ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การอดอาหาร"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ


 
 
บรรทัดที่ 12: บรรทัดที่ 12:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างกรณีการประท้วงด้วยการอดอาหารที่เกิดขึ้นในประเทศตะวันตกที่มีความสำคัญ ได้แก่ การอดอาหารของนักโทษในไอร์แลนด์เหนือ เมื่อปี ค.ศ. 1981 (The 1981 Irish hunger strike) จุดเริ่มต้นของการประท้วงมากจากข้อเรียกร้องที่ต้องการให้อังกฤษปฏิบัติต่อพวกเขาเยี่ยงนักโทษการเมือง และยุติพฤติกรรมอันเลวร้ายที่เข้าข่ายข่มขู่คุกคาม ซึ่งในช่วงแรกผู้ประท้วงได้ใช้วิธีการสวมเพียงแค่ผ้าห่มผืนเดียวแทนที่การสวมชุดนักโทษ ต่อมาการประท้วงเริ่มรุนแรงขึ้นและมีนักโทษจำนวนมากที่เข้าร่วมโดยผู้ประท้วงได้ใช้วิธีการทำสิ่งสกปรก เช่น การทิ้งเศษอาหารในห้องขัง รวมถึงการปาอุจจาระรอบ ๆ ห้องขัง เป็นต้น ส่งผลให้ความรุนแรงดังกล่าวเริ่มบานปลาย แต่ทางการอังกฤษภายใต้รัฐบาลของ '''นางมาร์กาเร็ต แท็ตเชอร์''' ยืนยันว่าจะไม่ประนีประนอมกับกลุ่มนักโทษ ส่งผลให้นักโทษกลุ่มหนึ่งยกระดับการประท้วงด้วยการอดอาหาร เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม&nbsp;ค.ศ. 1981 และสืบเนื่องมาเป็นเวลากว่า 2 เดือนทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากซึ่งหนึ่งในนั้น คือ '''บอบบี แซนด์ส (Bobby Sands)''' สมาชิกกลุ่มกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Irish Republican Army: IRA) ซึ่งได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของอังกฤษขณะถูกจำคุกอยู่ในเรือนจำ กระแสต่อต้านรัฐบาลอังกฤษก็เกิดขึ้นทั่วโลก<br/> ทั้งในยุโรป และสหรัฐอเมริกา โดยส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย ที่รัฐบาลไม่ยอมเจรจากับกลุ่มนักโทษ และนิ่งเฉยต่อการเสียชีวิตแม้ว่าจะมีหลายฝ่ายเรียกร้องให้เกิดการเจรจาก็ตาม[[#_ftn4|[4]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างกรณีการประท้วงด้วยการอดอาหารที่เกิดขึ้นในประเทศตะวันตกที่มีความสำคัญ ได้แก่ การอดอาหารของนักโทษในไอร์แลนด์เหนือ เมื่อปี ค.ศ. 1981 (The 1981 Irish hunger strike) จุดเริ่มต้นของการประท้วงมากจากข้อเรียกร้องที่ต้องการให้อังกฤษปฏิบัติต่อพวกเขาเยี่ยงนักโทษการเมือง และยุติพฤติกรรมอันเลวร้ายที่เข้าข่ายข่มขู่คุกคาม ซึ่งในช่วงแรกผู้ประท้วงได้ใช้วิธีการสวมเพียงแค่ผ้าห่มผืนเดียวแทนที่การสวมชุดนักโทษ ต่อมาการประท้วงเริ่มรุนแรงขึ้นและมีนักโทษจำนวนมากที่เข้าร่วมโดยผู้ประท้วงได้ใช้วิธีการทำสิ่งสกปรก เช่น การทิ้งเศษอาหารในห้องขัง รวมถึงการปาอุจจาระรอบ ๆ ห้องขัง เป็นต้น ส่งผลให้ความรุนแรงดังกล่าวเริ่มบานปลาย แต่ทางการอังกฤษภายใต้รัฐบาลของ '''นางมาร์กาเร็ต แท็ตเชอร์''' ยืนยันว่าจะไม่ประนีประนอมกับกลุ่มนักโทษ ส่งผลให้นักโทษกลุ่มหนึ่งยกระดับการประท้วงด้วยการอดอาหาร เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม&nbsp;ค.