ศักราช 1246. หน้า 21.</ref>


การลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายหรือการอื่นที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินปรากฏในยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองพบว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยที่ท้าย “พระราชกำหนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2475” ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 49 วันที่ 26 มิถุนายน 2475 และ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 49 วันที่ 27 มิถุนายน 2475 นับแต่นั้นการลงพระปรมาภิไธยก็ปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน <ref>บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก. [on line] Accessed 4 July 2009. Available from http://guru.sanook.com/encyclopedia</ref>


==หลักประมุขของประเทศไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง ==


พัฒนาการทางการเมืองของอังกฤษเป็นผลให้พระมหากษัตริย์ถูกจำกัดพระราชอำนาจทั้งในการตรากฎหมายและการบริหารราชการแผ่นดิน จนในที่สุดได้พัฒนาไปสู่การ “ทรงอยู่ เหนือการเมือง” และ “ไม่ทรงรับผิดชอบทางการเมือง” ทรงทำหน้าที่เป็นประมุขอย่างเดียว โดยกิจกรรมทางการเมืองจะทรงทำตามบทบัญญัติ กฎหมาย และจารีตประเพณี โดยมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อันเป็นผลให้องค์พระประมุขทรงพ้นจากความรับผิดเพราะผู้รับสนองพระบรมราชโองการต้องเป็นผู้รับผิดชอบแทน พระมหากษัตริย์จึงกลายเป็นสถาบันที่ผู้ใดจะละเมิดหรือว่ากล่าวฟ้องร้องไม่ได้ (the King can do no wrong)


ประเทศไทยได้นำระบบรัฐสภาแบบอังกฤษมาปรับใช้ จึงนำหลักการดังกล่าวมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 8 ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” โดยสิ่งใดที่พระมหากษัตริย์ทรงกระทำจะต้องมีผู้รับผิดชอบ ซึ่งมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 195 ว่า “บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วหรือถือเสมือนหนึ่งได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน”
==ความสำคัญของการลงพระปรมาภิไธย==


ความสำคัญของการลงพระปรมาภิไธย
การลงพระปรมาภิไธย เป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่จะทำให้การบริหารประเทศดำเนินการได้อย่างเรียบร้อยเพราะบทกฎหมายหรือพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินล้วนต้องได้รับการลงพระปรมาภิไธยจากพระมหากษัตริย์เสียก่อนจึงจะมีผลใช้บังคับได้ อย่างเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยก็ต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย แล้วจึงนำมาประกาศเพื่อใช้บังคับ
การลงพระปรมาภิไธย เป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่จะทำให้การบริหารประเทศดำเนินการได้อย่างเรียบร้อยเพราะบทกฎหมายหรือพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินล้วนต้องได้รับการลงพระปรมาภิไธยจากพระมหากษัตริย์เสียก่อนจึงจะมีผลใช้บังคับได้ อย่างเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยก็ต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย แล้วจึงนำมาประกาศเพื่อใช้บังคับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๙๐ บัญญัติไว้ว่า “ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยหรือถือเสมือนว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยตามรัฐธรรมนูญนี้แล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป” (๘) และในมาตรา ๑๙๕ วรรคสอง กำหนดว่า “บทกฎหมายที่ทรงลง
 
พระปรมาภิไธยแล้วหรือถือเสมือนหนึ่งว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน” (๙)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 90 บัญญัติไว้ว่า “ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยหรือถือเสมือนว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยตามรัฐธรรมนูญนี้แล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป” <ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. '''รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550.''' กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551. หน้า 65.</ref> และในมาตรา 195 วรรคสอง กำหนดว่า “บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วหรือถือเสมือนหนึ่งว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 159.</ref>
 
อนึ่ง พระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน เช่น พระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร พระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ก็ต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยเช่นกัน
อนึ่ง พระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน เช่น พระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร พระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ก็ต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยเช่นกัน


การลงพระปรมาภิไธยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
==การลงพระปรมาภิไธยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ==
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ได้บัญญัติเกี่ยวกับการลง
 
พระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้อำนาจอธิปไตย ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้บัญญัติเกี่ยวกับการลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้อำนาจอธิปไตย ดังนี้
. ด้านนิติบัญญัติ
 
.ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร  
'''1. ด้านนิติบัญญัติ'''
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา ตามมาตรา ๑๒๔ วรรคหนึ่ง “สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแต่ละสภา มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้นๆ ตามมติของสภา” (๑๐)
 
.๒ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านใน
1.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา ตามมาตรา 124 วรรคหนึ่ง “สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแต่ละสภา มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้นๆ ตามมติของสภา” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 96.</ref>
สภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา ๑๑๐ วรรคหนึ่ง “ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษํตริย์จะทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองใน
 
สภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดพรรคของตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านใน
1.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา 110 วรรคหนึ่ง “ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษํตริย์จะทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดพรรคของตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 85.</ref>
สภาผู้แทนราษฎร” (๑๑)
 
.ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา ขยายเวลาประชุม เปิดและปิดประชุม ตามมาตรา ๑๒๘ วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม” วรรคสาม “เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ พระมหากษัตริย์จะทรงเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญก็ได้” และวรรคสี่ “ภายใต้บังคับมาตรา ๑๒๙ การเรียกประชุม การขยายเวลาประชุม และการปิดประชุมรัฐสภา ให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา” (๑๒) 
1.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา ขยายเวลาประชุม เปิดและปิดประชุม ตามมาตรา 128 วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม” วรรคสาม “เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ พระมหากษัตริย์จะทรงเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญก็ได้” และวรรคสี่ “ภายใต้บังคับมาตรา 129 การเรียกประชุม การขยายเวลาประชุม และการปิดประชุมรัฐสภา ให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 100-101.</ref>
.ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ ตามมาตรา ๑๒๙ วรรคหนึ่ง “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภารวมกัน หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจำนวนไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้นำความกราบบังคมทูลเพื่อมี
 
พระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญได้” (๑๓)
1.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ ตามมาตรา 129 วรรคหนึ่ง “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภารวมกัน หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้นำความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญได้” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 101.</ref>
.ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ตามมาตรา ๑๐๗ “เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป...” (๑๔)
 
.ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา ๑๐๘ วรรคสอง “การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา” (๑๕)
1.5 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ตามมาตรา 107 “เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป...” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 83.</ref>
.ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติ ตามมาตรา ๑๕๐ “ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน ๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลง
 
พระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้” (๑๖)
1.6 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา 108 วรรคสอง “การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา”<ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 83.</ref>
ส่วนในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยในร่างพระราชบัญญัตินั้น ตามมาตรา ๑๕๑ กำหนดว่า “ร่างพระราชบัญญัติใด พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื่อพ้น ๙๐ วัน แล้วมิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัตินั้นใหม่ ถ้ารัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า ใน ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทาน
 
คืนมาภายใน ๓๐ วัน ให้นายกรัฐมนตรีนำพระราชบัญญัตินั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว” (๑๗)
1.7 ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติ ตามมาตรา 150 “ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน 20 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 124.</ref>
 
ส่วนในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยในร่างพระราชบัญญัตินั้น ตามมาตรา 151 กำหนดว่า “ร่างพระราชบัญญัติใด พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื่อพ้น 90 วัน แล้วมิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัตินั้นใหม่ ถ้ารัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายใน 30 วัน ให้นายกรัฐมนตรีนำพระราชบัญญัตินั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 124-125.</ref>
 
'''2. ด้านบริหาร'''


2.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 171 วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 35 คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 144.</ref>


2.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนด ตามมาตรา 184 วรรคหนึ่ง “ในกรณีเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 152.</ref> รวมทั้งมาตรา 186 วรรคหนึ่ง “ในระหว่างสมัยประชุม ถ้ามีความจำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้”  <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 155.</ref>


2.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกา ตามมาตรา 187  “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย”  <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 155.</ref>


๒. ด้านบริหาร
2.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งข้าราชการ ตามมาตรา 193 “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตำแหน่งปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเท่า และทรงให้พ้นจากตำแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 158-159.</ref>
๒.๑ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา ๑๗๑ วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๓๕ คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน” (๑๘)
.๒ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนด ตามมาตรา ๑๘๔ วรรคหนึ่ง “ในกรณีเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้”  (๑๙)  รวมทั้งมาตรา ๑๘๖ วรรคหนึ่ง “ในระหว่างสมัยประชุม ถ้ามีความจำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้”  (๒๐)
๒.๓ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกา ตามมาตรา ๑๘๗  “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย”  (๒๑)
๒.๔ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งข้าราชการ ตามมาตรา ๑๙๓ “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตำแหน่งปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเท่า และทรงให้พ้นจากตำแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย” (๒๒)
. ด้านตุลาการ
๓.๑ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ ตามมาตรา ๒๐๐ วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ และทรงให้พ้นจากตำแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย” (๒๓)
๓.๒ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา ๒๐๔ วรรคหนึ่ง “ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประธานศาลรัฐธรรมนูญคนหนึ่งและ
ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีก ๘ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” (๒๔)
๓.๓ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมและ
การให้พ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา ๒๒๐ วรรคหนึ่ง “การแต่งตั้งและการให้ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมพ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมก่อน แล้วจึงนำความ
กราบบังคมทูล” (๒๕)
๓.๔ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองและการให้พ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา  ๒๒๔ วรรคหนึ่ง “การแต่งตั้งและการให้ตุลาการใน
ศาลปกครองพ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองก่อนตามที่กฎหมายบัญญัติก่อน แล้วจึงนำความกราบบังคมทูล” (๒๖)
๓.๕ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานศาลปกครองสูงสุด ตามมาตรา ๒๒๕ “การแต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองให้ดำรงตำแหน่งประธาน
ศาลปกครองสูงสุดนั้น เมื่อได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและวุฒิสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งต่อไป” (๒๗)
นอกจากนี้ พระมหากษัตริย์ยังทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งต่างๆ ดังนี้


. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
'''3. ด้านตุลาการ'''
๑.๑ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามมาตรา ๒๒๙ วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการการเลือกตั้งประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก ๔ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความเป็นกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตย์สุจริต” (๒๘)
๑.๒ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน ตามมาตรา ๒๔๒ วรรคหนึ่ง “ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจำนวน ๓ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” ส่วนการแต่งตั้งประธานผู้ตรวจการแผ่นดินนั้น ตามมาตรา ๒๔๒ วรรคสอง “ให้ผู้ได้รับเลือกเป็นผู้ตรวจการแผ่นดินประชุมและเลือกกันเองให้คนหนึ่งเป็นประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน แล้วแจ้งให้ประธานวุฒิสภาทราบ” (๒๙) จากนั้นจึงนำความขึ้น
กราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งต่อไป
๑.๓ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามมาตรา ๒๔๖ วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก
๘ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” (๓๐)
๑.๔ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการ
และคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตามมาตรา ๒๕๒ วรรคสอง “คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก ๖ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีความชำนาญและประสบการณ์ด้านการตรวจเงินแผ่นดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และด้านอื่น”  (๓๑)


. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ
3.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ ตามมาตรา 200 วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ และทรงให้พ้นจากตำแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 162.</ref>
๒.๑ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งอัยการสูงสุด ตามมาตรา ๒๕๕ วรรคสาม “การแต่งตั้งและการให้อัยการสูงสุดพ้นจากตำแหน่งต้องเป็นไปตามมติของคณะกรรมการอัยการ และได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา” และวรรคสี่ “ให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งอัยการสูงสุด” (๓๒)
.๒ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามมาตรา ๒๕๖ วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก ๖ คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย” (๓๓)


สรุป
3.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 204 วรรคหนึ่ง “ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประธานศาลรัฐธรรมนูญคนหนึ่งและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 164.</ref>
บทกฎหมายต่างๆ ทั้งรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และพระบรมราชโองการ จะมีผลใช้บังคับได้นั้นต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยก่อน และเมื่อประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้วจึงจะบังคับใช้เป็นกฎหมายได้ ทั้งนี้ การลงพระปรมาภิไธย เป็นการใช้พระราชอำนาจอธิปไตยของพระมหากษัตริย์ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของประเทศ เช่น ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี เป็นต้น


3.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมและการให้พ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา 220 วรรคหนึ่ง “การแต่งตั้งและการให้ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมพ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมก่อน แล้วจึงนำความกราบบังคมทูล” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 179.</ref>


3.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองและการให้พ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา  224 วรรคหนึ่ง “การแต่งตั้งและการให้ตุลาการในศาลปกครองพ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองก่อนตามที่กฎหมายบัญญัติก่อน แล้วจึงนำความกราบบังคมทูล” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 182.</ref>


3.5 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานศาลปกครองสูงสุด ตามมาตรา 225 “การแต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองให้ดำรงตำแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดนั้น เมื่อได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและวุฒิสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งต่อไป” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 183.</ref>


นอกจากนี้ พระมหากษัตริย์ยังทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งต่างๆ ดังนี้


'''1. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ'''


1.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามมาตรา 229 วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการการเลือกตั้งประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 4 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความเป็นกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตย์สุจริต” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 186.</ref>


1.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน ตามมาตรา 242 วรรคหนึ่ง “ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจำนวน 3 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” ส่วนการแต่งตั้งประธานผู้ตรวจการแผ่นดินนั้น ตามมาตรา 242 วรรคสอง “ให้ผู้ได้รับเลือกเป็นผู้ตรวจการแผ่นดินประชุมและเลือกกันเองให้คนหนึ่งเป็นประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน แล้วแจ้งให้ประธานวุฒิสภาทราบ” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 201.</ref> จากนั้นจึงนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งต่อไป


1.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามมาตรา 246 วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 205.</ref>


1.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตามมาตรา 252 วรรคสอง “คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีความชำนาญและประสบการณ์ด้านการตรวจเงินแผ่นดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และด้านอื่น”  <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 213.</ref>


'''2. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ'''


2.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งอัยการสูงสุด ตามมาตรา 255 วรรคสาม “การแต่งตั้งและการให้อัยการสูงสุดพ้นจากตำแหน่งต้องเป็นไปตามมติของคณะกรรมการอัยการ และได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา” และวรรคสี่ “ให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งอัยการสูงสุด” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 216.</ref>


2.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามมาตรา 256 วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย” <ref>เรื่องเดียวกัน, หน้า 217.</ref>


==สรุป==


บทกฎหมายต่างๆ ทั้งรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และพระบรมราชโองการ จะมีผลใช้บังคับได้นั้นต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยก่อน และเมื่อประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้วจึงจะบังคับใช้เป็นกฎหมายได้ ทั้งนี้ การลงพระปรมาภิไธย เป็นการใช้พระราชอำนาจอธิปไตยของพระมหากษัตริย์ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของประเทศ เช่น ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี เป็นต้น


==อ้างอิง==


<references/>
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย  ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.


สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิล์มโปรเซส, 2539.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ  สภาผู้แทนราษฎร, 2550.


