ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 2: บรรทัดที่ 2:
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ


 
 


= '''ความเป็นมาของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548''' =
= <span style="font-size:x-large;">'''ความเป็นมาของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548'''</span> =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; คณะรัฐมนตรี (ในสมัยพันตำรวจโท ดร. [[ทักษิณ_ชินวัตร|ทักษิณ_ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี) ได้มีการประชุม เมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม 2548 เพื่อพิจารณาและมีมติอนุมัติร่างพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ....[[#_ftn1|[1]]] จนได้มีการประกาศ '''“พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548”'''&nbsp;ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือ วันที่ 17 กรกฎาคม 2548 และให้ยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2495 โดยมีความมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากภัยพิบัติสาธารณะและฟื้นฟูสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนได้รับความเสียหาย ประกอบกับปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐซึ่งมีความร้ายแรงมากยิ่งขึ้นจนอาจกระทบต่อเอกราชและบูรณภาพแห่งอาณาเขต และก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยภายในประเทศ ทำให้ประชาชนได้รับอันตรายหรือเดือดร้อนจนไม่อาจใช้ชีวิตอย่างเป็นปกติสุข และไม่อาจแก้ไขปัญหาด้วยการบริหารราชการในรูปแบบปกติได้ สมควรต้องกำหนดมาตรการในการบริหารราชการสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินไว้เป็นพิเศษ เพื่อให้รัฐสามารถรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัย และการรักษาสิทธิและเสรีภาพของประชาชนทั้งปวงให้กลับสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว จึงเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้&nbsp;เพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ และป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; คณะรัฐมนตรี (ในสมัยพันตำรวจโท ดร.[[ทักษิณ_ชินวัตร|ทักษิณ_ชินวัตร]] เป็นนายกรัฐมนตรี) ได้มีการประชุมเมื่อ วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม 2548 เพื่อพิจารณาและมีมติอนุมัติร่างพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ....[[#_ftn1|[1]]] จนได้มีการประกาศ '''“พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548”'''&nbsp;ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือ วันที่ 17 กรกฎาคม 2548 และให้ยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2495 โดยมีความมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากภัยพิบัติสาธารณะและฟื้นฟูสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนได้รับความเสียหาย ประกอบกับปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐซึ่งมีความร้ายแรงมากยิ่งขึ้นจนอาจกระทบต่อเอกราชและบูรณภาพแห่งอาณาเขต และก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยภายในประเทศ ทำให้ประชาชนได้รับอันตรายหรือเดือดร้อนจนไม่อาจใช้ชีวิตอย่างเป็นปกติสุข และไม่อาจแก้ไขปัญหาด้วยการบริหารราชการในรูปแบบปกติได้ สมควรต้องกำหนดมาตรการในการบริหารราชการสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินไว้เป็นพิเศษ เพื่อให้รัฐสามารถรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัย และการรักษาสิทธิและเสรีภาพของประชาชนทั้งปวงให้กลับสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว จึงเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้&nbsp;เพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ และป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''ความหมายของ “สถานการณ์ฉุกเฉิน”'''</span> =
 
= '''ความหมายของ “สถานการณ์ฉุกเฉิน”''' =


'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; “สถานการณ์ฉุกเฉิน”''' หมายความว่า “สถานการณ์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา การรบหรือการสงคราม ซึ่งจำเป็นต้องมีมาตรการเร่งด่วนเพื่อรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เอกราชและบูรณภาพแห่งอาณาเขต ผลประโยชน์ของชาติ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัยของประชาชน การดำรงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชน การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ความสงบเรียบร้อยหรือประโยชน์ส่วนรวม หรือการป้องปัด&nbsp;หรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายจากภัยพิบัติสาธารณะอันมีมาอย่างฉุกเฉินและร้ายแรง” (มาตรา 4)
'''&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; “สถานการณ์ฉุกเฉิน”''' หมายความว่า “สถานการณ์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา การรบหรือการสงคราม ซึ่งจำเป็นต้องมีมาตรการเร่งด่วนเพื่อรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เอกราชและบูรณภาพแห่งอาณาเขต ผลประโยชน์ของชาติ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัยของประชาชน การดำรงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชน การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ความสงบเรียบร้อยหรือประโยชน์ส่วนรวม หรือการป้องปัด&nbsp;หรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายจากภัยพิบัติสาธารณะอันมีมาอย่างฉุกเฉินและร้ายแรง” (มาตรา 4)