ศ. 1981 และสืบเนื่องมาเป็นเวลากว่า 2 เดือนทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากซึ่งหนึ่งในนั้น คือ '''บอบบี แซนด์ส (Bobby Sands)''' สมาชิกกลุ่มกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Irish Republican Army: IRA) ซึ่งได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของอังกฤษขณะถูกจำคุกอยู่ในเรือนจำ กระแสต่อต้านรัฐบาลอังกฤษก็เกิดขึ้นทั่วโลก<br/> ทั้งในยุโรป และสหรัฐอเมริกา โดยส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย ที่รัฐบาลไม่ยอมเจรจากับกลุ่มนักโทษ และนิ่งเฉยต่อการเสียชีวิตแม้ว่าจะมีหลายฝ่ายเรียกร้องให้เกิดการเจรจาก็ตาม[[#_ftn4|[4]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กรณีของไทยนั้น '''เรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร''' อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย เป็นผู้หนึ่งที่ใช้วิธีการอดอาหารเป็นแนวทางการต่อสู้ทางการเมืองมาอย่างยาวนาน โดยนับตั้งแต่การอดอาหารและน้ำเพื่อประท้วงรัฐบาล '''พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์''' เรื่องทุจริตโดยการกักตุนน้ำมัน ในปี พ.ศ. 2523&nbsp;การอดอาหารประท้วงรัฐบาล พลเอก[[เปรม_ติณสูลานนท์]] ที่นำแก้รัฐธรรมนูญให้ข้าราชการประจำเป็นนายกรัฐมนตรีได้ เมื่อปี พ.ศ. 2526 ต่อมาการอดอาหารของ&nbsp;'''ฉลาด วรฉัตร''' ถูกบันทึกไว้ในส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์การต่อสู้ช่วงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 ที่ประท้วงอดอาหารเพื่อเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง เช่นเดียวกับการอดอาหารประท้วงของ พลตรี[[จำลอง_ศรีเมือง]] เพื่อขับไล่ พลเอก[[สุจินดา_คราประยูร]][[#_ftn5|[5]]] และต่อมา '''ฉลาด วรฉัตร''' ได้อดอาหารประท้วงที่หน้ารัฐสภาอีกครั้งภายหลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 เป็นโมฆะ รวมทั้งประท้วงการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) [[#_ftn6|[6]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กรณีของไทยนั้น '''เรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร''' อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย เป็นผู้หนึ่งที่ใช้วิธีการอดอาหารเป็นแนวทางการต่อสู้ทางการเมืองมาอย่างยาวนาน โดยนับตั้งแต่การอดอาหารและน้ำเพื่อประท้วงรัฐบาล '''พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์''' เรื่องทุจริตโดยการกักตุนน้ำมัน ในปี พ.ศ. 2523&nbsp;การอดอาหารประท้วงรัฐบาล พลเอก[[เปรม_ติณสูลานนท์|เปรม_ติณสูลานนท์]] ที่นำแก้รัฐธรรมนูญให้ข้าราชการประจำเป็นนายกรัฐมนตรีได้ เมื่อปี พ.ศ. 2526 ต่อมาการอดอาหารของ&nbsp;'''ฉลาด วรฉัตร''' ถูกบันทึกไว้ในส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์การต่อสู้ช่วงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 ที่ประท้วงอดอาหารเพื่อเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง เช่นเดียวกับการอดอาหารประท้วงของ พลตรี[[จำลอง_ศรีเมือง|จำลอง_ศรีเมือง]] เพื่อขับไล่ พลเอก[[สุจินดา_คราประยูร|สุจินดา_คราประยูร]][[#_ftn5|[5]]] และต่อมา '''ฉลาด วรฉัตร''' ได้อดอาหารประท้วงที่หน้ารัฐสภาอีกครั้งภายหลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 เป็นโมฆะ รวมทั้งประท้วงการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) [[#_ftn6|[6]]]
 