อ้างอิง
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.
(๑) ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพฯ :
นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๒. หน้า ๖๕๑.
(๒) กาญจนา นาคสกุล. “พระบรมนามาภิไธย-พระปรมาภิไธย” คลังความรู้. [on line] Accessed 3 July 2009. Available from http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID183
(๓) คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย  ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘. หน้า ๘๑๘.
(๔) พระยาอนุมานราชธน. เรื่องพระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง.
พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๓. หน้า ๑.
(๕) สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๑๕. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๐๕. หน้า ๒๗๐ – ๒๗๑.
(๖) “ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑ วันอังคาร เดือนยี่ แรมหกค่ำ
ปีวอก ฉศก ศักราช ๑๒๔๖. หน้า ๒๑.
(๗) บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก. [on line] Accessed 4 July 2009. Available from http://guru.sanook.com/encyclopedia
(๘) สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑. หน้า ๖๕.
(๙) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๕๙.
(๑๐) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๙๖.
(๑๑) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๘๕.
(๑๒) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๐๐ – ๑๐๑.
(๑๓) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๐๑.
(๑๔) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๘๓.
(๑๕) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๘๓.
(๑๖) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๒๔.
(๑๗) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๒๔ – ๑๒๕.
(๑๘) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๔๔.
(๑๙) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๕๒.
(๒๐) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๕๕.
(๒๑) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๕๕.
(๒๒) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๕๘ – ๑๕๙.
(๒๓) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๖๒.
(๒๔) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๖๔.
(๒๕) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๗๙.
(๒๖) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๘๒.
(๒๗) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๘๓.
(๒๘) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๑๘๖.
(๒๙) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๐๑.
(๓๐) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๐๕.
(๓๑) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๑๓.
(๓๒) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๑๖.
(๓๓) เรื่องเดียวกัน, หน้า ๒๑๗.


หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ
==บรรณานุกรม==
คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย  ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิล์มโปรเซส, ๒๕๓๙.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ  สภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.


บรรณานุกรม
กาญจนา นาคสกุล. “พระบรมนามาภิไธย-พระปรมาภิไธย” คลังความรู้. [on line] Accessed 3 July 2009. Available from http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID183
กาญจนา นาคสกุล. “พระบรมนามาภิไธย-พระปรมาภิไธย” คลังความรู้. [on line] Accessed 3 July 2009. Available from http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID183
คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย  ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, ๒๕๔๘.
 
จเร พันธุ์เปรื่อง. “พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐” รัฐสภาสาร. ปีที่ ๔๗ ฉบับที่ , มิ.ย. ๒๕๔๒. หน้า ๖๓ – ๙๓.
คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย  ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.
ธงทอง จันทรางศุ. “ฐานะของพระมหากษัตริย์ตามระบอบรัฐธรรมนูญ” รัฐสภาสาร. ปีที่ ๓๑
 
ฉบับที่ , ก.ย. ๒๕๒๖. หน้า ๗ – ๑๕.
จเร พันธุ์เปรื่อง. “พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540” รัฐสภาสาร. ปีที่ 47 ฉบับที่ 6, มิ.ย. 2542. หน้า 63-93.
 
ธงทอง จันทรางศุ. “ฐานะของพระมหากษัตริย์ตามระบอบรัฐธรรมนูญ” รัฐสภาสาร. ปีที่ 31 ฉบับที่ 9, ก.ย. 2526. หน้า 7-15.
 
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก. [on line] Accessed 4 July 2009. Available from http://guru.sanook.com/encyclopedia
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก. [on line] Accessed 4 July 2009. Available from http://guru.sanook.com/encyclopedia
“ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑ วันอังคาร เดือนยี่ แรมหกค่ำ ปีวอก ฉศก ศักราช ๑๒๔๖. หน้า ๒๑.
พระยาอนุมานราชธน. เรื่องพระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง. พระนคร :
กรมศิลปากร, ๒๔๙๓.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, ๒๕๔๒.
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๑๕. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๐๕.
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิล์มโปรเซส, ๒๕๓๙.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ  สภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๐.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, ๒๕๕๑.
หยุด แสงอุทัย. “พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย” รัฐสภาสาร. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑, ธ.ค. ๒๔๙๙. หน้า ๒๙ – ๓๔.


ดูเพิ่มเติม
“ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 1 วันอังคาร เดือนยี่ แรมหกค่ำ ปีวอก ฉศก ศักราช 1246. หน้า 21.
๑. พระมหากษัตริย์
 
๒. พระบรมราชโองการ
พระยาอนุมานราชธน. เรื่องพระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง. พระนคร : กรมศิลปากร, 2493.
๓. ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
 
๔. พระราชกฤษฎีกา
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, 2542.
๕. พระราชบัญญัติ
 
๖. พระราชกำหนด
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาส์นสมเด็จ เล่ม 15. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, 2505.
๗. ราชกิจจานุเบกษา
 
สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิล์มโปรเซส, 2539.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ  สภาผู้แทนราษฎร, 2550.
 
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.
 
หยุด แสงอุทัย. “พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย” รัฐสภาสาร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1, ธ.ค. 2499. หน้า 29-34.
 
