ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคเศรษฐกิจไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ ม..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
          '''พรรคเศรษฐกิจไทย''' '''(Thai Economic Party)''' เป็นพรรคการเมืองของไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเป็น ลำดับที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2563 โดยมี นายประสงค์ วรารัตนกุล เป็นหัวหน้าพรรค และนายเมธาวี เนตรไสว เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก โดยมีคณะกรรมการบริหารพรรครวมทั้งสิ้น 17 คน มีการจัดตั้งสาขาพรรคแห่งแรกที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ที่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา
          '''พรรคเศรษฐกิจไทย''' '''(Thai Economic Party)''' เป็นพรรคการเมืองของไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเป็น ลำดับที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2563 โดยมี นายประสงค์ วรารัตนกุล เป็นหัวหน้าพรรค และนายเมธาวี เนตรไสว เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก โดยมีคณะกรรมการบริหารพรรครวมทั้งสิ้น 17 คน มีการจัดตั้งสาขาพรรคแห่งแรกที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ที่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา


          ทั้งนี้ มีการตั้งข้อสังเกตว่าพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นพรรคที่มีการตั้งไว้เป็นพรรคสำรองสำหรับ[[พรรคพลังประชารัฐ]]ที่จัดตั้งมาก่อนหน้านี้[[#_ftn1|[1]]] ภายใต้การช่วยดำเนินการของ นายฉัตรชัย พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น และได้มีการดำเนินการประชุมจัดตั้งสาขาพรรคครบทั้ง 4 ภาค ตัวอย่างเช่น ในการประชุมจัดตั้งสาขาพรรคเศรษฐกิจไทยภาคเหนือที่ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 500 คน โดย นายอรรถชา กัมปนาทแสนยากร ซึ่งเป็นอดีตนายอำเภอแม่ริม และอำเภอดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ได้รับการเสนอชื่อเป็นหัวหน้าสาขาพรรคเศรษฐกิจไทย เป็นต้น อย่างไรก็ดี การประชุมใหญ่ของพรรคในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 ได้ถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากวิกฤต COVID-19 โดยมีเป้าหมายในการก่อตั้งพรรคการเมืองใหม่ที่ไม่ใช่ภาพของการรวมตัวกันของนักเลือกตั้ง[[#_ftn2|[2]]]
          ทั้งนี้ มีการตั้งข้อสังเกตว่าพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นพรรคที่มีการตั้งไว้เป็นพรรคสำรองสำหรับ[[พรรคพลังประชารัฐ|พรรคพลังประชารัฐ]]ที่จัดตั้งมาก่อนหน้านี้[[#_ftn1|[1]]] ภายใต้การช่วยดำเนินการของ นายฉัตรชัย พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น และได้มีการดำเนินการประชุมจัดตั้งสาขาพรรคครบทั้ง 4 ภาค ตัวอย่างเช่น ในการประชุมจัดตั้งสาขาพรรคเศรษฐกิจไทยภาคเหนือที่ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 500 คน โดย นายอรรถชา กัมปนาทแสนยากร ซึ่งเป็นอดีตนายอำเภอแม่ริม และอำเภอดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ได้รับการเสนอชื่อเป็นหัวหน้าสาขาพรรคเศรษฐกิจไทย เป็นต้น อย่างไรก็ดี การประชุมใหญ่ของพรรคในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 ได้ถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากวิกฤต COVID-19 โดยมีเป้าหมายในการก่อตั้งพรรคการเมืองใหม่ที่ไม่ใช่ภาพของการรวมตัวกันของนักเลือกตั้ง[[#_ftn2|[2]]]


 
 
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' การประชุมก่อตั้งสาขาพรรคเศรษฐกิจไทยภาคเหนือ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563[[#_ftn3|[3]]]&nbsp;</p>  
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' การประชุมก่อตั้งสาขาพรรคเศรษฐกิจไทยภาคเหนือ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563[[#_ftn3|[3]]]&nbsp;</p>  
[[File:Thai Economic Party (1).jpg|center|400px]]
[[File:Thai Economic Party (1).jpg|center|400px|Thai Economic Party (1).jpg]]
 
&nbsp;


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมา นายประสงค์ วรารัตนกุล หัวหน้าพรรคได้ยื่นหนังสือลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นผลให้คณะกรรมการบริหารพรรคพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ&nbsp;โดยในช่วงเวลานั้น นางรัชนี ศิวะเวชช ซึ่งเป็นรองหัวหน้าพรรคได้รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าพรรค ท่ามกลางกระแสข่าวหลังจากนั้นที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคการเมืองต่าง ๆ และผู้ที่มีความสนใจเข้ามาเป็นสมาชิกเศรษฐกิจไทย
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมา นายประสงค์ วรารัตนกุล หัวหน้าพรรคได้ยื่นหนังสือลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นผลให้คณะกรรมการบริหารพรรคพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ&nbsp;โดยในช่วงเวลานั้น นางรัชนี ศิวะเวชช ซึ่งเป็นรองหัวหน้าพรรคได้รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าพรรค ท่ามกลางกระแสข่าวหลังจากนั้นที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคการเมืองต่าง ๆ และผู้ที่มีความสนใจเข้ามาเป็นสมาชิกเศรษฐกิจไทย
บรรทัดที่ 20: บรรทัดที่ 22:
<span style="font-size:x-large;">'''การย้ายเข้ามาของกลุ่มร้อยเอกธรรมนัส''' '''พรหมเผ่า'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''การย้ายเข้ามาของกลุ่มร้อยเอกธรรมนัส''' '''พรหมเผ่า'''</span>


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมา เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2565 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ จำนวน 21 คน โดย นายไพบูลย์ นิติตะวัน รองหัวหน้าพรรคในฐานะหัวหน้าฝ่ายกฎหมายพรรคพลังประชารัฐให้เหตุผลว่านักการเมืองกลุ่มนี้ ''"ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคง ความเป็นเอกภาพ และเสถียรภาพของพรรค"''[[#_ftn4|''[4]'']]&nbsp;โดยสมาชิกจำนวน 18 คน ได้ย้ายเข้ามาเป็นสมาชิกของพรรคเศรษฐกิจไทย เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 101(9) บัญญัติว่า&nbsp;''“พ้นจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตน''''เป็นสมาชิกตามมติของพรรคการเมืองนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้นในกรณีเช่นนี้&nbsp;ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นมิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายใน 30 วันนับแต่วันที่พรรคการเมืองมีมติ ให้ถือว่าสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแต่วันที่พันสามสิบวันดังกล่าว”''&nbsp;&nbsp;นอกจากนี้ยังได้ให้เหตุผลในการย้ายเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับพรรคเศรษฐกิจไทยว่า มาจากแนวทางที่พูดคุยเข้ากันได้ดีและอดีตสมาชิกพรรคพลังประชารัฐเหล่านี้ขอเลือกอยู่พรรคที่ทำประโยชน์ให้กับพี่น้องได้มากที่สุด เป็นต้น[[#_ftn5|[5]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมา เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2565 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ จำนวน 21 คน โดย นายไพบูลย์ นิติตะวัน รองหัวหน้าพรรคในฐานะหัวหน้าฝ่ายกฎหมายพรรคพลังประชารัฐให้เหตุผลว่านักการเมืองกลุ่มนี้ ''"ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคง ความเป็นเอกภาพ และเสถียรภาพของพรรค"''[[#_ftn4|[4]]]&nbsp;โดยสมาชิกจำนวน 18 คน ได้ย้ายเข้ามาเป็นสมาชิกของพรรคเศรษฐกิจไทย เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 101(9) บัญญัติว่า&nbsp;''“พ้นจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิกตามมติของพรรคการเมืองนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้นในกรณีเช่นนี้&nbsp;ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นมิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายใน 30 วันนับแต่วันที่พรรคการเมืองมีมติ ให้ถือว่าสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแต่วันที่พันสามสิบวันดังกล่าว”''&nbsp;&nbsp;นอกจากนี้ยังได้ให้เหตุผลในการย้ายเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับพรรคเศรษฐกิจไทยว่า มาจากแนวทางที่พูดคุยเข้ากันได้ดีและอดีตสมาชิกพรรคพลังประชารัฐเหล่านี้ขอเลือกอยู่พรรคที่ทำประโยชน์ให้กับพี่น้องได้มากที่สุด เป็นต้น[[#_ftn5|[5]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สมาชิกพรรคพลังประชารัฐทั้ง 18 คน[[#_ftn6|[6]]] ได้แก่
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สมาชิกพรรคพลังประชารัฐทั้ง 18 คน[[#_ftn6|[6]]] ได้แก่