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''ลักษณะของสถานการณ์ฉุกเฉิน'''</span> =
 
= '''ลักษณะของสถานการณ์ฉุกเฉิน''' =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ลักษณะของการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มี 2 ลักษณะ ได้แก่
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ลักษณะของการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มี 2 ลักษณะ ได้แก่


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''1)''' สถานการณ์ฉุกเฉินที่ไม่มีความร้ายแรง ซึ่งนายกรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 5) พร้อมอำนาจในการออกข้อกำหนดต่าง ๆ (ตามมาตรา 9)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1) สถานการณ์ฉุกเฉินที่ไม่มีความร้ายแรง ซึ่งนายกรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 5) พร้อมอำนาจในการออกข้อกำหนดต่าง ๆ (ตามมาตรา 9)
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''2)''' สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรณีที่สถานการณ์ฉุกเฉินมีระดับความรุนแรงกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยในชีวิตหรือทรัพย์สินของรัฐหรือบุคคล และมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหาให้ยุติได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีมีอำนาจเพิ่มเติมในการออกประกาศและคำสั่ง (ตามมาตรา 11)


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรณีที่สถานการณ์ฉุกเฉินมีระดับความรุนแรงกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยในชีวิตหรือทรัพย์สินของรัฐหรือบุคคล และมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหาให้ยุติได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีมีอำนาจเพิ่มเติมในการออกประกาศและคำสั่ง (ตามมาตรา 11)


= '''การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน''' =
= <span style="font-size:x-large;">'''การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน'''</span> =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินถือเป็นอำนาจของ “[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]” โดยความเห็นชอบของ “[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]” ยกเว้นเป็นกรณีเร่งด่วนที่ไม่สามารถขออนุมัติคณะรัฐมนตรีได้ทัน ให้นายกรัฐมนตรีดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายใน 3 วัน หากมิได้ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนดให้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง (มาตรา 5) อนึ่งการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินถือเป็นอำนาจของ “[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]]” โดยความเห็นชอบของ “[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]” ยกเว้นเป็นกรณีเร่งด่วนที่ไม่สามารถขออนุมัติคณะรัฐมนตรีได้ทัน ให้นายกรัฐมนตรีดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายใน 3 วัน หากมิได้ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนดให้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง (มาตรา 5) อนึ่งการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)
บรรทัดที่ 34: บรรทัดที่ 28:
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินต้องใช้บังคับไม่เกินสามเดือนนับแต่วันประกาศ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องขยายระยะเวลา ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกได้คราวละไม่เกินสามเดือน (มาตรา 5 วรรคสอง) และเมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินสิ้นสุดลงแล้วให้นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 5 วรรคท้าย)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินต้องใช้บังคับไม่เกินสามเดือนนับแต่วันประกาศ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องขยายระยะเวลา ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกได้คราวละไม่เกินสามเดือน (มาตรา 5 วรรคสอง) และเมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินสิ้นสุดลงแล้วให้นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 5 วรรคท้าย)


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน (ย้ายตำแหน่งหัวข้อ)'''</span> =
 