==ดูเพิ่มเติม==
 
*[[พระมหากษัตริย์]]
 
*[[พระบรมราชโองการ]]
 
*[[ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ]]
 
*[[พระราชกฤษฎีกา]]
 
*[[พระราชบัญญัติ]]
 
*[[พระราชกำหนด]]
 
*[[ราชกิจจานุเบกษา]]
 
[[category:ความรู้เกี่ยวกับรัฐสภาไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:33, 6 สิงหาคม 2552

ผู้เรียบเรียง อรพรรณ สินธ์ศิริมานะ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


ในอดีตที่ผ่านมาประเทศไทยมีการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ พระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจเด็ดขาดเพียงพระองค์เดียว จนกระทั่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เมื่อ พ.ศ. 2475 ระบอบการปกครองเช่นนี้พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของประเทศ ทรงใช้พระราชอำนาจด้านนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ ผ่านองค์กรหรือหน่วยงานรับผิดชอบโดยเฉพาะ มิได้ทรงใช้พระราชอำนาจเหล่านั้นด้วยพระองค์เองโดยตรง

การลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์เป็นสิ่งสำคัญเพราะบทกฎหมายและ พระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินจะมีผลบังคับใช้ได้ต่อเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยหรือเสมือนว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว โดยมีผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการและนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ การลงพระปรมาภิไธยเป็นการใช้พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ

ความหมาย

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ให้ความหมายของ ปรมาภิไธย ว่า “ปรมาภิไธย น. ชื่อ (ใช้เฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว) เช่น ในพระปรมาภิไธย ทรงลงพระปรมาภิไธย” [1]

คำว่า พระปรมาภิไธย ประกอบด้วยคำว่า พระ+ปรม+อภิไธย มีความหมายว่า ชื่ออันประเสริฐยิ่ง (อภิไธย แปลว่า ชื่อ) [2]

ลงพระปรมาภิไธย หมายถึง การลงพระนามของพระมหากษัตริย์ ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของประเทศ เพื่อให้บรรดาบทกฎหมายต่างๆ มีผลบังคับใช้ ขั้นตอนหลังจากที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ต้องนำไปประกาศในราชกิจจานุเบกษา [3]

ความเป็นมาของการลงพระปรมาภิไธย

ตามประเพณีตั้งแต่อดีตของไทยเกี่ยวกับหนังสือราชการประเภทต่างๆ เช่น ศุภอักษร สารตรา ท้องตรา ใบบอก จะใช้การประทับตราประจำตัวหรือประจำตำแหน่งของ ผู้ที่ออกหนังสือนั้นๆ แทนการลงลายมือชื่อหรือลายเซ็น ส่วนพระมหากษัตริย์จะทรงประทับตราพระราชลัญจกรแทนการลงพระปรมาภิไธยในหนังสือสำคัญต่างๆ เช่น พระราชสาส์น พระบรมราชโองการ ประกาศต่างๆ เป็นต้น [4]

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ทรงอธิบายว่า การลงนามบนเอกสารโดยใช้ลายเซ็นแทนนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงใช้ก่อนผู้อื่น เพราะขณะเมื่อทรงผนวชได้ทรงศึกษาภาษาอังกฤษและต้องมีลายพระหัตถ์ตอบชาวต่างประเทศในประเทศอเมริกาและที่เมืองปีนังบ่อยๆ ซึ่งจดหมายฝรั่งใช้เซ็นชื่อเป็นสำคัญ ทรงเซ็นพระนามเป็นอักษรฝรั่งเช่นกัน ทรงเซ็นพระนามว่า Fa Yai (ฟ้าใหญ่) แต่เมื่อเสวยราชย์แล้วทรงเซ็นพระปรมาภิไธยว่า S.P.P.M. Mongkut (สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ) การเซ็นชื่อก็มีผู้อื่นกระทำตามแม้ตัวจดหมายเป็นภาษาไทยก็เซ็นเป็นอักษรฝรั่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็ทรงเซ็นว่า Chulalongkorn กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทรงเซ็นย่อว่า K.P.R.W.B.S. Mongkol สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์ ทรงเซ็นพระนามว่า Mahamala (มหามาลา) ส่วนการเซ็นเป็นอักษรไทยก็ทรงใช้ก่อน เริ่มมีในสัญญาบัตรตั้งขุนนาง ข้างท้ายทรงเซ็นว่า “สมเด็จพระปรเมนทรมหามงกุฎ” ยาวตลอดหน้าสัญญาบัตร การเซ็นชื่อเป็นอักษรไทยแพร่หลายต่อมาในรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยที่ท้ายพระราชหัตถเลขาว่าChulalongkorn R.S. จุฬาลงกรณ์ ปร. และ สยามินทร์ [5]

ทั้งนี้ พระราชหัตถเลขาที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยนั้นเป็นพระราชหัตถเลขาที่ทรงสั่งราชการแผ่นดินกับเสนาบดี แต่ไม่พบว่าทรงลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายหรือพระบรมราชโองการ มีเพียงการประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา เช่น เมื่อปีพ.ศ. 2427 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศพระบรมราชโองการเรื่อง “ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” มีการขึ้นต้นข้อความว่า “มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศแก่ พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชการ....” [6]

การลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายหรือการอื่นที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินปรากฏในยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองพบว่าพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยที่ท้าย “พระราชกำหนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2475” ซึ่งลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 49 วันที่ 26 มิถุนายน 2475 และ “พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ. 2475” ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 49 วันที่ 27 มิถุนายน 2475 นับแต่นั้นการลงพระปรมาภิไธยก็ปฏิบัติมาจนถึงปัจจุบัน [7]

หลักประมุขของประเทศไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง

พัฒนาการทางการเมืองของอังกฤษเป็นผลให้พระมหากษัตริย์ถูกจำกัดพระราชอำนาจทั้งในการตรากฎหมายและการบริหารราชการแผ่นดิน จนในที่สุดได้พัฒนาไปสู่การ “ทรงอยู่ เหนือการเมือง” และ “ไม่ทรงรับผิดชอบทางการเมือง” ทรงทำหน้าที่เป็นประมุขอย่างเดียว โดยกิจกรรมทางการเมืองจะทรงทำตามบทบัญญัติ กฎหมาย และจารีตประเพณี โดยมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการ อันเป็นผลให้องค์พระประมุขทรงพ้นจากความรับผิดเพราะผู้รับสนองพระบรมราชโองการต้องเป็นผู้รับผิดชอบแทน พระมหากษัตริย์จึงกลายเป็นสถาบันที่ผู้ใดจะละเมิดหรือว่ากล่าวฟ้องร้องไม่ได้ (the King can do no wrong)

ประเทศไทยได้นำระบบรัฐสภาแบบอังกฤษมาปรับใช้ จึงนำหลักการดังกล่าวมาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 8 ว่า “องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำรงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้” โดยสิ่งใดที่พระมหากษัตริย์ทรงกระทำจะต้องมีผู้รับผิดชอบ ซึ่งมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 195 ว่า “บทกฎหมาย พระราชหัตถเลขา และพระบรมราชโองการอันเกี่ยวกับราชการแผ่นดิน ต้องมีรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นในรัฐธรรมนูญนี้ บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วหรือถือเสมือนหนึ่งได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน”

ความสำคัญของการลงพระปรมาภิไธย

การลงพระปรมาภิไธย เป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่จะทำให้การบริหารประเทศดำเนินการได้อย่างเรียบร้อยเพราะบทกฎหมายหรือพระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดินล้วนต้องได้รับการลงพระปรมาภิไธยจากพระมหากษัตริย์เสียก่อนจึงจะมีผลใช้บังคับได้ อย่างเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยก็ต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย แล้วจึงนำมาประกาศเพื่อใช้บังคับ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 90 บัญญัติไว้ว่า “ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่างพระราชบัญญัติจะตราขึ้นเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยหรือถือเสมือนว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยตามรัฐธรรมนูญนี้แล้ว ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อใช้บังคับเป็นกฎหมายต่อไป” [8] และในมาตรา 195 วรรคสอง กำหนดว่า “บทกฎหมายที่ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วหรือถือเสมือนหนึ่งว่าได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้วให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาโดยพลัน” [9]

อนึ่ง พระบรมราชโองการที่เกี่ยวกับราชการแผ่นดิน เช่น พระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร พระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี ก็ต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยเช่นกัน

การลงพระปรมาภิไธยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้บัญญัติเกี่ยวกับการลงพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริย์ซึ่งสัมพันธ์กับการใช้อำนาจอธิปไตย ดังนี้

1. ด้านนิติบัญญัติ

1.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานสภาผู้แทนราษฎร รองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒิสภา ตามมาตรา 124 วรรคหนึ่ง “สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาแต่ละสภา มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้นๆ ตามมติของสภา” [10]

1.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา 110 วรรคหนึ่ง “ภายหลังที่คณะรัฐมนตรีเข้าบริหารราชการแผ่นดินแล้ว พระมหากษํตริย์จะทรงแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้เป็นหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดพรรคของตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี และมีจำนวนมากที่สุดในบรรดาพรรคการเมืองที่สมาชิกในสังกัดมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี แต่ไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรในขณะแต่งตั้ง เป็นผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร” [11]

1.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา ขยายเวลาประชุม เปิดและปิดประชุม ตามมาตรา 128 วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงเรียกประชุมรัฐสภา ทรงเปิดและทรงปิดประชุม” วรรคสาม “เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แห่งรัฐ พระมหากษัตริย์จะทรงเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญก็ได้” และวรรคสี่ “ภายใต้บังคับมาตรา 129 การเรียกประชุม การขยายเวลาประชุม และการปิดประชุมรัฐสภา ให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา” [12]

1.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญ ตามมาตรา 129 วรรคหนึ่ง “สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาทั้งสองสภารวมกัน หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอให้นำความกราบบังคมทูลเพื่อมีพระบรมราชโองการประกาศเรียกประชุมรัฐสภาเป็นการประชุมสมัยวิสามัญได้” [13]