&nbsp;


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้ยังมีการอดอาหารประท้วงโดยกลุ่มภาคประชาชน ดังเช่นปี พ.ศ. 2561 ชาวบ้านได้โดยรวมตัวกันภายใต้ชื่อ '''“เครือข่ายปกป้องสองฝั่งเลกระบี่-เทพา ยุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน”''' ได้ร่วมกันอดอาหารที่บริเวณที่ชุมนุมด้านข้างอาคารสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร พร้อมยื่นข้อเสนอว่า รัฐบาลจะต้องยกเลิกโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั้งสองพื้นที่ คือ ที่จังหวัดกระบี่ และอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จนมีผู้ประท้วงถูกพาส่งโรงพยาบาลหลายคน จนกระทั่งในเวลาต่อมากระทรวงพลังงานและตัวแทนจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ขอเจรจากับเครือข่ายฯ และลงนามในบันทึกข้อตกลงโดยมีเงื่อนไขหลัก คือ ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตถอนรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ของโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาและกระบี่ และให้กระทรวงพลังงานจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางยุทธศาสตร์ (SEA) เพื่อศึกษาว่าพื้นที่จังหวัดกระบี่และอำเภอเทพา จังหวัดสงขลามีความเหมาะสมในการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินหรือไม่ เป็นต้น[[#_ftn7|[7]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นอกจากนี้ยังมีการอดอาหารประท้วงโดยกลุ่มภาคประชาชน ดังเช่นปี พ.ศ. 2561 ชาวบ้านได้โดยรวมตัวกันภายใต้ชื่อ '''“เครือข่ายปกป้องสองฝั่งเลกระบี่-เทพา ยุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน”''' ได้ร่วมกันอดอาหารที่บริเวณที่ชุมนุมด้านข้างอาคารสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร พร้อมยื่นข้อเสนอว่า รัฐบาลจะต้องยกเลิกโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั้งสองพื้นที่ คือ ที่จังหวัดกระบี่ และอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จนมีผู้ประท้วงถูกพาส่งโรงพยาบาลหลายคน จนกระทั่งในเวลาต่อมากระทรวงพลังงานและตัวแทนจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ขอเจรจากับเครือข่ายฯ และลงนามในบันทึกข้อตกลงโดยมีเงื่อนไขหลัก คือ ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตถอนรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ของโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาและกระบี่ และให้กระทรวงพลังงานจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางยุทธศาสตร์ (SEA) เพื่อศึกษาว่าพื้นที่จังหวัดกระบี่และอำเภอเทพา จังหวัดสงขลามีความเหมาะสมในการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินหรือไม่ เป็นต้น[[#_ftn7|[7]]]
บรรทัดที่ 23: บรรทัดที่ 21:


&nbsp;
&nbsp;
<p style="text-align: center;">[[File:Fasting protest.png]]</p>  
<p style="text-align: center;">[[File:Fasting protest.png|RTENOTITLE]]</p>  
&nbsp;
&nbsp;


บรรทัดที่ 32: บรรทัดที่ 30:
<span style="font-size:x-large;">'''ข้อมูลเพิ่มเติม'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''ข้อมูลเพิ่มเติม'''</span>


ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2564). “สันติวิธี อดอาหารประท้วง”. สืบค้นจาก&nbsp; &nbsp;http://www.polsci.tu.ac.th/direk/
ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2564). “สันติวิธี อดอาหารประท้วง”. สืบค้นจาก&nbsp; &nbsp;[http://www.polsci.tu.ac.th/direk/ http://www.polsci.tu.ac.th/direk/]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; view.aspx?id=498&fbclid=IwAR2Ktlyp0LPlPIJMhpK6x_G2zz5kvjHFn37MWYg47_skxBAmB9C
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; view.aspx?id=498&fbclid=IwAR2Ktlyp0LPlPIJMhpK6x_G2zz5kvjHFn37MWYg47_skxBAmB9C
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 38:
ธรรมชาติ กรีอักษร.(2559).“ว่าด้วยการอดอาหารประท้วงของ ไผ่ ดาวดิน: ข้อสังเกตจากนักเรียนสันติวิธี”. สืบค้น
ธรรมชาติ กรีอักษร.(2559).“ว่าด้วยการอดอาหารประท้วงของ ไผ่ ดาวดิน: ข้อสังเกตจากนักเรียนสันติวิธี”. สืบค้น


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จาก https://prachatai.com/journal/2016/08/67517(29 กรกฎาคม 2564).
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จาก [https://prachatai.com/journal/2016/08/67517(29 https://prachatai.com/journal/2016/08/67517(29] กรกฎาคม 2564).


“ราษฎร : ย้อนรอยอดอาหารประท้วง จากคานธี สู่ นักโทษไออาร์เอ เพนกวิน รุ้ง และฝ่ายค้านรัสเซีย” . สืบค้น
“ราษฎร&nbsp;: ย้อนรอยอดอาหารประท้วง จากคานธี สู่ นักโทษไออาร์เอ เพนกวิน รุ้ง และฝ่ายค้านรัสเซีย” . สืบค้น