= '''คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน (ย้ายตำแหน่งหัวข้อ)''' =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการทหารสูงสุด&nbsp;ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ&nbsp;อธิบดีกรมการปกครอง และอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นกรรมการ และเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการทหารสูงสุด&nbsp;ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ&nbsp;อธิบดีกรมการปกครอง และอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นกรรมการ และเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ
บรรทัดที่ 42: บรรทัดที่ 34:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน (คบฉ.) มีอำนาจหน้าที่ติดตามและตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศที่อาจเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อเสนอแนะต่อนายกรัฐมนตรีในกรณีที่มีความจำเป็นต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (ที่ไม่มีความร้ายแรง) หรือสถานการณ์ฉุกเฉิน (ที่มีความร้ายแรง) และในการใช้มาตรการที่เหมาะสมตามพระราชกำหนดนี้ เพื่อการป้องกันแก้ไขหรือระงับสถานการณ์ฉุกเฉินนั้น (มาตรา 6)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน (คบฉ.) มีอำนาจหน้าที่ติดตามและตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศที่อาจเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อเสนอแนะต่อนายกรัฐมนตรีในกรณีที่มีความจำเป็นต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (ที่ไม่มีความร้ายแรง) หรือสถานการณ์ฉุกเฉิน (ที่มีความร้ายแรง) และในการใช้มาตรการที่เหมาะสมตามพระราชกำหนดนี้ เพื่อการป้องกันแก้ไขหรือระงับสถานการณ์ฉุกเฉินนั้น (มาตรา 6)


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''อำนาจเมื่อมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน'''</span> =
 
= '''อำนาจเมื่อมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน''' =


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; '''1)''' ในเขตท้องที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้โอนอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีตามกฎหมายใดทั้งหมดหรือบางส่วน มาเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีชั่วคราว เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการอนุญาต อนุมัติ สั่งการ บังคับ บัญชา หรือช่วยในการป้องกัน แก้ไข ปราบปราม ระงับยับยั้งในสถานการณ์ฉุกเฉิน&nbsp;หรือฟื้นฟูหรือช่วยเหลือประชาชน เพื่อให้การสั่งการและการแก้ไขสถานการณ์เป็นไปโดยมีเอกภาพ&nbsp;รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ (มาตรา 7 วรรคแรก และ วรรคสอง)
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) ในเขตท้องที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้โอนอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีตามกฎหมายใดทั้งหมดหรือบางส่วน มาเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีชั่วคราว เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการอนุญาต อนุมัติ สั่งการ บังคับ บัญชา หรือช่วยในการป้องกัน แก้ไข ปราบปราม ระงับยับยั้งในสถานการณ์ฉุกเฉิน&nbsp;หรือฟื้นฟูหรือช่วยเหลือประชาชน เพื่อให้การสั่งการและการแก้ไขสถานการณ์เป็นไปโดยมีเอกภาพ&nbsp;รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ (มาตรา 7 วรรคแรก และ วรรคสอง)


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;'''2)''' อำนาจในการแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติงานตามกฎหมายที่ได้รับโอนมา
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) อำนาจในการแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติงานตามกฎหมายที่ได้รับโอนมา


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นายกรัฐมนตรีที่ได้รับโอนอำนาจและหน้าที่ตามกฎหมายมาในเขตท้องที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มีอำนาจแต่งตั้ง
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; นายกรัฐมนตรีที่ได้รับโอนอำนาจและหน้าที่ตามกฎหมายมาในเขตท้องที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มีอำนาจแต่งตั้ง
บรรทัดที่ 58: บรรทัดที่ 48:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- แต่งตั้ง '''“ผู้กำกับการปฏิบัติงาน”''' โดยให้ถือว่าเป็นผู้บังคับบัญชาหัวหน้าผู้รับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 7 วรรคท้าย)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;- แต่งตั้ง '''“ผู้กำกับการปฏิบัติงาน”''' โดยให้ถือว่าเป็นผู้บังคับบัญชาหัวหน้าผู้รับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 7 วรรคท้าย)