1.5 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ตามมาตรา 107 “เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริย์จะได้ทรงตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป...” [14]

1.6 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ตามมาตรา 108 วรรคสอง “การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา”[15]

1.7 ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติ ตามมาตรา 150 “ร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบของรัฐสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายภายใน 20 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัตินั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และเมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้” [16]

ส่วนในกรณีที่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยในร่างพระราชบัญญัตินั้น ตามมาตรา 151 กำหนดว่า “ร่างพระราชบัญญัติใด พระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วยและพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื่อพ้น 90 วัน แล้วมิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างพระราชบัญญัตินั้นใหม่ ถ้ารัฐสภามีมติยืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมอีกครั้งหนึ่ง เมื่อพระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานคืนมาภายใน 30 วัน ให้นายกรัฐมนตรีนำพระราชบัญญัตินั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว” [17]

2. ด้านบริหาร

2.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ตามมาตรา 171 วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีคนหนึ่งและรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 35 คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนตรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน” [18]

2.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนด ตามมาตรา 184 วรรคหนึ่ง “ในกรณีเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้” [19] รวมทั้งมาตรา 186 วรรคหนึ่ง “ในระหว่างสมัยประชุม ถ้ามีความจำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับเพื่อรักษาประโยชน์ของแผ่นดิน พระมหากษัตริย์จะทรงตราพระราชกำหนดให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติก็ได้” [20]

2.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกฤษฎีกา ตามมาตรา 187 “พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจในการตราพระราชกฤษฎีกาโดยไม่ขัดต่อกฎหมาย” [21]

2.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งข้าราชการ ตามมาตรา 193 “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการฝ่ายทหารและฝ่ายพลเรือน ตำแหน่งปลัดกระทรวง อธิบดี และเทียบเท่า และทรงให้พ้นจากตำแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย” [22]

3. ด้านตุลาการ

3.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ ตามมาตรา 200 วรรคหนึ่ง “พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งผู้พิพากษาและตุลาการ และทรงให้พ้นจากตำแหน่ง เว้นแต่กรณีที่พ้นจากตำแหน่งเพราะความตาย” [23]

3.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตามมาตรา 204 วรรคหนึ่ง “ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประธานศาลรัฐธรรมนูญคนหนึ่งและตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” [24]

3.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมและการให้พ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา 220 วรรคหนึ่ง “การแต่งตั้งและการให้ผู้พิพากษาในศาลยุติธรรมพ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมก่อน แล้วจึงนำความกราบบังคมทูล” [25]

3.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งตุลาการศาลปกครองและการให้พ้นจากตำแหน่ง ตามมาตรา 224 วรรคหนึ่ง “การแต่งตั้งและการให้ตุลาการในศาลปกครองพ้นจากตำแหน่ง ต้องได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองก่อนตามที่กฎหมายบัญญัติก่อน แล้วจึงนำความกราบบังคมทูล” [26]

3.5 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานศาลปกครองสูงสุด ตามมาตรา 225 “การแต่งตั้งตุลาการในศาลปกครองให้ดำรงตำแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุดนั้น เมื่อได้รับความเห็นชอบของคณะกรรมการตุลาการศาลปกครองและวุฒิสภาแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งต่อไป” [27]

นอกจากนี้ พระมหากษัตริย์ยังทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งบุคคลเพื่อดำรงตำแหน่งต่างๆ ดังนี้

1. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ

1.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามมาตรา 229 วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการการเลือกตั้งประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 4 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความเป็นกลางทางการเมืองและมีความซื่อสัตย์สุจริต” [28]

1.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งผู้ตรวจการแผ่นดิน ตามมาตรา 242 วรรคหนึ่ง “ผู้ตรวจการแผ่นดินมีจำนวน 3 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” ส่วนการแต่งตั้งประธานผู้ตรวจการแผ่นดินนั้น ตามมาตรา 242 วรรคสอง “ให้ผู้ได้รับเลือกเป็นผู้ตรวจการแผ่นดินประชุมและเลือกกันเองให้คนหนึ่งเป็นประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน แล้วแจ้งให้ประธานวุฒิสภาทราบ” [29] จากนั้นจึงนำความขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงแต่งตั้งต่อไป

1.3 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ตามมาตรา 246 วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 8 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา” [30]

1.4 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ตามมาตรา 252 วรรคสอง “คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีความชำนาญและประสบการณ์ด้านการตรวจเงินแผ่นดิน การบัญชี การตรวจสอบภายใน การเงินการคลัง และด้านอื่น” [31]

2. องค์กรอื่นตามรัฐธรรมนูญ

2.1 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งอัยการสูงสุด ตามมาตรา 255 วรรคสาม “การแต่งตั้งและการให้อัยการสูงสุดพ้นจากตำแหน่งต้องเป็นไปตามมติของคณะกรรมการอัยการ และได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา” และวรรคสี่ “ให้ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งอัยการสูงสุด” [32]