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จาก https://www.khaosod.co.th/bbc-thai/news_6360687(29 กรกฎาคม 2564).
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; จาก [https://www.khaosod.co.th/bbc-thai/news_6360687(29 https://www.khaosod.co.th/bbc-thai/news_6360687(29] กรกฎาคม 2564).
<div>
<div>
&nbsp;
&nbsp;
บรรทัดที่ 50: บรรทัดที่ 48:
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>'''
'''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>'''
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] ดูคำอธิบายและการนำเสนอการอดอาหารประท้วงในระหว่างปี ค.ศ.1906-2004 ด้วยมุมมองเชิงเปรียบเทียบในการใช้วิธีนี้ในฐานะปฎิบัติการไร้ความรุนแรงได้ใน Scanlan, S.J., Cooper Stoll, L. and Lumm, K. (2008), "Starving for change: The hunger strike and nonviolent action, 1906–2004", Coy, P.G. (Ed.) '''Research in Social Movements, Conflicts and Change''' (Research in Social Movements, Conflicts and Change, Vol. 28), (Bingley : Emerald Group Publishing Limited),&nbsp; pp. 275-323.
[[#_ftnref1|[1]]] ดูคำอธิบายและการนำเสนอการอดอาหารประท้วงในระหว่างปี ค.ศ.1906-2004 ด้วยมุมมองเชิงเปรียบเทียบในการใช้วิธีนี้ในฐานะปฎิบัติการไร้ความรุนแรงได้ใน Scanlan, S.J., Cooper Stoll, L. and Lumm, K. (2008), "Starving for change: The hunger strike and nonviolent action, 1906–2004", Coy, P.G. (Ed.) '''Research in Social Movements, Conflicts and Change''' (Research in Social Movements, Conflicts and Change, Vol. 28), (Bingley&nbsp;: Emerald Group Publishing Limited),&nbsp; pp. 275-323.
</div> <div id="ftn2">
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] เพราะมีเหตุผล จึงมีคนอดอาหารประท้วงในหลายประเทศทั่วโลก https://theopener.co.th/node/122
[[#_ftnref2|[2]]] เพราะมีเหตุผล จึงมีคนอดอาหารประท้วงในหลายประเทศทั่วโลก [https://theopener.co.th/node/122 https://theopener.co.th/node/122]
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] “สตรีอินเดียที่อดอาหารประท้วงนาน16 ปี ยุติการประท้วงแล้วหลังศาลให้ประกันตัว ”,สืบค้นจาก&nbsp; http://www.js100.com/en/site/ news/view/ 28484 (29 กรกฎาคม 2564) และดูการตีความการอดอาหารประท้วงครั้งนี้ ได้ใน Namrata Gaikwad, (2009), “Revolting bodies, hysterical state: women protesting the Armed Forces Special Powers Act (1958)”, '''Contemporary South Asia''', 17:3, 299-311.
[[#_ftnref3|[3]]] “สตรีอินเดียที่อดอาหารประท้วงนาน16 ปี ยุติการประท้วงแล้วหลังศาลให้ประกันตัว ”,สืบค้นจาก&nbsp; [http://www.js100.com/en/site/ http://www.js100.com/en/site/] news/view/ 28484 (29 กรกฎาคม 2564) และดูการตีความการอดอาหารประท้วงครั้งนี้ ได้ใน Namrata Gaikwad, (2009), “Revolting bodies, hysterical state: women protesting the Armed Forces Special Powers Act (1958)”, '''Contemporary South Asia''', 17:3, 299-311.
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] “กรณีศึกษาการอดอาหารประท้วงในไอร์แลนด์เหนือ ”,สืบค้นจาก https://www.voicetv.co.th/read/30780(29 กรกฎาคม 2564) และ “Timeline of 1981 hunger strike”, Retrieved from URL https://www.irishtimes.com/culture/books/timeline-of-1981-hunger-strike-1.2555682(29 July 2021).
[[#_ftnref4|[4]]] “กรณีศึกษาการอดอาหารประท้วงในไอร์แลนด์เหนือ ”,สืบค้นจาก [https://www.voicetv.co.th/read/30780(29 https://www.voicetv.co.th/read/30780(29] กรกฎาคม 2564) และ “Timeline of 1981 hunger strike”, Retrieved from URL [https://www.irishtimes.com/culture/books/timeline-of-1981-hunger-strike-1.2555682(29 https://www.irishtimes.com/culture/books/timeline-of-1981-hunger-strike-1.2555682(29] July 2021).