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''3)''' อำนาจในการจัดตั้ง '''“หน่วยงานพิเศษ”'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3) อำนาจในการจัดตั้ง '''“หน่วยงานพิเศษ”'''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในกรณีที่มีความจำเป็น คณะรัฐมนตรีอาจให้มีการจัดตั้งหน่วยงานพิเศษเป็นการเฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชกำหนดนี้เป็นการชั่วคราวได้จนกว่าจะยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 7 วรรคห้า)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในกรณีที่มีความจำเป็น คณะรัฐมนตรีอาจให้มีการจัดตั้งหน่วยงานพิเศษเป็นการเฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชกำหนดนี้เป็นการชั่วคราวได้จนกว่าจะยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 7 วรรคห้า)


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''4)''' อำนาจออก '''“ข้อกำหนด”'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 4) อำนาจออก '''“ข้อกำหนด”'''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การออกข้อกำหนดเพื่อการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินให้ยุติโดยเร็ว หรือป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงมากขึ้น (มาตรา 9) เช่น การห้ามมิให้ออกนอกเคหสถาน ห้ามมิให้ชุมนุมหรือมั่วสุมกัน ห้ามใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ เป็นต้น โดยข้อกำหนดต้องประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การออกข้อกำหนดเพื่อการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินให้ยุติโดยเร็ว หรือป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงมากขึ้น (มาตรา 9) เช่น การห้ามมิให้ออกนอกเคหสถาน ห้ามมิให้ชุมนุมหรือมั่วสุมกัน ห้ามใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ เป็นต้น โดยข้อกำหนดต้องประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)
บรรทัดที่ 70: บรรทัดที่ 60:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สำหรับผู้ที่ฝ่าฝืนข้อกำหนด ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 18)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สำหรับผู้ที่ฝ่าฝืนข้อกำหนด ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 18)


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''ข้อยกเว้นของการประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉิน'''</span> =
 
= '''ข้อยกเว้นของการประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉิน''' =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''1)''' การออกข้อกำหนด ประกาศ คำสั่ง หรือ การกระทำตามพระราชกำหนดนี้ไม่อยู่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (มาตรา 16)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 1) การออกข้อกำหนด ประกาศ คำสั่ง หรือ การกระทำตามพระราชกำหนดนี้ไม่อยู่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (มาตรา 16)
 
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; '''2)''' ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ในการระงับหรือป้องกันการกระทำผิดกฎหมาย หากเป็นการกระทำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรือไม่เกินกว่ากรณีจำเป็น ไม่ต้องรับผิดในทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางวินัย เพื่อเป็นการคุ้มกันการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ อย่างไรก็ดี หากมีผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำดังกล่าวสามารถใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ได้&nbsp; (มาตรา 17)
 
&nbsp;


= '''บรรณานุกรม''' =
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ในการระงับหรือป้องกันการกระทำผิดกฎหมาย หากเป็นการกระทำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรือไม่เกินกว่ากรณีจำเป็น ไม่ต้องรับผิดในทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางวินัย เพื่อเป็นการคุ้มกันการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ อย่างไรก็ดี หากมีผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำดังกล่าวสามารถใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ได้&nbsp; (มาตรา 17)


ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122/ตอนที่ 58 ก/หน้า 1/ 16 กรกฎาคม 1548. '''พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548'''.
= <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> =


'''เอกสารอ่านเพิ่มเติม'''
ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122/ตอนที่ 58 ก/หน้า 1/ 16 กรกฎาคม 1548. พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548.


บรรหาร กำลา. '''บทวิเคราะห์การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ'''. จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. 51. หน้า 33 - 44.
<span style="font-size:x-large;">'''เอกสารอ่านเพิ่มเติม'''</span>


สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. '''คำอธิบายพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548.'''
บรรหาร กำลา. บทวิเคราะห์การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. 51. หน้า 33 - 44.


&nbsp;
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. คำอธิบายพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548.