2.2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามมาตรา 256 วรรคหนึ่ง “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วย ประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีก 6 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา จากผู้ซึ่งมีความรู้หรือประสบการณ์ด้านการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนเป็นที่ประจักษ์ ทั้งนี้ โดยต้องคำนึงถึงการมีส่วนร่วมของผู้แทนจากองค์การเอกชนด้านสิทธิมนุษยชนด้วย” [33]

สรุป

บทกฎหมายต่างๆ ทั้งรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา และพระบรมราชโองการ จะมีผลใช้บังคับได้นั้นต้องนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธยก่อน และเมื่อประกาศลงในราชกิจจานุเบกษาแล้วจึงจะบังคับใช้เป็นกฎหมายได้ ทั้งนี้ การลงพระปรมาภิไธย เป็นการใช้พระราชอำนาจอธิปไตยของพระมหากษัตริย์ตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในฐานะที่ทรงเป็นประมุขของประเทศ เช่น ทรงลงพระปรมาภิไธยในร่างพระราชบัญญัติที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี เป็นต้น

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, 2542. หน้า 651.
  2. กาญจนา นาคสกุล. “พระบรมนามาภิไธย-พระปรมาภิไธย” คลังความรู้. [on line] Accessed 3 July 2009. Available from http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID183
  3. คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548. หน้า 818.
  4. พระยาอนุมานราชธน. พระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง. พระนคร : กรมศิลปากร, 2493. หน้า 1.
  5. สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาส์นสมเด็จ เล่ม 15. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, 2505. หน้า 270-271.
  6. “ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 1 วันอังคาร เดือนยี่ แรมหกค่ำ ปีวอก ฉศก ศักราช 1246. หน้า 21.
  7. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก. [on line] Accessed 4 July 2009. Available from http://guru.sanook.com/encyclopedia
  8. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551. หน้า 65.
  9. เรื่องเดียวกัน, หน้า 159.
  10. เรื่องเดียวกัน, หน้า 96.
  11. เรื่องเดียวกัน, หน้า 85.
  12. เรื่องเดียวกัน, หน้า 100-101.
  13. เรื่องเดียวกัน, หน้า 101.
  14. เรื่องเดียวกัน, หน้า 83.
  15. เรื่องเดียวกัน, หน้า 83.
  16. เรื่องเดียวกัน, หน้า 124.
  17. เรื่องเดียวกัน, หน้า 124-125.
  18. เรื่องเดียวกัน, หน้า 144.
  19. เรื่องเดียวกัน, หน้า 152.
  20. เรื่องเดียวกัน, หน้า 155.
  21. เรื่องเดียวกัน, หน้า 155.
  22. เรื่องเดียวกัน, หน้า 158-159.
  23. เรื่องเดียวกัน, หน้า 162.
  24. เรื่องเดียวกัน, หน้า 164.
  25. เรื่องเดียวกัน, หน้า 179.
  26. เรื่องเดียวกัน, หน้า 182.
  27. เรื่องเดียวกัน, หน้า 183.
  28. เรื่องเดียวกัน, หน้า 186.
  29. เรื่องเดียวกัน, หน้า 201.
  30. เรื่องเดียวกัน, หน้า 205.
  31. เรื่องเดียวกัน, หน้า 213.
  32. เรื่องเดียวกัน, หน้า 216.
  33. เรื่องเดียวกัน, หน้า 217.


หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิล์มโปรเซส, 2539.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร, 2550.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.

บรรณานุกรม

กาญจนา นาคสกุล. “พระบรมนามาภิไธย-พระปรมาภิไธย” คลังความรู้. [on line] Accessed 3 July 2009. Available from http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?ID183

คณิน บุญสุวรรณ. ปทานุกรม ศัพท์รัฐสภาและการเมืองไทย ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ, 2548.

จเร พันธุ์เปรื่อง. “พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540” รัฐสภาสาร. ปีที่ 47 ฉบับที่ 6, มิ.ย. 2542. หน้า 63-93.

ธงทอง จันทรางศุ. “ฐานะของพระมหากษัตริย์ตามระบอบรัฐธรรมนูญ” รัฐสภาสาร. ปีที่ 31 ฉบับที่ 9, ก.ย. 2526. หน้า 7-15.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. “การลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ” สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก. [on line] Accessed 4 July 2009. Available from http://guru.sanook.com/encyclopedia

“ประกาศเรื่องถวายหนังสือ” ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 1 วันอังคาร เดือนยี่ แรมหกค่ำ ปีวอก ฉศก ศักราช 1246. หน้า 21.

พระยาอนุมานราชธน. เรื่องพระราชลัญจกรและตราประจำตัวประจำตำแหน่ง. พระนคร : กรมศิลปากร, 2493.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์, 2542.

สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพและสมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์. สาส์นสมเด็จ เล่ม 15. พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, 2505.

สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับรัฐสภา. กรุงเทพฯ : เจฟิล์มโปรเซส, 2539.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. ธ ทรงเป็นร่มฉัตรรัฐสภา. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการ สภาผู้แทนราษฎร, 2550.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2551.

หยุด แสงอุทัย. “พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย” รัฐสภาสาร. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1, ธ.ค. 2499. หน้า 29-34.

ดูเพิ่มเติม