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (1) นายเกษม ศุภรานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดนครราชสีมา
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ''(1) นายเกษม ศุภรานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดนครราชสีมา''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) นายไผ่ ลิกค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดกำแพงเพชร
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (2) นายไผ่ ลิกค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดกำแพงเพชร''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) นายธรรมนัส พรหมเผ่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพะเยา
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (3) นายธรรมนัส พรหมเผ่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพะเยา''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดชลบุรี
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (4) นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดชลบุรี''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (5) นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (5) นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (6) นายจีรเดช ศรีวิราช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพะเยา
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (6) นายจีรเดช ศรีวิราช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพะเยา''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (7) นายพรชัย อินทร์สุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพิจิตร
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (7) นายพรชัย อินทร์สุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพิจิตร''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (8) นายปัญญา จีนาคำ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดแม่ฮ่องสอน
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (8) นายปัญญา จีนาคำ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดแม่ฮ่องสอน''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (9) นายธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดอุบลราชธานี
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (9) นายธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดอุบลราชธานี''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (10) นายวัฒนา สิทธิวัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดลำปาง
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (10) นายวัฒนา สิทธิวัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดลำปาง''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (11) พล.ต.อ.ยงยุทธ เทพจำนงค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (11) พล.ต.อ.ยงยุทธ เทพจำนงค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (12) น.ส.จอมขวัญ กลับบ้านเกาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดสมุทรสาคร
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (12) นางสาวจอมขวัญ กลับบ้านเกาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดสมุทรสาคร''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (13) นางทัศนาพร เกษเมธีการุณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดนครราชสีมา
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (13) นางทัศนาพร เกษเมธีการุณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดนครราชสีมา''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (14) นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดตาก
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (14) นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดตาก''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (15) นายภาคภูมิ บูลย์ประมุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดตาก
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (15) นายภาคภูมิ บูลย์ประมุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดตาก''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (16) นายยุทธนา โพธสุธน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (16) นายยุทธนา โพธสุธน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (17) นายสมศักดิ์ คุณเงิน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดขอนแก่น
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (17) นายสมศักดิ์ คุณเงิน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดขอนแก่น''


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (18) นายณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดสุรินทร์
''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (18) นายณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดสุรินทร์''


&nbsp;
&nbsp;


จากนั้นในวันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ซึ่งเป็นการประชุมร่วมกันของรัฐสภา อดีตสมาชิกพรรคพลังประชารัฐที่ย้ายมาสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยได้เข้าร่วมประชุมในสังกัดใหม่เป็นครั้งแรก ต่อมาในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2565 ทางพรรคเศรษฐกิจไทยได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ณ ที่ทำการพรรคเศรษฐกิจไทยแห่งใหม่ อาคารยูทาวเวอร์ ถนนศรีนครินทร์ เพื่อแก้ไขข้อบังคับพรรค เปลี่ยนแปลงโลโก้พรรค เปลี่ยนแปลง<br/> ที่ทำการพรรค และเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ซึ่งที่ประชุมมีมติเลือก พลเอก วิชญ์ เทพหัสดิน<br/> ณ อยุธยา อดีตประธานยุทธศาสตร์พรรคพลังประชารัฐเป็นหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยด้วยคะแนน 333 คะแนน และร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า เป็นเลขาธิการพรรค ด้วยคะแนน 323 คะแนน โดยมีนาย บุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ เป็นนายทะเบียนสมาชิกพรรค ด้วยคะแนน 328 คะแนน และนางสาวธนพร ศรีวิราช ภรรยาของร้อยเอกธรรมนัสเป็นเหรัญญิกพรรค ได้รับเลือกด้วยคะแนน 324 คะแนน[[#_ftn7|[7]]]&nbsp; โดยมีกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ทั้งสิ้น จำนวน 22 คน โดยส่วนใหญ่เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคพลังประชารัฐที่ย้ายสังกัดมาพร้อม ร.อ. ธรรมนัส นอกจากนี้ยังมีนายไพร พัฒโน อดีตอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ และนายวิชิต<br/> ปลั่งศรีสกุล อดีตคณะทำงานฝ่ายกฎหมาย พรรคเพื่อไทย[[#_ftn8|[8]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; จากนั้นในวันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ซึ่งเป็นการประชุมร่วมกันของรัฐสภา อดีตสมาชิกพรรคพลังประชารัฐที่ย้ายมาสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยได้เข้าร่วมประชุมในสังกัดใหม่เป็นครั้งแรก ต่อมาในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2565 ทางพรรคเศรษฐกิจไทยได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ณ ที่ทำการพรรคเศรษฐกิจไทยแห่งใหม่ อาคารยูทาวเวอร์ ถนนศรีนครินทร์ เพื่อแก้ไขข้อบังคับพรรค เปลี่ยนแปลงโลโก้พรรค เปลี่ยนแปลงที่ทำการพรรค และเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ซึ่งที่ประชุมมีมติเลือก พลเอกวิชญ์ เทพหัสดิน&nbsp;ณ อยุธยา อดีตประธานยุทธศาสตร์พรรคพลังประชารัฐเป็นหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยด้วยคะแนน 333 คะแนน และร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า เป็นเลขาธิการพรรค ด้วยคะแนน 323 คะแนน โดยมี นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ เป็นนายทะเบียนสมาชิกพรรค ด้วยคะแนน 328 คะแนน และนางสาวธนพร ศรีวิราช ภรรยาของร้อยเอกธรรมนัสเป็นเหรัญญิกพรรค ได้รับเลือกด้วยคะแนน 324 คะแนน[[#_ftn7|[7]]]&nbsp;โดยมีกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ทั้งสิ้น จำนวน 22 คน โดยส่วนใหญ่เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคพลังประชารัฐที่ย้ายสังกัดมาพร้อมร้อยเอกธรรมนัส นอกจากนี้ยังมี นายไพร พัฒโน อดีตอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สงขลา [[พรรคประชาธิปัตย์]] และนายวิชิต&nbsp;ปลั่งศรีสกุล อดีตคณะทำงานฝ่ายกฎหมาย พรรคเพื่อไทย[[#_ftn8|[8]]]
 
ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2565 พลเอกวิชญ์ หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยได้เปิดตัวนายคมสัน<br/> พันธุ์วิชาติกุล เป็นว่าที่ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตบางพลัด-บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และถือเป็นว่าที่ผู้สมัครคนแรกของพรรค[[#_ftn9|[9]]] จากนั้นในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 นาย บุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิก<br/> สภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อและนายทะเบียนสมาชิกพรรค ได้เปิดเผยถึงการลาออกของคณะกรรมการบริหารพรรค 15 คน จากจำนวนทั้งหมด 22 คน ต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองเป็นผลให้คณะกรรมการบริหารพรรค<br/> ต้องพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ และพลเอกวิชญ์ได้ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรค ท่ามกลางปัญหาขัดแย้งในพรรคที่ค่อนข้างรุนแรงระหว่างหัวหน้าพรรคกับเลขาธิการพรรค[[#_ftn10|[10]]]
 