= '''อ้างอิง''' =
= '''อ้างอิง''' =
<div><div id="ftn1">
<div><div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] บรรหาร กำลา, '''บทวิเคราะห์การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ''', จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. 51, หน้า 33.
[[#_ftnref1|[1]]] บรรหาร กำลา, บทวิเคราะห์การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ, จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. 51, หน้า 33.
 
</div> </div>
&nbsp;
&nbsp;


&nbsp;
[[Category:การบริหารราชการแผ่นดิน]][[Category:ว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]
</div> </div>
[[Category:การบริหารราชการแผ่นดิน]] [[Category:ว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:05, 15 มีนาคม 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ มาศฉมาดล

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศาสตราจารย์ ดร.บรรเจิด สิงคะเนติ

 

ความเป็นมาของพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548

          คณะรัฐมนตรี (ในสมัยพันตำรวจโท ดร.ทักษิณ_ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี) ได้มีการประชุมเมื่อ วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม 2548 เพื่อพิจารณาและมีมติอนุมัติร่างพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ....[1] จนได้มีการประกาศ “พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548” ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือ วันที่ 17 กรกฎาคม 2548 และให้ยกเลิกพระราชบัญญัติว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2495 โดยมีความมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากภัยพิบัติสาธารณะและฟื้นฟูสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนได้รับความเสียหาย ประกอบกับปัญหาเกี่ยวกับความมั่นคงของรัฐซึ่งมีความร้ายแรงมากยิ่งขึ้นจนอาจกระทบต่อเอกราชและบูรณภาพแห่งอาณาเขต และก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยภายในประเทศ ทำให้ประชาชนได้รับอันตรายหรือเดือดร้อนจนไม่อาจใช้ชีวิตอย่างเป็นปกติสุข และไม่อาจแก้ไขปัญหาด้วยการบริหารราชการในรูปแบบปกติได้ สมควรต้องกำหนดมาตรการในการบริหารราชการสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินไว้เป็นพิเศษ เพื่อให้รัฐสามารถรักษาความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัย และการรักษาสิทธิและเสรีภาพของประชาชนทั้งปวงให้กลับสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว จึงเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีความจำเป็นรีบด่วนอันมิอาจจะหลีกเลี่ยงได้ เพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษาความปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ และป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ

ความหมายของ “สถานการณ์ฉุกเฉิน”

          “สถานการณ์ฉุกเฉิน” หมายความว่า “สถานการณ์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา การรบหรือการสงคราม ซึ่งจำเป็นต้องมีมาตรการเร่งด่วนเพื่อรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เอกราชและบูรณภาพแห่งอาณาเขต ผลประโยชน์ของชาติ การปฏิบัติตามกฎหมาย ความปลอดภัยของประชาชน การดำรงชีวิตโดยปกติสุขของประชาชน การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ความสงบเรียบร้อยหรือประโยชน์ส่วนรวม หรือการป้องปัด หรือแก้ไขเยียวยาความเสียหายจากภัยพิบัติสาธารณะอันมีมาอย่างฉุกเฉินและร้ายแรง” (มาตรา 4)

ลักษณะของสถานการณ์ฉุกเฉิน

          ลักษณะของการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มี 2 ลักษณะ ได้แก่

          1) สถานการณ์ฉุกเฉินที่ไม่มีความร้ายแรง ซึ่งนายกรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 5) พร้อมอำนาจในการออกข้อกำหนดต่าง ๆ (ตามมาตรา 9)

          2) สถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในกรณีที่สถานการณ์ฉุกเฉินมีระดับความรุนแรงกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ ความปลอดภัยในชีวิตหรือทรัพย์สินของรัฐหรือบุคคล และมีความจำเป็นที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหาให้ยุติได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงที ให้อำนาจนายกรัฐมนตรีมีอำนาจเพิ่มเติมในการออกประกาศและคำสั่ง (ตามมาตรา 11)

การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน

          การประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินถือเป็นอำนาจของ “นายกรัฐมนตรี” โดยความเห็นชอบของ “คณะรัฐมนตรี” ยกเว้นเป็นกรณีเร่งด่วนที่ไม่สามารถขออนุมัติคณะรัฐมนตรีได้ทัน ให้นายกรัฐมนตรีดำเนินการให้ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีภายใน 3 วัน หากมิได้ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนดให้การประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง (มาตรา 5) อนึ่งการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)

          การประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉินต้องใช้บังคับไม่เกินสามเดือนนับแต่วันประกาศ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องขยายระยะเวลา ให้นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศขยายระยะเวลาการใช้บังคับออกได้คราวละไม่เกินสามเดือน (มาตรา 5 วรรคสอง) และเมื่อสถานการณ์ฉุกเฉินสิ้นสุดลงแล้วให้นายกรัฐมนตรีประกาศยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 5 วรรคท้าย)

คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน (ย้ายตำแหน่งหัวข้อ)

          คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินประกอบด้วย รองนายกรัฐมนตรีซึ่งนายกรัฐมนตรีมอบหมายเป็นประธานกรรมการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม เป็นรองประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงกลาโหม ปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม ผู้อำนวยการสำนักข่าวกรองแห่งชาติ อัยการสูงสุด ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บัญชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ อธิบดีกรมการปกครอง และอธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นกรรมการ และเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ

          คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน (คบฉ.) มีอำนาจหน้าที่ติดตามและตรวจสอบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกประเทศที่อาจเกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน เพื่อเสนอแนะต่อนายกรัฐมนตรีในกรณีที่มีความจำเป็นต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (ที่ไม่มีความร้ายแรง) หรือสถานการณ์ฉุกเฉิน (ที่มีความร้ายแรง) และในการใช้มาตรการที่เหมาะสมตามพระราชกำหนดนี้ เพื่อการป้องกันแก้ไขหรือระงับสถานการณ์ฉุกเฉินนั้น (มาตรา 6)

อำนาจเมื่อมีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน

          1) ในเขตท้องที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ให้โอนอำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรีตามกฎหมายใดทั้งหมดหรือบางส่วน มาเป็นอำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรีชั่วคราว เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับการอนุญาต อนุมัติ สั่งการ บังคับ บัญชา หรือช่วยในการป้องกัน แก้ไข ปราบปราม ระงับยับยั้งในสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือฟื้นฟูหรือช่วยเหลือประชาชน เพื่อให้การสั่งการและการแก้ไขสถานการณ์เป็นไปโดยมีเอกภาพ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ (มาตรา 7 วรรคแรก และ วรรคสอง)

          2) อำนาจในการแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบัติงานตามกฎหมายที่ได้รับโอนมา

          นายกรัฐมนตรีที่ได้รับโอนอำนาจและหน้าที่ตามกฎหมายมาในเขตท้องที่ที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน มีอำนาจแต่งตั้ง

               - “พนักงานเจ้าหน้าที่” คือ ผู้ซึ่งนายกรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชกำหนดนี้ โดยให้ประกาศแต่งตั้งบุคคลพนักงานเจ้าหน้าที่ในราชกิจจานุเบิกษา ให้เป็นผู้มีอำนาจตามกฎหมายที่นายกรัฐมนตรีได้รับโอนอำนาจมา โดยแต่งตั้งจาก “ข้าราชการพลเรือน ตำรวจหรือทหารซึ่งมีตำแหน่งไม่ต่ำกว่าอธิบดี ผู้บัญชาการตำรวจ แม่ทัพ หรือเทียบเท่า” (มาตรา 7 วรรคสามและวรรคสี่)

               - แต่งตั้ง “คณะบุคคลหรือบุคคลเป็นที่ปรึกษา” ในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่หรือเป็นผู้ช่วยเหลือพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา 8) โดยให้ประกาศแต่งตั้งคณะบุคคล หรือบุคคลที่ปรึกษาในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)