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] “บทความพิเศษ : ความจริงที่หายไปในพฤษภา’35 (ตอน8) ”,สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/culture/article_ 10668 (29 กรกฎาคม 2564).
[[#_ftnref5|[5]]] “บทความพิเศษ&nbsp;: ความจริงที่หายไปในพฤษภา’35 (ตอน8) ”,สืบค้นจาก [https://www.matichonweekly.com/culture/article_ https://www.matichonweekly.com/culture/article_] 10668 (29 กรกฎาคม 2564).
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน “แพทย์เข้าตรวจอาการ ‘ฉลาด วรฉัตร’ หลังอดอาหารต่อเนื่องเป็นวันที่ 15”, สืบค้นจาก &nbsp;https://www. hfocus.org/content/2014/06/7352 (29 กรกฎาคม 2564) และ เฉลิมวุฒิ แก่นเวียงรัตน์, 2539, '''การเรียกร้องทางการเมืองต่อรัฐบาลนายชวน หลีกภัย : ศึกษาเฉพาะกรณีการอดอาหารประท้วงของเรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร''', (เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
[[#_ftnref6|[6]]] ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน “แพทย์เข้าตรวจอาการ ‘ฉลาด วรฉัตร’ หลังอดอาหารต่อเนื่องเป็นวันที่ 15”, สืบค้นจาก &nbsp;[https://www https://www]. hfocus.org/content/2014/06/7352 (29 กรกฎาคม 2564) และ เฉลิมวุฒิ แก่นเวียงรัตน์, 2539, '''การเรียกร้องทางการเมืองต่อรัฐบาลนายชวน หลีกภัย&nbsp;: ศึกษาเฉพาะกรณีการอดอาหารประท้วงของเรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร''', (เชียงใหม่&nbsp;: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] “อ่านเหตุการณ์การเมืองยุค คสช. ผ่านการอดอาหารประท้วง”,สืบค้นจาก https://freedom.ilaw.or.th/node/649(29 กรกฎาคม 2564).
[[#_ftnref7|[7]]] “อ่านเหตุการณ์การเมืองยุค คสช. ผ่านการอดอาหารประท้วง”,สืบค้นจาก [https://freedom.ilaw.or.th/node/649(29 https://freedom.ilaw.or.th/node/649(29] กรกฎาคม 2564).
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] “ถูกจับก็ยอม! กลุ่มต่อต้านโรงไฟฟ้าถ่านหินฮึ่มบุกทำเนียบฯพรุ่งนี้”,สืบค้นจาก https://www.naewna.com/local/321816(29 กรกฎาคม 2564).
[[#_ftnref8|[8]]] “ถูกจับก็ยอม! กลุ่มต่อต้านโรงไฟฟ้าถ่านหินฮึ่มบุกทำเนียบฯพรุ่งนี้”,สืบค้นจาก [https://www.naewna.com/local/321816(29 https://www.naewna.com/local/321816(29] กรกฎาคม 2564).
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] “เทียบคานธี'เพนกวิน-รุ้ง'เลิกอดอาหาร”,สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/scoop/463919(29 กรกฎาคม 2564).
[[#_ftnref9|[9]]] “เทียบคานธี'เพนกวิน-รุ้ง'เลิกอดอาหาร”,สืบค้นจาก [https://www.komchadluek.net/news/scoop/463919(29 https://www.komchadluek.net/news/scoop/463919(29] กรกฎาคม 2564).
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] “ไทม์ไลน์ 'อดข้าว'ประท้วง 57 วันเดิมพัน 'เพนกวิน'”,สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/937465(29 กรกฎาคม 2564).
[[#_ftnref10|[10]]] “ไทม์ไลน์ 'อดข้าว'ประท้วง 57 วันเดิมพัน 'เพนกวิน'”,สืบค้นจาก [https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/937465(29 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/937465(29] กรกฎาคม 2564).
</div> </div>  
</div> </div>  
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]][[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]]
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] [[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:15, 1 เมษายน 2565