''ภาพแกนนำพรรคเศรษฐกิจไทยภายใต้การนำของพล.อ. วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยาและ ร.อ. ธรรมนัส พรหมเผ่า''[[#_ftn11|'''''[11]''''']]
 
[[File:|284x189px]]
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลจากการลาออกของหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรค ส่งผลให้มีการจัดประชุมใหญ่วิสามัญ<br/> ของ พรรคเศรษฐกิจไทย ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2565 ที่โรงแรมรอยัลริเวอร์ มีวาระสำคัญเพื่อเลือกคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ร.อ. ธรรมนัส พรหมเผ่าได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกพรรคให้ขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยคนใหม่ด้วยมติเอกฉันท์ของสมาชิกพรรค โดยมีนักการเมืองคนสนิทอย่างนายไผ่<br/> ลิกค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.กำแพงเพชร ขึ้นเป็นเลขาธิการพรรคคนใหม่ ขณะที่ตำแหน่งนายทะเบียนพรรคเป็นของนายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร บัญชีรายชื่อ และ นางสาวธนพร ศรีวิราช ยังดำรงเก้าอี้เหรัญญิกพรรคตามเดิม ภายใต้เป้าหมายหนึ่งของกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ที่ต้องการสร้างให้พรรคเศรษฐกิจไทยเป็นพรรคการเมืองที่เป็นความหวังของคนไทยทั้งแผ่นดิน ทั้ง 77 จังหวัด ไม่ใช่เฉพาะในกรุงเทพ[[#_ftn12|[12]]]
 
&nbsp;


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2565 พลเอกวิชญ์หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยได้เปิดตัว นายคมสัน&nbsp;พันธุ์วิชาติกุล เป็นว่าที่ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตบางพลัด-บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และถือเป็นว่าที่ผู้สมัครคนแรกของพรรค[[#_ftn9|[9]]] จากนั้นในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อและนายทะเบียนสมาชิกพรรค ได้เปิดเผยถึงการลาออกของคณะกรรมการบริหารพรรค 15 คน จากจำนวนทั้งหมด 22 คน ต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองเป็นผลให้คณะกรรมการบริหารพรรคต้องพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ และพลเอกวิชญ์ได้ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรค ท่ามกลางปัญหาขัดแย้งในพรรคที่ค่อนข้างรุนแรงระหว่างหัวหน้าพรรคกับเลขาธิการพรรค[[#_ftn10|[10]]]


&nbsp;
&nbsp;
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' แกนนำพรรคเศรษฐกิจไทยภายใต้การนำของ พล.อ.วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า[[#_ftn11|[11]]]</p>
[[File:Thai Economic Party (2).jpg|center|500px]]


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลจากการลาออกของหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรค ส่งผลให้มีการจัดประชุมใหญ่วิสามัญของพรรคเศรษฐกิจไทยในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ที่โรงแรมรอยัลริเวอร์ มีวาระสำคัญเพื่อเลือกคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกพรรคให้ขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยคนใหม่ด้วยมติเอกฉันท์ของสมาชิกพรรค โดยมีนักการเมืองคนสนิทอย่างนายไผ่ลิกค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.กำแพงเพชร ขึ้นเป็นเลขาธิการพรรคคนใหม่ ขณะที่ตำแหน่งนายทะเบียนพรรคเป็นของ นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ และนางสาวธนพร ศรีวิราช ยังดำรงเก้าอี้เหรัญญิกพรรคตามเดิม ภายใต้เป้าหมายหนึ่งของกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ที่ต้องการสร้างให้พรรคเศรษฐกิจไทยเป็นพรรคการเมืองที่เป็นความหวังของคนไทยทั้งแผ่นดิน ทั้ง 77 จังหวัด ไม่ใช่เฉพาะในกรุงเทพ[[#_ftn12|[12]]]


&nbsp;
&nbsp;
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':'''&nbsp;ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ในขณะดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย[[#_ftn13|[13]]]</p>
[[File:Thai Economic Party (3).jpg|center|500px]]


''ภาพ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ในขณะดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย''[[#_ftn13|'''''[13]''''']]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้ ในฐานะหัวหน้าพรรค ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ได้ส่งผู้สมัครของพรรคเศรษฐกิจไทยลงเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ลำปาง แต่พ่ายแพ้ให้กับผู้สมัครของ[[พรรคเสรีรวมไทย]] โดยได้เปิดเหตุผลว่าความพ่ายแพ้มาจากจุดยืนพรรคเศรษฐกิจไทยไม่ชัดเจน[[#_ftn14|[14]]] ดังนั้นจึงได้ถอนตัวจากพรรคร่วมรัฐบาลและแสดงบทบาทในการเป็นฝ่ายค้านโดยเฉพาะการเป็นปฏิปักษ์กับ พลเอก[[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|ประยุทธ์&nbsp;จันทร์โอชา]] อาทิ การลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี รวมถึงการสอบสวนกรณีที่ 4&nbsp;ส.ส. พรรคเศรษฐกิจไทย ลงมติซึ่งสวนทางกับมติของพรรค ตลอดจนการตัดความสัมพันธ์กับพรรคเล็ก ด้วยเหตุผลของความเบื่อหน่ายในการต่อรองและผลประโยชน์ส่วนตัว รวมไปถึงการสนับสนุนร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งในการใช้สูตรคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ 100 คน ในการหาค่าเฉลี่ย[[#_ftn15|[15]]]
 
[[File:|295x166px]]
 
นอกจากนี้ ในฐานะหัวหน้าพรรค ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ได้ส่งผู้สมัครของพรรคเศรษฐกิจไทย ลงเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ลำปาง แต่พ่ายแพ้ให้กับผู้สมัครของพรรคเสรีรวมไทย โดยได้เปิดเหตุผลว่าความพ่ายแพ้มาจากจุดยืนพรรคเศรษฐกิจไทยไม่ชัดเจน[[#_ftn14|[14]]] ดังนั้นจึงได้ถอนตัวจากพรรคร่วมรัฐบาลและแสดงบทบาท<br/> ในการเป็นฝ่ายค้านโดยเฉพาะการเป็นปฏิปักษ์กับพลเอกประยุทธ จันทรโอชา อาทิ การลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี รวมถึงการสอบสวนกรณีที่ 4&nbsp; ส.ส.พรรคเศรษฐกิจไทย ลงมติ ซึ่งสวนทางกับมติของพรรค ตลอดจนการตัดความสัมพันธ์กับพรรคเล็ก ด้วยเหตุผลของความเบื่อหน่ายในการต่อรอง และผลประโยชน์ส่วนตัว รวมไปถึงการสนับสนุนร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง ในการใช้สูตรคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ 100 คนในการหาค่าเฉลี่ย[[#_ftn15|[15]]]


&nbsp;
&nbsp;


'''การย้ายออกไปของกลุ่มร้อยเอกธรรมนัส''' '''พรหมเผ่า'''
<span style="font-size:x-large;">'''การย้ายออกไปของกลุ่มร้อยเอกธรรมนัส''' '''พรหมเผ่า'''</span>
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ต่อมาเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ร.อ. ธรรมนัส พรหมเผ่า หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย ได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรค มีผลให้ความเป็นกรรมการบริหารพรรคทั้งคณะต้องพ้นจากตำแหน่ง ในเวลาต่อมาวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2565 พรรคเศรษฐกิจไทย ได้จัดประชุมใหญ่วิสามัญพรรคเศรษฐกิจไทย ครั้งที่ 3/2565 มีวาระสำคัญ คือ การเลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคใหม่ โดยมีมติเลือก นาย เชวงศักดิ์ ใจคำ หัวหน้าพรรค ซึ่งเป็นคนสนิทของร้อยเอกธรรมนัส[[#_ftn16|[16]]] นายสัจจวิทย์ ลีลาวณิชย์ เป็นเลขาธิการพรรค นายชวาลี เดือนดาว เหรัญญิกพรรค<br/> และนายสุธี พงษ์เพียรชอบ เป็นนายทะเบียนสมาชิกพรรค โดยมีจำนวนกรรมการบริหารพรรคจำนวน 11 คน<br/> ซึ่งไม่ปรากฏรายชื่อกรรมการบริหารที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแม้แต่คนเดียว
 