               - แต่งตั้ง “ผู้กำกับการปฏิบัติงาน” โดยให้ถือว่าเป็นผู้บังคับบัญชาหัวหน้าผู้รับผิดชอบ ข้าราชการและพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (มาตรา 7 วรรคท้าย)

          3) อำนาจในการจัดตั้ง “หน่วยงานพิเศษ”

          ในกรณีที่มีความจำเป็น คณะรัฐมนตรีอาจให้มีการจัดตั้งหน่วยงานพิเศษเป็นการเฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชกำหนดนี้เป็นการชั่วคราวได้จนกว่าจะยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 7 วรรคห้า)

          4) อำนาจออก “ข้อกำหนด”

          การออกข้อกำหนดเพื่อการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินให้ยุติโดยเร็ว หรือป้องกันมิให้เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงมากขึ้น (มาตรา 9) เช่น การห้ามมิให้ออกนอกเคหสถาน ห้ามมิให้ชุมนุมหรือมั่วสุมกัน ห้ามใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ เป็นต้น โดยข้อกำหนดต้องประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 14)

          นอกจากนี้ในการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ให้นายกรัฐมนตรีมีอำนาจประกาศห้ามดำเนินการใด ๆ (มาตรา 11) เช่น ประกาศให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจจับกุมและควบคุมตัวบุคคลที่สงสัยว่าจะเป็นผู้ร่วมกระทำการให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน หรือเป็นผู้ใช้ ผู้โฆษณา ผู้สนับสนุนการกระทำเช่นว่านั้น หรือปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการกระทำให้เกิดสถานการณ์ฉุกเฉิน (มาตรา 11 (1)) โดยในการจับกุมและควบคุมตัวบุคคลที่ต้องสงสัยตามประกาศ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ร้องขอต่อศาลที่มีเขตอำนาจหรือศาลอาญาเพื่อขออนุญาตดำเนินการ เมื่อได้รับอนุญาตจากศาลแล้ว ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจจับกุมและควบคุมตัวได้ไม่เกินเจ็ดวัน และต้องควบคุมไว้ในสถานที่ที่กำหนดซึ่งไม่ใช่สถานีตำรวจ ที่คุมขัง ทัณฑสถาน หรือเรือนจำ โดยจะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นในลักษณะเป็นผู้กระทำความผิดมิได้ (มาตรา 12)

          สำหรับผู้ที่ฝ่าฝืนข้อกำหนด ประกาศ หรือคำสั่งที่ออกต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 18)

ข้อยกเว้นของการประกาศใช้สถานการณ์ฉุกเฉิน

          1) การออกข้อกำหนด ประกาศ คำสั่ง หรือ การกระทำตามพระราชกำหนดนี้ไม่อยู่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง และกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (มาตรา 16)

          2) ในกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่และผู้มีอำนาจหน้าที่เช่นเดียวกับพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ในการระงับหรือป้องกันการกระทำผิดกฎหมาย หากเป็นการกระทำที่สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกินสมควรแก่เหตุหรือไม่เกินกว่ากรณีจำเป็น ไม่ต้องรับผิดในทางแพ่ง ทางอาญา หรือทางวินัย เพื่อเป็นการคุ้มกันการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ อย่างไรก็ดี หากมีผู้ได้รับความเสียหายจากการกระทำดังกล่าวสามารถใช้สิทธิเรียกร้องค่าเสียหายจากทางราชการตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ได้  (มาตรา 17)

บรรณานุกรม

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122/ตอนที่ 58 ก/หน้า 1/ 16 กรกฎาคม 1548. พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548.

เอกสารอ่านเพิ่มเติม

บรรหาร กำลา. บทวิเคราะห์การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. 51. หน้า 33 - 44.

สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. คำอธิบายพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548.

อ้างอิง

[1] บรรหาร กำลา, บทวิเคราะห์การบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 กับปัญหาความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ, จุลนิติ พ.ย. - ธ.ค. 51, หน้า 33.