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

          การอดอาหารประท้วง (Hunger Strike) เป็นวิถีทางในการต่อสู้และปฎิบัติการไร้ความรุนแรงที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนานในความพยายามที่จะบรรลุผลซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคม อีกทั้งยังถูกนำมาใช้ในฐานะยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อทำให้เจ้าหน้าที่หรือผู้มีอำนาจรัฐเกิดความละอาย และเรียกร้องให้สาธารณชนสนใจประเด็นปัญหาหรือความอยุติธรรมที่เกิดขึ้น โดยผลที่เกิดขึ้นสามารถสั่นคลอนรัฐและผู้มีอำนาจ รวมทั้งปลุกกระแสสังคมได้ ซึ่งปรากฏอยู่ในการต่อสู้ทั้งจากปัจเจกบุคคลและขบวนการเคลื่อนไหวทั่วโลก[1]

          การอดอาหารประท้วงที่เป็นรู้จักกันมากที่สุดในประวัติศาสตร์โลกกระทำโดย มหาตมะ คานธี (Mahatma Gandhi) ซึ่งใช้วิธีอดอาหารประท้วงรวม 18 ครั้งตลอดชีวิตของการรณรงค์เคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชนและต่อสู้เพื่อเอกราชของอินเดียจากการเป็นอาณานิคมของอังกฤษตามแนวทางสันติวิธี โดยระยะเวลาที่คานธีอดอาหารนานที่สุด คือ 21 วัน ขณะที่ระยะเวลาสั้นที่สุด คือ 1 วัน อย่างไรก็ตาม การอดอาหารประท้วงในอินเดียครั้งสำคัญเกิดขึ้นอีกครั้งในฐานะการอดอาหารประท้วงนานที่สุดในโลก[2] เมื่อ อิรอม ชาร์มิลา (Irom Sharmila) นักเคลื่อนไหวทางการเมืองหญิงอดอาหารประท้วงเพื่อต่อต้านกฎหมายความมั่นคงซึ่งให้อำนาจแก่เจ้าหน้าที่รัฐบาลกลางเข้าควบคุมพื้นที่ในบางรัฐ (The Armed Forces (Special Powers) Act, 1958 หรือ AFSPA) ซึ่งให้ทหารมีอำนาจเข้าตรวจค้นอาคารบ้านเรือนของประชาชนจับกุมผู้ต้องสงสัยได้โดยไม่มีหมายศาล แม้กระทั่งการยิงผู้ต้องสงสัยได้ทันทีในกรณีพบเห็นการทำความผิดเฉพาะหน้า ชาร์มิลาเริ่มเริ่มอดอาหารประท้วงมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 ซึ่งรัฐบาลอินเดียตอบโต้ด้วยการดำเนินคดีเธอด้วยข้อหา “พยายามฆ่าตัวตายด้วยการอดอาหาร” ถึง 14 ครั้งและบังคับให้อาหารทางสายยางเพื่อรักษาชีวิตของเธอมาเป็นเวลานานกว่า 10 ปี ทั้งนี้ การต่อสู้เชิงสัญลักษณ์ของชาร์มิลา ทำให้เธอได้รับรางวัลด้านสิทธิมนุษยชนจากหลายองค์กร อาทิ The 2007 Gwangju Prize for Human Rights เป็นต้น ทั้งยังได้รับการยกย่องว่าเป็น “หญิงเหล็กแห่งมานิปูร์ (Iron Lady of Manipur)” การอดอาหารของเธอได้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 2017 เมื่อศาลอินเดียวินิจฉัยให้เธอได้รับการประกันตัวโดยมีเงื่อนไขให้ยุติการอดอาหารประท้วงซึ่งเป็นระยะเวลาถึง 16 ปี[3]

          นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างกรณีการประท้วงด้วยการอดอาหารที่เกิดขึ้นในประเทศตะวันตกที่มีความสำคัญ ได้แก่ การอดอาหารของนักโทษในไอร์แลนด์เหนือ เมื่อปี ค.ศ. 1981 (The 1981 Irish hunger strike) จุดเริ่มต้นของการประท้วงมากจากข้อเรียกร้องที่ต้องการให้อังกฤษปฏิบัติต่อพวกเขาเยี่ยงนักโทษการเมือง และยุติพฤติกรรมอันเลวร้ายที่เข้าข่ายข่มขู่คุกคาม ซึ่งในช่วงแรกผู้ประท้วงได้ใช้วิธีการสวมเพียงแค่ผ้าห่มผืนเดียวแทนที่การสวมชุดนักโทษ ต่อมาการประท้วงเริ่มรุนแรงขึ้นและมีนักโทษจำนวนมากที่เข้าร่วมโดยผู้ประท้วงได้ใช้วิธีการทำสิ่งสกปรก เช่น การทิ้งเศษอาหารในห้องขัง รวมถึงการปาอุจจาระรอบ ๆ ห้องขัง เป็นต้น ส่งผลให้ความรุนแรงดังกล่าวเริ่มบานปลาย แต่ทางการอังกฤษภายใต้รัฐบาลของ นางมาร์กาเร็ต แท็ตเชอร์ ยืนยันว่าจะไม่ประนีประนอมกับกลุ่มนักโทษ ส่งผลให้นักโทษกลุ่มหนึ่งยกระดับการประท้วงด้วยการอดอาหาร เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 1981 และสืบเนื่องมาเป็นเวลากว่า 2 เดือนทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมากซึ่งหนึ่งในนั้น คือ บอบบี แซนด์ส (Bobby Sands) สมาชิกกลุ่มกองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ (Irish Republican Army: IRA) ซึ่งได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของอังกฤษขณะถูกจำคุกอยู่ในเรือนจำ กระแสต่อต้านรัฐบาลอังกฤษก็เกิดขึ้นทั่วโลก
ทั้งในยุโรป และสหรัฐอเมริกา โดยส่วนใหญ่ไม่เห็นด้วย ที่รัฐบาลไม่ยอมเจรจากับกลุ่มนักโทษ และนิ่งเฉยต่อการเสียชีวิตแม้ว่าจะมีหลายฝ่ายเรียกร้องให้เกิดการเจรจาก็ตาม[4]