นอกจากนี้ ยังมีวาระพิจารณาแก้ไขข้อบังคับพรรคเศรษฐกิจไทย เปลี่ยนเครื่องหมายพรรค โดยใช้เครื่องหมายมีลักษณะดังนี้ มีสัญลักษณ์กรอบแปดเหลี่ยมสามเส้น วงนอกสุดสีเขียว วงกลางสีแดง วงในสีน้ำเงิน ภายในกรอบแถวแรกเป็นอักษรภาษาไทยสีเขียวคำว่า ‘พรรค’ แถวที่สองเป็นอักษรภาษาไทยสีเขียวคำว่า ‘เศรษฐกิจไทย’ แถวที่สามเป็นอักษรภาษาอังกฤษสีแดงคำว่า ‘Thai Economic Party (TEP)’ &nbsp;หมายถึง<br/> ความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร เพื่อนำประเทศสู่ความเจริญรุ่งเรือง นอกจากนี้ยังให้เปลี่ยนแปลงข้อบังคับพรรคเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2564 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2565 ข้อ 6 โดยกำหนดให้สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 269 หมู่ที่ 4 ถนนดอกคำใต้-เชียงคำ ตำบลดอนศรีชุม อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา รหัสไปรษณีย์ 56120’[[#_ftn17|[17]]]


&nbsp;''ภาพตราสัญลักษณ์พรรคเศรษฐกิจไทยแบบเก่า (ซ้าย) และแบบใหม่ (ขวา)''[[#_ftn18|'''''[18]''''']]&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ต่อมาเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรค มีผลให้ความเป็นกรรมการบริหารพรรคทั้งคณะต้องพ้นจากตำแหน่ง ในเวลาต่อมาวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2565 พรรคเศรษฐกิจไทย ได้จัดประชุมใหญ่วิสามัญพรรคเศรษฐกิจไทย ครั้งที่ 3/2565 มีวาระสำคัญ คือ การเลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคใหม่ โดยมีมติเลือก นายเชวงศักดิ์ ใจคำ หัวหน้าพรรคซึ่งเป็นคนสนิทของร้อยเอกธรรมนัส[[#_ftn16|[16]]] นายสัจจวิทย์ ลีลาวณิชย์ เป็นเลขาธิการพรรค นายชวาลี เดือนดาว เหรัญญิกพรรค&nbsp;และนายสุธี พงษ์เพียรชอบ เป็นนายทะเบียนสมาชิกพรรค โดยมีจำนวนกรรมการบริหารพรรค จำนวน 11 คน&nbsp;ซึ่งไม่ปรากฏรายชื่อกรรมการบริหารที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแม้แต่คนเดียว


[[File:|265x139px]][[File:|299x132px]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้ ยังมีวาระพิจารณาแก้ไขข้อบังคับพรรคเศรษฐกิจไทย เปลี่ยนเครื่องหมายพรรคโดยใช้เครื่องหมายมีลักษณะดังนี้ มีสัญลักษณ์กรอบแปดเหลี่ยมสามเส้น วงนอกสุดสีเขียว วงกลางสีแดง วงในสีน้ำเงิน ภายในกรอบแถวแรกเป็นอักษรภาษาไทยสีเขียวคำว่า '''"พรรค"'''&nbsp;แถวที่สองเป็นอักษรภาษาไทยสีเขียวคำว่า '''"เศรษฐกิจไทย"'''&nbsp;แถวที่สามเป็นอักษรภาษาอังกฤษสีแดงคำว่า '''"Thai Economic Party (TEP)"'''&nbsp;หมายถึง&nbsp;ความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร เพื่อนำประเทศสู่ความเจริญรุ่งเรือง นอกจากนี้ยังให้เปลี่ยนแปลงข้อบังคับพรรคเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2564 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2565 ข้อ 6 โดยกำหนดให้สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 269 หมู่ที่ 4 ถนนดอกคำใต้-เชียงคำ ตำบลดอนศรีชุม อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา รหัสไปรษณีย์ 56120[[#_ftn17|[17]]]
<p style="text-align: center;">&nbsp;</p> <p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' ตราสัญลักษณ์พรรคเศรษฐกิจไทยแบบเก่า (ซ้าย) และแบบใหม่ (ขวา)[[#_ftn18|[18]]]&nbsp;</p>
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 500px;"
|-
| [[File:Thai Economic Party (4).png|center|500x200px]]
| [[File:Thai Economic Party (5).png|center|500px]]
|}


&nbsp;
&nbsp;


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า และกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเศรษฐกิจไทย รวม 13 คน ได้กลับไปเข้าร่วมงานกับพรรคพลังประชารัฐเพื่อเตรียมความพร้อมในการเลือกตั้งเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566 คุมพื้นที่ภาคเหนือ หลังไปร่วมงานกับพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นเวลากว่า 1 ปี[[#_ftn19|[19]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า และกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเศรษฐกิจไทย รวม 13 คน ได้กลับไปเข้าร่วมงานกับพรรคพลังประชารัฐเพื่อเตรียมความพร้อมในการเลือกตั้งเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566 คุมพื้นที่ภาคเหนือ หลังไปร่วมงานกับพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นเวลากว่า 1 ปี[[#_ftn19|[19]]]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จากฐานข้อมูลพรรคการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2566 พรรคเศรษฐกิจไทย มีสมาชิกทั้งหมด 10,946 คน<br/> ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และมีสาขาพรรทั้งหมด 5 แห่งกระจายในทุกภาค โดยมี 2 แห่ง<br/> ในภาคเหนือ อย่างไรก็ดี ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ไม่พบข้อมูลการส่งผู้สมัคร<br/> ลงรับเลือกตั้ง[[#_ftn20|[20]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; จากฐานข้อมูลพรรคการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2566 พรรคเศรษฐกิจไทย มีสมาชิกทั้งหมด 10,946 คน&nbsp;ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและมีสาขาพรรทั้งหมด 5 แห่งกระจายในทุกภาค โดยมี 2 แห่งในภาคเหนือ อย่างไรก็ดีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ไม่พบข้อมูลการส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้ง[[#_ftn20|[20]]]
<div>
<div>
&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 110: บรรทัดที่ 104:
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] “UPDATE: รู้จัก "พรรคเศรษฐกิจไทย" ก่อนที่ "ธรรมนัส" จะนำ ส.ส.ย้ายเข้า ล่าสุด เหลือ ส.ส. 19 คน ถอนตัวไป 1 และ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 1 คน”, สืบค้นจาก https://www.facebook.com/TheReportersTH/posts/3205349173048794/?locale=hi_IN (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref1|[1]]] “UPDATE: รู้จัก "พรรคเศรษฐกิจไทย" ก่อนที่ "ธรรมนัส" จะนำ ส.ส.ย้ายเข้า ล่าสุด เหลือ ส.ส. 19 คน ถอนตัวไป 1 และ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 1 คน”, สืบค้นจาก [https://www.facebook.com/TheReportersTH/posts/3205349173048794/?locale=hi_IN https://www.facebook.com/TheReportersTH/posts/3205349173048794/?locale=hi_IN] (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] อนาคต "ปลัดฉิ่ง" กับพรรคเศรษฐกิจไทย https://www.komchadluek.net/scoop/474360 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref2|[2]]] อนาคต "ปลัดฉิ่ง" กับพรรคเศรษฐกิจไทย [https://www.komchadluek.net/scoop/474360 https://www.komchadluek.net/scoop/474360] (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] อนาคต "ปลัดฉิ่ง" กับพรรคเศรษฐกิจไทย https://www.komchadluek.net/scoop/474360 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref3|[3]]] อนาคต "ปลัดฉิ่ง" กับพรรคเศรษฐกิจไทย [https://www.komchadluek.net/scoop/474360 https://www.komchadluek.net/scoop/474360] (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] “พรรคเศรษฐกิจไทย : เงื่อนไข “ซบเพื่อไทย” กับ “มือที่หายไป” ของ ร.อ. ธรรมนัส”, สืบค้นจาก&nbsp;&nbsp; https://www.bbc.com/thai/articles/c06xvzr0z1xo (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref4|[4]]] “พรรคเศรษฐกิจไทย&nbsp;: เงื่อนไข “ซบเพื่อไทย” กับ “มือที่หายไป” ของ ร.อ. ธรรมนัส”, สืบค้นจาก&nbsp;&nbsp; [https://www.bbc.com/thai/articles/c06xvzr0z1xo https://www.bbc.com/thai/articles/c06xvzr0z1xo] (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] ““ไผ่ ลิกค์” ลั่น ไม่มีการต่อรองตำแหน่งรมต. พร้อมย้ายไป “พรรคเศรษฐกิจไทย” เผย แนวทางเข้ากันได้”, สืบค้นจาก&nbsp; https:// siamrath.co.th/n/315415&nbsp; (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref5|[5]]] ““ไผ่ ลิกค์” ลั่น ไม่มีการต่อรองตำแหน่งรมต. พร้อมย้ายไป “พรรคเศรษฐกิจไทย” เผย แนวทางเข้ากันได้”, สืบค้นจาก&nbsp; https:// siamrath.co.th/n/315415&nbsp; (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] “"พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว”, สืบค้นจาก &nbsp;https://www.bangkokbiznews.com/ politics/985339 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref6|[6]]] “"พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว”, สืบค้นจาก &nbsp;[https://www.bangkokbiznews.com/ https://www.bangkokbiznews.com/] politics/985339 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] “ตามคาด! "พล.อ.วิชญ์" คุมพรรคเศรษฐกิจไทย "ธรรมนัส" นั่งเลขาฯ”, สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/politic/news/ 678485 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref7|[7]]] “ตามคาด! "พล.อ.วิชญ์" คุมพรรคเศรษฐกิจไทย "ธรรมนัส" นั่งเลขาฯ”, สืบค้นจาก [https://www.posttoday.com/politic/news/ https://www.posttoday.com/politic/news/] 678485 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นอย่ามองพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นอากาศ “ขาดอากาศแล้วตายทันที”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ thailand-60775989 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref8|[8]]] ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นอย่ามองพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นอากาศ “ขาดอากาศแล้วตายทันที”, สืบค้นจาก [https://www.bbc.com/thai/ https://www.bbc.com/thai/] thailand-60775989 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] “"เศรษฐกิจไทย" เปิดตัว "ซินแสโจ้" เป็นว่าที่ผู้สมัคร ส.ส. คนแรกใน กทม.”, สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/ politic/ 2355860 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref9|[9]]] “"เศรษฐกิจไทย" เปิดตัว "ซินแสโจ้" เป็นว่าที่ผู้สมัคร ส.ส. คนแรกใน กทม.”, สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/news/ https://www.thairath.co.th/news/] politic/ 2355860 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] “พล.อ.วิชญ์” เปิดใจไม่ไปต่อ พอแล้ว ถ้าทำได้แค่ “ไม้กันหมา”, สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/news/ content/315943 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref10|[10]]] “พล.อ.วิชญ์” เปิดใจไม่ไปต่อ พอแล้ว ถ้าทำได้แค่ “ไม้กันหมา”, สืบค้นจาก [https://www.thaipbs.or.th/news/ https://www.thaipbs.or.th/news/] content/315943 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นอย่ามองพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นอากาศ “ขาดอากาศแล้วตายทันที”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ thailand-60775989 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref11|[11]]] ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นอย่ามองพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นอากาศ “ขาดอากาศแล้วตายทันที”, สืบค้นจาก [https://www.bbc.com/thai/ https://www.bbc.com/thai/] thailand-60775989 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] “ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นเศรษฐกิจไทยต้อง “คิดใหม่ ทำใหม่” หลังขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/ thai/thailand-61754970 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref12|[12]]] “ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นเศรษฐกิจไทยต้อง “คิดใหม่ ทำใหม่” หลังขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่”, สืบค้นจาก [https://www.bbc.com/ https://www.bbc.com/] thai/thailand-61754970 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn13">
</div> <div id="ftn13">
[[#_ftnref13|[13]]] "ธรรมนัส" ไขก๊อก หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย จ่อซบ "เพื่อไทย"”, สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/ 1031603 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref13|[13]]] "ธรรมนัส" ไขก๊อก หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย จ่อซบ "เพื่อไทย"”, สืบค้นจาก [https://www.bangkokbiznews.com/politics/ https://www.bangkokbiznews.com/politics/] 1031603 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn14">
</div> <div id="ftn14">
[[#_ftnref14|[14]]] ย้อนเส้นทางการเมือง ‘ธรรมนัส พรหมเผ่า’ ช่วงปี 65-66 ก่อนกลับ ‘พลังประชารัฐ’”, สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/ pol-tummanut/ (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref14|[14]]] ย้อนเส้นทางการเมือง ‘ธรรมนัส พรหมเผ่า’ ช่วงปี 65-66 ก่อนกลับ ‘พลังประชารัฐ’”, สืบค้นจาก [https://workpointtoday.com/ https://workpointtoday.com/] pol-tummanut/ (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn15">
</div> <div id="ftn15">
[[#_ftnref15|[15]]] “ธรรมนัส สั่งสอบ 4 ส.ส.เศรษฐกิจไทย โหวตสวนมติพรรค คาดรู้ผลใน 3 วัน”, สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/ 2022/ 219824 (15 มิถุนายน 2566) และ “ธรรมนัส ประกาศจุดยืนถอนตัวร่วมรัฐบาล เดินหน้าเป็นฝ่ายค้านเต็มตัว”, สืบค้นจาก https://www.infoquest. co.th/2022/216321 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref15|[15]]] “ธรรมนัส สั่งสอบ 4 ส.ส.เศรษฐกิจไทย โหวตสวนมติพรรค คาดรู้ผลใน 3 วัน”, สืบค้นจาก [https://www.infoquest.co.th/ https://www.infoquest.co.th/] 2022/ 219824 (15 มิถุนายน 2566) และ “ธรรมนัส ประกาศจุดยืนถอนตัวร่วมรัฐบาล เดินหน้าเป็นฝ่ายค้านเต็มตัว”, สืบค้นจาก [https://www.infoquest https://www.infoquest]. co.th/2022/216321 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn16">
</div> <div id="ftn16">
[[#_ftnref16|[16]]] พรรคเศรษฐกิจไทย : เงื่อนไข “ซบเพื่อไทย” กับ “มือที่หายไป” ของ ร.อ. ธรรมนัส”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ articles/c06xvzr0z1xo (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref16|[16]]] พรรคเศรษฐกิจไทย&nbsp;: เงื่อนไข “ซบเพื่อไทย” กับ “มือที่หายไป” ของ ร.อ. ธรรมนัส”, สืบค้นจาก [https://www.bbc.com/thai/ https://www.bbc.com/thai/] articles/c06xvzr0z1xo (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn17">
</div> <div id="ftn17">
[[#_ftnref17|[17]]] “เศรษฐกิจไทยเลือกกรรมการบริหารชุดใหม่-เปลี่ยนโลโก้ หลังธรรมนัสทิ้งเก้าอี้หัวหน้าพรรค ไร้เงา ส.ส. นั่งกรรมการบริหาร”, สืบค้นจาก https://thestandard.co/new-thai-economic-party/ (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref17|[17]]] “เศรษฐกิจไทยเลือกกรรมการบริหารชุดใหม่-เปลี่ยนโลโก้ หลังธรรมนัสทิ้งเก้าอี้หัวหน้าพรรค ไร้เงา ส.ส. นั่งกรรมการบริหาร”, สืบค้นจาก [https://thestandard.co/new-thai-economic-party/ https://thestandard.co/new-thai-economic-party/] (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn18">
</div> <div id="ftn18">
[[#_ftnref18|[18]]] “เศรษฐกิจไทยปรับโลโก้ เคาะ กก.บห.ใหม่ ไร้ “ธรรมนัส” กับ ส.ส. คาดเปิดทางย้ายพรรค”, สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/ news/politic/2523263?gallery_id=3 (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref18|[18]]] “เศรษฐกิจไทยปรับโลโก้ เคาะ กก.บห.ใหม่ ไร้ “ธรรมนัส” กับ ส.ส. คาดเปิดทางย้ายพรรค”, สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/ https://www.thairath.co.th/] news/politic/2523263?gallery_id=3 (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn19">
</div> <div id="ftn19">
[[#_ftnref19|[19]]] ย้อนเส้นทางการเมือง ‘ธรรมนัส พรหมเผ่า’ ช่วงปี 65-66 ก่อนกลับ ‘พลังประชารัฐ’”, สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/pol-tummanut/ (15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref19|[19]]] ย้อนเส้นทางการเมือง ‘ธรรมนัส พรหมเผ่า’ ช่วงปี 65-66 ก่อนกลับ ‘พลังประชารัฐ’”, สืบค้นจาก [https://workpointtoday.com/pol-tummanut/ https://workpointtoday.com/pol-tummanut/] (15 มิถุนายน 2566).
</div> <div id="ftn20">
</div> <div id="ftn20">
[[#_ftnref20|[20]]] “พรรคเศรษฐกิจใหม่ (ศม.) ”, สืบค้นจาก https://party.ect.go.th/dataparty-detail/82(15 มิถุนายน 2566).
[[#_ftnref20|[20]]] “พรรคเศรษฐกิจใหม่ (ศม.) ”, สืบค้นจาก [https://party.ect.go.th/dataparty-detail/82(15 https://party.ect.go.th/dataparty-detail/82(15] มิถุนายน 2566).
</div> </div>
</div> </div>  
[[Category:พรรคการเมือง]][[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:หัวหน้าพรรคการเมือง]][[Category:นักการเมือง]][[Category:การเลือกตั้ง]][[Category:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:37, 7 กันยายน 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