          กรณีของไทยนั้น เรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและนักต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย เป็นผู้หนึ่งที่ใช้วิธีการอดอาหารเป็นแนวทางการต่อสู้ทางการเมืองมาอย่างยาวนาน โดยนับตั้งแต่การอดอาหารและน้ำเพื่อประท้วงรัฐบาล พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เรื่องทุจริตโดยการกักตุนน้ำมัน ในปี พ.ศ. 2523 การอดอาหารประท้วงรัฐบาล พลเอกเปรม_ติณสูลานนท์ ที่นำแก้รัฐธรรมนูญให้ข้าราชการประจำเป็นนายกรัฐมนตรีได้ เมื่อปี พ.ศ. 2526 ต่อมาการอดอาหารของ ฉลาด วรฉัตร ถูกบันทึกไว้ในส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์การต่อสู้ช่วงเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ พ.ศ. 2535 ที่ประท้วงอดอาหารเพื่อเรียกร้องให้นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้ง เช่นเดียวกับการอดอาหารประท้วงของ พลตรีจำลอง_ศรีเมือง เพื่อขับไล่ พลเอกสุจินดา_คราประยูร[5] และต่อมา ฉลาด วรฉัตร ได้อดอาหารประท้วงที่หน้ารัฐสภาอีกครั้งภายหลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 เป็นโมฆะ รวมทั้งประท้วงการรัฐประหารของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) [6]

          นอกจากนี้ยังมีการอดอาหารประท้วงโดยกลุ่มภาคประชาชน ดังเช่นปี พ.ศ. 2561 ชาวบ้านได้โดยรวมตัวกันภายใต้ชื่อ “เครือข่ายปกป้องสองฝั่งเลกระบี่-เทพา ยุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน” ได้ร่วมกันอดอาหารที่บริเวณที่ชุมนุมด้านข้างอาคารสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร พร้อมยื่นข้อเสนอว่า รัฐบาลจะต้องยกเลิกโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินทั้งสองพื้นที่ คือ ที่จังหวัดกระบี่ และอำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จนมีผู้ประท้วงถูกพาส่งโรงพยาบาลหลายคน จนกระทั่งในเวลาต่อมากระทรวงพลังงานและตัวแทนจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตได้ขอเจรจากับเครือข่ายฯ และลงนามในบันทึกข้อตกลงโดยมีเงื่อนไขหลัก คือ ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตถอนรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ของโรงไฟฟ้าถ่านหินเทพาและกระบี่ และให้กระทรวงพลังงานจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบทางยุทธศาสตร์ (SEA) เพื่อศึกษาว่าพื้นที่จังหวัดกระบี่และอำเภอเทพา จังหวัดสงขลามีความเหมาะสมในการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินหรือไม่ เป็นต้น[7]

 

ภาพ การอดอาหารประท้วงของเครือข่ายปกป้องสองฝั่งทะเลกระบี่-เทพายุติโรงไฟฟ้าถ่านหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561[8]

 

RTENOTITLE

 

          อย่างไรก็ดี การอดอาหารประท้วงในประเทศไทยภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งในช่วง พ.ศ. 2563-2564 ได้รับความสนใจจากสาธารณชนและเป็นประเด็นถกเถียงด้านการต่อสู้ทางการเมืองอย่างกว้างขวาง เมื่อนายพริษฐ์ ชิวารักษ์ หรือ เพนกวิน แกนนำกลุ่มราษฎรประกาศอดอาหารเพื่อเรียกร้องสิทธิการประกันตัวเพื่อต่อสู้คดี จากการที่ศาลไม่อนุญาตปล่อยชั่วคราวภายใต้ความพยายามในการยื่นขอประกันตัวหลายครั้ง โดยการประท้วงอดอาหารของพริษฐ์ เริ่มต้นตั้งวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งการประท้วงอดอาหารในครั้งนี้มีผู้ต้องหาคดีการเมืองคนอื่น ๆ ร่วมอดอาหารด้วย ได้แก่ นางสาวปนัสยา สิทธิจิรวัฒนกุล หรือ รุ้ง แกนนำกลุ่มราษฎร เป็นต้น ท่ามกลางความกดดันต่อรัฐบาลและการเรียกร้องของมวลชนฝ่ายประชาธิปไตยที่ขอให้พวกเขายุติการอดอาหารเพื่อรักษาชีวิตไว้ แม้ความยุติธรรมยังมาไม่ถึง[9] ทั้งนี้การประท้วงอดอาหารได้สิ้นสุดลงในวันที่ศาลอาญาอนุญาตปล่อยตัวชั่วคราวเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 รวมเวลา 57 วัน[10]

 

ข้อมูลเพิ่มเติม

ชัยวัฒน์ สถาอานันท์. (2564). “สันติวิธี อดอาหารประท้วง”. สืบค้นจาก   http://www.polsci.tu.ac.th/direk/

          view.aspx?id=498&fbclid=IwAR2Ktlyp0LPlPIJMhpK6x_G2zz5kvjHFn37MWYg47_skxBAmB9C

          0rnZtXTU (29 กรกฎาคม 2564).