          พรรคเศรษฐกิจไทย (Thai Economic Party) เป็นพรรคการเมืองของไทยที่จดทะเบียนก่อตั้งเป็น ลำดับที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2563 โดยมี นายประสงค์ วรารัตนกุล เป็นหัวหน้าพรรค และนายเมธาวี เนตรไสว เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก โดยมีคณะกรรมการบริหารพรรครวมทั้งสิ้น 17 คน มีการจัดตั้งสาขาพรรคแห่งแรกที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ที่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา

          ทั้งนี้ มีการตั้งข้อสังเกตว่าพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นพรรคที่มีการตั้งไว้เป็นพรรคสำรองสำหรับพรรคพลังประชารัฐที่จัดตั้งมาก่อนหน้านี้[1] ภายใต้การช่วยดำเนินการของ นายฉัตรชัย พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น และได้มีการดำเนินการประชุมจัดตั้งสาขาพรรคครบทั้ง 4 ภาค ตัวอย่างเช่น ในการประชุมจัดตั้งสาขาพรรคเศรษฐกิจไทยภาคเหนือที่ อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 มีผู้เข้าร่วมประชุมมากกว่า 500 คน โดย นายอรรถชา กัมปนาทแสนยากร ซึ่งเป็นอดีตนายอำเภอแม่ริม และอำเภอดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่ ได้รับการเสนอชื่อเป็นหัวหน้าสาขาพรรคเศรษฐกิจไทย เป็นต้น อย่างไรก็ดี การประชุมใหญ่ของพรรคในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 ได้ถูกเลื่อนออกไปเนื่องจากวิกฤต COVID-19 โดยมีเป้าหมายในการก่อตั้งพรรคการเมืองใหม่ที่ไม่ใช่ภาพของการรวมตัวกันของนักเลือกตั้ง[2]

 

ภาพ : การประชุมก่อตั้งสาขาพรรคเศรษฐกิจไทยภาคเหนือ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563[3] 

Thai Economic Party (1).jpg
Thai Economic Party (1).jpg

 

          ต่อมา นายประสงค์ วรารัตนกุล หัวหน้าพรรคได้ยื่นหนังสือลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เป็นผลให้คณะกรรมการบริหารพรรคพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ โดยในช่วงเวลานั้น นางรัชนี ศิวะเวชช ซึ่งเป็นรองหัวหน้าพรรคได้รักษาการในตำแหน่งหัวหน้าพรรค ท่ามกลางกระแสข่าวหลังจากนั้นที่มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากพรรคการเมืองต่าง ๆ และผู้ที่มีความสนใจเข้ามาเป็นสมาชิกเศรษฐกิจไทย

 

การย้ายเข้ามาของกลุ่มร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า

          ต่อมา เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2565 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ถูกขับออกจากพรรคพลังประชารัฐ จำนวน 21 คน โดย นายไพบูลย์ นิติตะวัน รองหัวหน้าพรรคในฐานะหัวหน้าฝ่ายกฎหมายพรรคพลังประชารัฐให้เหตุผลว่านักการเมืองกลุ่มนี้ "ก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคง ความเป็นเอกภาพ และเสถียรภาพของพรรค"[4] โดยสมาชิกจำนวน 18 คน ได้ย้ายเข้ามาเป็นสมาชิกของพรรคเศรษฐกิจไทย เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มาตรา 101(9) บัญญัติว่า “พ้นจากการเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิกตามมติของพรรคการเมืองนั้นด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสามในสี่ของที่ประชุมร่วมของคณะกรรมการบริหารของพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดพรรคการเมืองนั้นในกรณีเช่นนี้ ถ้าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรผู้นั้นมิได้เข้าเป็นสมาชิกของพรรคการเมืองอื่นภายใน 30 วันนับแต่วันที่พรรคการเมืองมีมติ ให้ถือว่าสิ้นสุดสมาชิกภาพนับแต่วันที่พันสามสิบวันดังกล่าว”  นอกจากนี้ยังได้ให้เหตุผลในการย้ายเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองกับพรรคเศรษฐกิจไทยว่า มาจากแนวทางที่พูดคุยเข้ากันได้ดีและอดีตสมาชิกพรรคพลังประชารัฐเหล่านี้ขอเลือกอยู่พรรคที่ทำประโยชน์ให้กับพี่น้องได้มากที่สุด เป็นต้น[5]

          สมาชิกพรรคพลังประชารัฐทั้ง 18 คน[6] ได้แก่

          (1) นายเกษม ศุภรานนท์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดนครราชสีมา

          (2) นายไผ่ ลิกค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดกำแพงเพชร

          (3) นายธรรมนัส พรหมเผ่า สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพะเยา

          (4) นายสะถิระ เผือกประพันธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดชลบุรี

          (5) นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ

          (6) นายจีรเดช ศรีวิราช สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพะเยา

          (7) นายพรชัย อินทร์สุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดพิจิตร

          (8) นายปัญญา จีนาคำ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดแม่ฮ่องสอน

          (9) นายธนะสิทธิ์ โควสุรัตน์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดอุบลราชธานี

          (10) นายวัฒนา สิทธิวัง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดลำปาง

          (11) พล.ต.อ.ยงยุทธ เทพจำนงค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ

          (12) นางสาวจอมขวัญ กลับบ้านเกาะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดสมุทรสาคร

          (13) นางทัศนาพร เกษเมธีการุณ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดนครราชสีมา

          (14) นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดตาก

          (15) นายภาคภูมิ บูลย์ประมุข สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดตาก

          (16) นายยุทธนา โพธสุธน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ

          (17) นายสมศักดิ์ คุณเงิน สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดขอนแก่น

          (18) นายณัฏฐพล จรัสรพีพงษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบ่งเขต จังหวัดสุรินทร์

 

          จากนั้นในวันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 ซึ่งเป็นการประชุมร่วมกันของรัฐสภา อดีตสมาชิกพรรคพลังประชารัฐที่ย้ายมาสังกัดพรรคเศรษฐกิจไทยได้เข้าร่วมประชุมในสังกัดใหม่เป็นครั้งแรก ต่อมาในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2565 ทางพรรคเศรษฐกิจไทยได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ณ ที่ทำการพรรคเศรษฐกิจไทยแห่งใหม่ อาคารยูทาวเวอร์ ถนนศรีนครินทร์ เพื่อแก้ไขข้อบังคับพรรค เปลี่ยนแปลงโลโก้พรรค เปลี่ยนแปลงที่ทำการพรรค และเลือกตั้งคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ซึ่งที่ประชุมมีมติเลือก พลเอกวิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา อดีตประธานยุทธศาสตร์พรรคพลังประชารัฐเป็นหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยด้วยคะแนน 333 คะแนน และร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า เป็นเลขาธิการพรรค ด้วยคะแนน 323 คะแนน โดยมี นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ เป็นนายทะเบียนสมาชิกพรรค ด้วยคะแนน 328 คะแนน และนางสาวธนพร ศรีวิราช ภรรยาของร้อยเอกธรรมนัสเป็นเหรัญญิกพรรค ได้รับเลือกด้วยคะแนน 324 คะแนน[7] โดยมีกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ทั้งสิ้น จำนวน 22 คน โดยส่วนใหญ่เป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสังกัดพรรคพลังประชารัฐที่ย้ายสังกัดมาพร้อมร้อยเอกธรรมนัส นอกจากนี้ยังมี นายไพร พัฒโน อดีตอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.สงขลา พรรคประชาธิปัตย์ และนายวิชิต ปลั่งศรีสกุล อดีตคณะทำงานฝ่ายกฎหมาย พรรคเพื่อไทย[8]

          ต่อมาในวันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2565 พลเอกวิชญ์หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยได้เปิดตัว นายคมสัน พันธุ์วิชาติกุล เป็นว่าที่ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในเขตบางพลัด-บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร และถือเป็นว่าที่ผู้สมัครคนแรกของพรรค[9] จากนั้นในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อและนายทะเบียนสมาชิกพรรค ได้เปิดเผยถึงการลาออกของคณะกรรมการบริหารพรรค 15 คน จากจำนวนทั้งหมด 22 คน ต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองเป็นผลให้คณะกรรมการบริหารพรรคต้องพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ และพลเอกวิชญ์ได้ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรค ท่ามกลางปัญหาขัดแย้งในพรรคที่ค่อนข้างรุนแรงระหว่างหัวหน้าพรรคกับเลขาธิการพรรค[10]

 

ภาพ : แกนนำพรรคเศรษฐกิจไทยภายใต้การนำของ พล.อ.วิชญ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา และ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า[11]

          ผลจากการลาออกของหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรค ส่งผลให้มีการจัดประชุมใหญ่วิสามัญของพรรคเศรษฐกิจไทยในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2565 ที่โรงแรมรอยัลริเวอร์ มีวาระสำคัญเพื่อเลือกคณะกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกพรรคให้ขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยคนใหม่ด้วยมติเอกฉันท์ของสมาชิกพรรค โดยมีนักการเมืองคนสนิทอย่างนายไผ่ลิกค์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.กำแพงเพชร ขึ้นเป็นเลขาธิการพรรคคนใหม่ ขณะที่ตำแหน่งนายทะเบียนพรรคเป็นของ นายบุญสิงห์ วรินทร์รักษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ และนางสาวธนพร ศรีวิราช ยังดำรงเก้าอี้เหรัญญิกพรรคตามเดิม ภายใต้เป้าหมายหนึ่งของกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ที่ต้องการสร้างให้พรรคเศรษฐกิจไทยเป็นพรรคการเมืองที่เป็นความหวังของคนไทยทั้งแผ่นดิน ทั้ง 77 จังหวัด ไม่ใช่เฉพาะในกรุงเทพ[12]

 

ภาพ : ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ในขณะดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย[13]

          นอกจากนี้ ในฐานะหัวหน้าพรรค ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า ได้ส่งผู้สมัครของพรรคเศรษฐกิจไทยลงเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จ.ลำปาง แต่พ่ายแพ้ให้กับผู้สมัครของพรรคเสรีรวมไทย โดยได้เปิดเหตุผลว่าความพ่ายแพ้มาจากจุดยืนพรรคเศรษฐกิจไทยไม่ชัดเจน[14] ดังนั้นจึงได้ถอนตัวจากพรรคร่วมรัฐบาลและแสดงบทบาทในการเป็นฝ่ายค้านโดยเฉพาะการเป็นปฏิปักษ์กับ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อาทิ การลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรี รวมถึงการสอบสวนกรณีที่ 4 ส.ส. พรรคเศรษฐกิจไทย ลงมติซึ่งสวนทางกับมติของพรรค ตลอดจนการตัดความสัมพันธ์กับพรรคเล็ก ด้วยเหตุผลของความเบื่อหน่ายในการต่อรองและผลประโยชน์ส่วนตัว รวมไปถึงการสนับสนุนร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งในการใช้สูตรคำนวณสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรบัญชีรายชื่อ 100 คน ในการหาค่าเฉลี่ย[15]

 

การย้ายออกไปของกลุ่มร้อยเอกธรรมนัส พรหมเผ่า

          ต่อมาเมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2565 ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทยได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าพรรค มีผลให้ความเป็นกรรมการบริหารพรรคทั้งคณะต้องพ้นจากตำแหน่ง ในเวลาต่อมาวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2565 พรรคเศรษฐกิจไทย ได้จัดประชุมใหญ่วิสามัญพรรคเศรษฐกิจไทย ครั้งที่ 3/2565 มีวาระสำคัญ คือ การเลือกตั้งกรรมการบริหารพรรคใหม่ โดยมีมติเลือก นายเชวงศักดิ์ ใจคำ หัวหน้าพรรคซึ่งเป็นคนสนิทของร้อยเอกธรรมนัส[16] นายสัจจวิทย์ ลีลาวณิชย์ เป็นเลขาธิการพรรค นายชวาลี เดือนดาว เหรัญญิกพรรค และนายสุธี พงษ์เพียรชอบ เป็นนายทะเบียนสมาชิกพรรค โดยมีจำนวนกรรมการบริหารพรรค จำนวน 11 คน ซึ่งไม่ปรากฏรายชื่อกรรมการบริหารที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแม้แต่คนเดียว