ธรรมชาติ กรีอักษร.(2559).“ว่าด้วยการอดอาหารประท้วงของ ไผ่ ดาวดิน: ข้อสังเกตจากนักเรียนสันติวิธี”. สืบค้น

          จาก https://prachatai.com/journal/2016/08/67517(29 กรกฎาคม 2564).

“ราษฎร : ย้อนรอยอดอาหารประท้วง จากคานธี สู่ นักโทษไออาร์เอ เพนกวิน รุ้ง และฝ่ายค้านรัสเซีย” . สืบค้น

          จาก https://www.khaosod.co.th/bbc-thai/news_6360687(29 กรกฎาคม 2564).

 

อ้างอิง

[1] ดูคำอธิบายและการนำเสนอการอดอาหารประท้วงในระหว่างปี ค.ศ.1906-2004 ด้วยมุมมองเชิงเปรียบเทียบในการใช้วิธีนี้ในฐานะปฎิบัติการไร้ความรุนแรงได้ใน Scanlan, S.J., Cooper Stoll, L. and Lumm, K. (2008), "Starving for change: The hunger strike and nonviolent action, 1906–2004", Coy, P.G. (Ed.) Research in Social Movements, Conflicts and Change (Research in Social Movements, Conflicts and Change, Vol. 28), (Bingley : Emerald Group Publishing Limited),  pp. 275-323.

[2] เพราะมีเหตุผล จึงมีคนอดอาหารประท้วงในหลายประเทศทั่วโลก https://theopener.co.th/node/122

[3] “สตรีอินเดียที่อดอาหารประท้วงนาน16 ปี ยุติการประท้วงแล้วหลังศาลให้ประกันตัว ”,สืบค้นจาก  http://www.js100.com/en/site/ news/view/ 28484 (29 กรกฎาคม 2564) และดูการตีความการอดอาหารประท้วงครั้งนี้ ได้ใน Namrata Gaikwad, (2009), “Revolting bodies, hysterical state: women protesting the Armed Forces Special Powers Act (1958)”, Contemporary South Asia, 17:3, 299-311.

[4] “กรณีศึกษาการอดอาหารประท้วงในไอร์แลนด์เหนือ ”,สืบค้นจาก https://www.voicetv.co.th/read/30780(29 กรกฎาคม 2564) และ “Timeline of 1981 hunger strike”, Retrieved from URL https://www.irishtimes.com/culture/books/timeline-of-1981-hunger-strike-1.2555682(29 July 2021).

[5] “บทความพิเศษ : ความจริงที่หายไปในพฤษภา’35 (ตอน8) ”,สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/culture/article_ 10668 (29 กรกฎาคม 2564).

[6] ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน “แพทย์เข้าตรวจอาการ ‘ฉลาด วรฉัตร’ หลังอดอาหารต่อเนื่องเป็นวันที่ 15”, สืบค้นจาก  https://www. hfocus.org/content/2014/06/7352 (29 กรกฎาคม 2564) และ เฉลิมวุฒิ แก่นเวียงรัตน์, 2539, การเรียกร้องทางการเมืองต่อรัฐบาลนายชวน หลีกภัย : ศึกษาเฉพาะกรณีการอดอาหารประท้วงของเรืออากาศตรีฉลาด วรฉัตร, (เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่).

[7] “อ่านเหตุการณ์การเมืองยุค คสช. ผ่านการอดอาหารประท้วง”,สืบค้นจาก https://freedom.ilaw.or.th/node/649(29 กรกฎาคม 2564).

[8] “ถูกจับก็ยอม! กลุ่มต่อต้านโรงไฟฟ้าถ่านหินฮึ่มบุกทำเนียบฯพรุ่งนี้”,สืบค้นจาก https://www.naewna.com/local/321816(29 กรกฎาคม 2564).

[9] “เทียบคานธี'เพนกวิน-รุ้ง'เลิกอดอาหาร”,สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/scoop/463919(29 กรกฎาคม 2564).

[10] “ไทม์ไลน์ 'อดข้าว'ประท้วง 57 วันเดิมพัน 'เพนกวิน'”,สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/937465(29 กรกฎาคม 2564).