          นอกจากนี้ ยังมีวาระพิจารณาแก้ไขข้อบังคับพรรคเศรษฐกิจไทย เปลี่ยนเครื่องหมายพรรคโดยใช้เครื่องหมายมีลักษณะดังนี้ มีสัญลักษณ์กรอบแปดเหลี่ยมสามเส้น วงนอกสุดสีเขียว วงกลางสีแดง วงในสีน้ำเงิน ภายในกรอบแถวแรกเป็นอักษรภาษาไทยสีเขียวคำว่า "พรรค" แถวที่สองเป็นอักษรภาษาไทยสีเขียวคำว่า "เศรษฐกิจไทย" แถวที่สามเป็นอักษรภาษาอังกฤษสีแดงคำว่า "Thai Economic Party (TEP)" หมายถึง ความมั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร เพื่อนำประเทศสู่ความเจริญรุ่งเรือง นอกจากนี้ยังให้เปลี่ยนแปลงข้อบังคับพรรคเศรษฐกิจไทย พ.ศ. 2564 ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2565 ข้อ 6 โดยกำหนดให้สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 269 หมู่ที่ 4 ถนนดอกคำใต้-เชียงคำ ตำบลดอนศรีชุม อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา รหัสไปรษณีย์ 56120[17]

 

ภาพ : ตราสัญลักษณ์พรรคเศรษฐกิจไทยแบบเก่า (ซ้าย) และแบบใหม่ (ขวา)[18] 

 

          อย่างไรก็ดี ในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 ร.อ.ธรรมนัส พรหมเผ่า และกลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคเศรษฐกิจไทย รวม 13 คน ได้กลับไปเข้าร่วมงานกับพรรคพลังประชารัฐเพื่อเตรียมความพร้อมในการเลือกตั้งเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2566 คุมพื้นที่ภาคเหนือ หลังไปร่วมงานกับพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นเวลากว่า 1 ปี[19]

          จากฐานข้อมูลพรรคการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2566 พรรคเศรษฐกิจไทย มีสมาชิกทั้งหมด 10,946 คน ส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและมีสาขาพรรทั้งหมด 5 แห่งกระจายในทุกภาค โดยมี 2 แห่งในภาคเหนือ อย่างไรก็ดีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ไม่พบข้อมูลการส่งผู้สมัครลงรับเลือกตั้ง[20]

 

อ้างอิง

[1] “UPDATE: รู้จัก "พรรคเศรษฐกิจไทย" ก่อนที่ "ธรรมนัส" จะนำ ส.ส.ย้ายเข้า ล่าสุด เหลือ ส.ส. 19 คน ถอนตัวไป 1 และ หยุดปฏิบัติหน้าที่ 1 คน”, สืบค้นจาก https://www.facebook.com/TheReportersTH/posts/3205349173048794/?locale=hi_IN (15 มิถุนายน 2566).

[2] อนาคต "ปลัดฉิ่ง" กับพรรคเศรษฐกิจไทย https://www.komchadluek.net/scoop/474360 (15 มิถุนายน 2566).

[3] อนาคต "ปลัดฉิ่ง" กับพรรคเศรษฐกิจไทย https://www.komchadluek.net/scoop/474360 (15 มิถุนายน 2566).

[4] “พรรคเศรษฐกิจไทย : เงื่อนไข “ซบเพื่อไทย” กับ “มือที่หายไป” ของ ร.อ. ธรรมนัส”, สืบค้นจาก   https://www.bbc.com/thai/articles/c06xvzr0z1xo (15 มิถุนายน 2566).

[5] ““ไผ่ ลิกค์” ลั่น ไม่มีการต่อรองตำแหน่งรมต. พร้อมย้ายไป “พรรคเศรษฐกิจไทย” เผย แนวทางเข้ากันได้”, สืบค้นจาก  https:// siamrath.co.th/n/315415  (15 มิถุนายน 2566).

[6] “"พรรคเศรษฐกิจไทย" แจ้ง "สภาฯ" 18ส.ส. ที่ถูก "พปชร." ขับ ย้ายเข้าสังกัดแล้ว”, สืบค้นจาก  https://www.bangkokbiznews.com/ politics/985339 (15 มิถุนายน 2566).

[7] “ตามคาด! "พล.อ.วิชญ์" คุมพรรคเศรษฐกิจไทย "ธรรมนัส" นั่งเลขาฯ”, สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/politic/news/ 678485 (15 มิถุนายน 2566).

[8] ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นอย่ามองพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นอากาศ “ขาดอากาศแล้วตายทันที”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ thailand-60775989 (15 มิถุนายน 2566).

[9] “"เศรษฐกิจไทย" เปิดตัว "ซินแสโจ้" เป็นว่าที่ผู้สมัคร ส.ส. คนแรกใน กทม.”, สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/ politic/ 2355860 (15 มิถุนายน 2566).

[10] “พล.อ.วิชญ์” เปิดใจไม่ไปต่อ พอแล้ว ถ้าทำได้แค่ “ไม้กันหมา”, สืบค้นจาก https://www.thaipbs.or.th/news/ content/315943 (15 มิถุนายน 2566).

[11] ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นอย่ามองพรรคเศรษฐกิจไทยเป็นอากาศ “ขาดอากาศแล้วตายทันที”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ thailand-60775989 (15 มิถุนายน 2566).

[12] “ธรรมนัส พรหมเผ่า ลั่นเศรษฐกิจไทยต้อง “คิดใหม่ ทำใหม่” หลังขึ้นเป็นหัวหน้าพรรคคนใหม่”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/ thai/thailand-61754970 (15 มิถุนายน 2566).

[13] "ธรรมนัส" ไขก๊อก หัวหน้าพรรคเศรษฐกิจไทย จ่อซบ "เพื่อไทย"”, สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/politics/ 1031603 (15 มิถุนายน 2566).

[14] ย้อนเส้นทางการเมือง ‘ธรรมนัส พรหมเผ่า’ ช่วงปี 65-66 ก่อนกลับ ‘พลังประชารัฐ’”, สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/ pol-tummanut/ (15 มิถุนายน 2566).

[15] “ธรรมนัส สั่งสอบ 4 ส.ส.เศรษฐกิจไทย โหวตสวนมติพรรค คาดรู้ผลใน 3 วัน”, สืบค้นจาก https://www.infoquest.co.th/ 2022/ 219824 (15 มิถุนายน 2566) และ “ธรรมนัส ประกาศจุดยืนถอนตัวร่วมรัฐบาล เดินหน้าเป็นฝ่ายค้านเต็มตัว”, สืบค้นจาก https://www.infoquest. co.th/2022/216321 (15 มิถุนายน 2566).

[16] พรรคเศรษฐกิจไทย : เงื่อนไข “ซบเพื่อไทย” กับ “มือที่หายไป” ของ ร.อ. ธรรมนัส”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/ articles/c06xvzr0z1xo (15 มิถุนายน 2566).

[17] “เศรษฐกิจไทยเลือกกรรมการบริหารชุดใหม่-เปลี่ยนโลโก้ หลังธรรมนัสทิ้งเก้าอี้หัวหน้าพรรค ไร้เงา ส.ส. นั่งกรรมการบริหาร”, สืบค้นจาก https://thestandard.co/new-thai-economic-party/ (15 มิถุนายน 2566).

[18] “เศรษฐกิจไทยปรับโลโก้ เคาะ กก.บห.ใหม่ ไร้ “ธรรมนัส” กับ ส.ส. คาดเปิดทางย้ายพรรค”, สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/ news/politic/2523263?gallery_id=3 (15 มิถุนายน 2566).

[19] ย้อนเส้นทางการเมือง ‘ธรรมนัส พรหมเผ่า’ ช่วงปี 65-66 ก่อนกลับ ‘พลังประชารัฐ’”, สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/pol-tummanut/ (15 มิถุนายน 2566).

[20] “พรรคเศรษฐกิจใหม่ (ศม.) ”, สืบค้นจาก https://party.ect.go.th/dataparty-detail/82(15 มิถุนายน 2566).