ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มแดงอิสระ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง :''' ฐิติกร สังข์แก้ว '''ผู้ทรงคุณวุ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง :''' ฐิติกร สังข์แก้ว
 
'''ผู้เรียบเรียง :''' ฐิติกร สังข์แก้ว
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----


 


== ความนำ ==
== ความนำ ==


รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถือเป็นเหตุการณ์ที่นำความแตกร้าวมาสู่สังคมเมืองไทยอย่างร้ายแรง ถือเป็นจุดเริ่มต้น (point of departure) ของความสงสัย-ไม่เข้าใจ-ไม่พอใจของ “คนเสื้อแดง” หรือแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ภายหลังจากการทำรัฐประหารสำเร็จ และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ได้จัดตั้งรัฐบาลขึ้นบริหารประเทศ โดยมี พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และจัดให้มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เมื่อมีการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช เข้าบริหารประเทศได้ไม่นาน “กลุ่มเสื้อเหลือง” หรือพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยก็เริ่มเคลื่อนไหวประท้วงต่อเนื่องยาวนานกว่า 193 วัน ด้วยยุทธศาสตร์ยึดทำเนียบรัฐบาลและปิดสนามบินสุวรรณภูมิ ขณะเดียวกันเกิดการฟ้องร้องให้มีการยุบพรรคการเมืองจำนวนหลายพรรค จนสร้างความไม่พอใจให้กับนักการเมืองและประชาชนคนเสื้อแดงอย่างมาก<ref>ผลการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้นายสมัคร สุนทรเวชต้องพ้นจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญลงมติเอกฉันท์ว่า นายสมัคร มีความผิดตาม มาตรา 267 และ มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) จึงวินิจฉัยว่าผู้ถูกร้องสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีเฉพาะตัว เมื่อความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญมาตรา 182 จึงเป็นเหตุให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 180 วรรค 1 (1)) แต่รัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรีที่เหลือยังอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ารัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 181)</ref>  
[[รัฐประหาร_19_กันยายน_2549]] ถือเป็นเหตุการณ์ที่นำความแตกร้าวมาสู่สังคมเมืองไทยอย่างร้ายแรง ถือเป็นจุดเริ่มต้น (point of departure) ของความสงสัย-ไม่เข้าใจ-ไม่พอใจของ “คนเสื้อแดง” หรือแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ภายหลังจากการทำรัฐประหารสำเร็จ และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ได้จัดตั้งรัฐบาลขึ้นบริหารประเทศ โดยมี พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และจัดให้มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เมื่อมีการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช เข้าบริหารประเทศได้ไม่นาน “กลุ่มเสื้อเหลือง” หรือพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยก็เริ่มเคลื่อนไหวประท้วงต่อเนื่องยาวนานกว่า 193 วัน ด้วยยุทธศาสตร์ยึดทำเนียบรัฐบาลและปิดสนามบินสุวรรณภูมิ ขณะเดียวกันเกิดการฟ้องร้องให้มีการยุบพรรคการเมืองจำนวนหลายพรรค จนสร้างความไม่พอใจให้กับนักการเมืองและประชาชนคนเสื้อแดงอย่างมาก<ref>ผลการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้นายสมัคร สุนทรเวชต้องพ้นจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญลงมติเอกฉันท์ว่า นายสมัคร มีความผิดตาม มาตรา 267 และ มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) จึงวินิจฉัยว่าผู้ถูกร้องสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีเฉพาะตัว เมื่อความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญมาตรา 182 จึงเป็นเหตุให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 180 วรรค 1 (1)) แต่รัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรีที่เหลือยังอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ารัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 181)</ref>
 
จากสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายและการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องภายหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ได้เกิดปรากฎการณ์ที่คนเสื้อแดงเรียกว่า “สองมาตรฐาน” เป็นความอยุติธรรมทางการเมือง จากนั้นความไม่พอใจเหล่านี้ก็ได้ถูกพัฒนาเป็นวาทกรรม “ไพร่-อำมาตย์” เพื่อเป็นจุดยืนที่ใช้ในการเคลื่อนไหวรณรงค์ทางการเมืองของคนเสื้อแดง กล่าวได้ว่า เหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถือเป็นการจุดชนวน “ความเป็นเสื้อแดง” อย่างไรก็ตาม เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทว่าการเลือกปฏิบัติและ “สองมาตรฐาน” ยังคงดำรงอยู่ กอปรกับการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนเสื้อแดงที่มีจุดยืนที่แตกต่างกันในหลายเรื่องตั้งแต่ต้น ทั้งเรื่องเป้าหมาย วิธีการ และมุมมองต่อสถานการณ์ทางการเมือง ก็ยิ่งขับเน้นให้เกิดความหลากหลายภายใต้กลุ่มใหญ่ที่เรียกว่า “กลุ่มคนเสื้อแดง” โดยเฉพาะภายหลังการปราบปรามการประท้วงของคนเสื้อแดง ที่เรียกว่า “กระชับพื้นที่” เมื่อเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม 2553 <ref>อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย (เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556), หน้า 47. </ref>
จากสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายและการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องภายหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ได้เกิดปรากฎการณ์ที่คนเสื้อแดงเรียกว่า “สองมาตรฐาน” เป็นความอยุติธรรมทางการเมือง จากนั้นความไม่พอใจเหล่านี้ก็ได้ถูกพัฒนาเป็นวาทกรรม “ไพร่-อำมาตย์” เพื่อเป็นจุดยืนที่ใช้ในการเคลื่อนไหวรณรงค์ทางการเมืองของคนเสื้อแดง กล่าวได้ว่า เหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถือเป็นการจุดชนวน “ความเป็นเสื้อแดง” อย่างไรก็ตาม เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทว่าการเลือกปฏิบัติและ “สองมาตรฐาน” ยังคงดำรงอยู่ กอปรกับการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนเสื้อแดงที่มีจุดยืนที่แตกต่างกันในหลายเรื่องตั้งแต่ต้น ทั้งเรื่องเป้าหมาย วิธีการ และมุมมองต่อสถานการณ์ทางการเมือง ก็ยิ่งขับเน้นให้เกิดความหลากหลายภายใต้กลุ่มใหญ่ที่เรียกว่า “กลุ่มคนเสื้อแดง” โดยเฉพาะภายหลังการปราบปรามการประท้วงของคนเสื้อแดง ที่เรียกว่า “กระชับพื้นที่” เมื่อเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม 2553 <ref>อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย (เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556), หน้า 47. </ref>


&nbsp;


== ใครคือคนเสื้อแดง ใครคือกลุ่มแดงอิสระ ==
== ใครคือคนเสื้อแดง ใครคือกลุ่มแดงอิสระ ==


ภายหลังจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าคณะ ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร (ยศในขณะนั้น) “คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ก็แปลงสภาพเป็น “คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ” (คมช. หรือ Council of National Security - CNS) และเข้าบริหารประเทศ อันก่อให้เกิดสถานการณ์การบริหารประเทศและบังคับใช้กฎหมายซึ่งเบี่ยงเบนไปจากหลักนิติรัฐและประชาธิปไตยสากล โดยอาศัยหลักการและมาตรฐานอย่างหนึ่งถูกใช้บังคับกับคนกลุ่มหนึ่ง ขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งกลับไม่ถูกปรับบังคับใช้อย่างไม่เป็นธรรม ทำให้เกิดสภาวะที่กลุ่มคนเสื้อแดงเรียกกันภายหลังว่า “สองมาตรฐาน” แม้คำว่า “สองมาตรฐาน” จะไม่ปรากฏอยู่ในบัญญัติของกฎหมายต่างๆ เท่าที่มีอยู่ แต่จะมีถ้อยคำที่ใกล้เคียงกัน คือ คำว่า “เลือกปฏิบัติ” ซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 30 วรรคสาม ที่ได้บัญญัติว่า “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางด้านเศรษฐกิจหรือสังคมความเชื่อทางศาสนาการศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิได้” ทั้งนี้ “สองมาตรฐาน” ที่สร้างไม่พอใจให้กับคนเสื้อแดงและใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงทศวรรษที่ผ่านก็สื่อความหมายถึงการได้รับการปฏิบัติจากผู้มีอำนาจแตกต่างกันอันเป็นความไม่ถูกต้อง ดังตัวอย่างเช่น  
ภายหลังจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าคณะ ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร (ยศในขณะนั้น) “คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ก็แปลงสภาพเป็น “คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ” (คมช. หรือ Council of National Security - CNS) และเข้าบริหารประเทศ อันก่อให้เกิดสถานการณ์การบริหารประเทศและบังคับใช้กฎหมายซึ่งเบี่ยงเบนไปจากหลักนิติรัฐและประชาธิปไตยสากล โดยอาศัยหลักการและมาตรฐานอย่างหนึ่งถูกใช้บังคับกับคนกลุ่มหนึ่ง ขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งกลับไม่ถูกปรับบังคับใช้อย่างไม่เป็นธรรม ทำให้เกิดสภาวะที่กลุ่มคนเสื้อแดงเรียกกันภายหลังว่า “สองมาตรฐาน” แม้คำว่า “สองมาตรฐาน” จะไม่ปรากฏอยู่ในบัญญัติของกฎหมายต่างๆ เท่าที่มีอยู่ แต่จะมีถ้อยคำที่ใกล้เคียงกัน คือ คำว่า “เลือกปฏิบัติ” ซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 30 วรรคสาม ที่ได้บัญญัติว่า “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางด้านเศรษฐกิจหรือสังคมความเชื่อทางศาสนาการศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิได้” ทั้งนี้ “สองมาตรฐาน” ที่สร้างไม่พอใจให้กับคนเสื้อแดงและใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงทศวรรษที่ผ่านก็สื่อความหมายถึงการได้รับการปฏิบัติจากผู้มีอำนาจแตกต่างกันอันเป็นความไม่ถูกต้อง ดังตัวอย่างเช่น


'''1) กฎหมายฉบับเดียวกันแต่มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน''' กรณีเมื่อสองกลุ่มทางการเมืองประท้วงและเข้าการยึดสถานที่ราชการเหมือนกัน แต่การดำเนินคดีของทั้งสองกลุ่มแตกต่างกัน เช่น บางกลุ่มเพียงแค่ออก “หมายเรียก” แต่ขณะอีกกลุ่มอาจมีการออก “หมายจับ”  
'''1) กฎหมายฉบับเดียวกันแต่มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน''' กรณีเมื่อสองกลุ่มทางการเมืองประท้วงและเข้าการยึดสถานที่ราชการเหมือนกัน แต่การดำเนินคดีของทั้งสองกลุ่มแตกต่างกัน เช่น บางกลุ่มเพียงแค่ออก “หมายเรียก” แต่ขณะอีกกลุ่มอาจมีการออก “หมายจับ”


'''2) มีการขยายความหรือตีความกฎหมายในแนวทางที่ไม่ชัดเจน''' เช่น การวินิจฉัยความเป็นรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยว่าเป็นการกระทำอันต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 จนก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์การตีความความหมายของคำว่า “ลูกจ้าง” แบบสองมาตรฐานของศาลรัฐธรรมนูญ
'''2) มีการขยายความหรือตีความกฎหมายในแนวทางที่ไม่ชัดเจน''' เช่น การวินิจฉัยความเป็นรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยว่าเป็นการกระทำอันต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 จนก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์การตีความความหมายของคำว่า “ลูกจ้าง” แบบสองมาตรฐานของศาลรัฐธรรมนูญ


3) ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ “หลักกฎหมายห้ามมิให้มีผลย้อนหลัง” โดยคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ตัดสินยุบพรรค ได้นำประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ประกาศ ค.ป.ค.) ฉบับที่ 27 มาใช้บังคับเพื่อตัดสิทธิทางการเมืองของกรรมการบริหารพรรคที่ถูกยุบด้วย ซึ่งการกระทำของกรรมการบริหารพรรคเกิดขึ้นก่อนจะมีการประกาศใช้ประกาศฉบับนี้
3) ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ “หลักกฎหมายห้ามมิให้มีผลย้อนหลัง” โดยคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ตัดสินยุบพรรค ได้นำประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ประกาศ ค.ป.ค.) ฉบับที่ 27 มาใช้บังคับเพื่อตัดสิทธิทางการเมืองของกรรมการบริหารพรรคที่ถูกยุบด้วย ซึ่งการกระทำของกรรมการบริหารพรรคเกิดขึ้นก่อนจะมีการประกาศใช้ประกาศฉบับนี้


“สองมาตรฐาน” ได้กลายเป็นคำสำคัญสำหรับรณรงค์เคลื่อนไหวทางการเมืองจนกระทั่งปัจจุบัน ทั้งนี้ สภาวะ “สองมาตรฐาน” เกิดจากความรู้สึกว่ากลุ่มของตนเป็นผู้สูญเสียจากการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 และผลพวงของการรัฐประหารอื่นๆ ตลอดจนการถูกดูหมิ่นดูแคลนจากการกลุ่มการเมืองและกลุ่มสังคมอื่น จนกระทั้งเกิดความไม่พอใจและความคับแค้นใจ ผลักดันให้คนเสื้อแดงออกมาเคลื่อนไหวทางการเมือง เรียกร้องสิทธิที่พวกเขาคิดว่าเป็นของตน แต่ถูกลิดรอนไปนับตั้งแต่รัฐประหาร 19 กันยายน 2549<ref>เพิ่งอ้าง, หน้า 48. </ref>
“สองมาตรฐาน” ได้กลายเป็นคำสำคัญสำหรับรณรงค์เคลื่อนไหวทางการเมืองจนกระทั่งปัจจุบัน ทั้งนี้ สภาวะ “สองมาตรฐาน” เกิดจากความรู้สึกว่ากลุ่มของตนเป็นผู้สูญเสียจากการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 และผลพวงของการรัฐประหารอื่นๆ ตลอดจนการถูกดูหมิ่นดูแคลนจากการกลุ่มการเมืองและกลุ่มสังคมอื่น จนกระทั้งเกิดความไม่พอใจและความคับแค้นใจ ผลักดันให้คนเสื้อแดงออกมาเคลื่อนไหวทางการเมือง เรียกร้องสิทธิที่พวกเขาคิดว่าเป็นของตน แต่ถูกลิดรอนไปนับตั้งแต่รัฐประหาร 19 กันยายน 2549<ref>เพิ่งอ้าง, หน้า 48. </ref>


หากนับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของความสงสัย-ไม่เข้าใจ-ไม่พอใจของ “คนเสื้อแดง” การถูกลิดรอนอำนาจของประชาชนโดยการรัฐประหารก็เปรียบเสมือนการฉวยชิงอำนาจทางการเมืองของประชาชนไป ความไม่พอใจที่นำไปสู่การต่อต้านรัฐประหารในครั้งนั้นก็เริ่มต้นจากการเคลื่อนไหวต่อต้านโดยคนกลุ่มเล็กๆ มีการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวกันเองอย่างอิสระทั้งเป้าหมายและวิธีการ มีความหลากหลายของกลุ่ม แม้จะมีจุดยืนทางการเมืองที่คล้ายคลึงกัน แต่ก็นับว่ามีความแตกต่างกันอยู่ในระดับลึก กลุ่มคนเสื้อแดงจึงประกอบไปด้วยกลุ่มที่สนับสนุน พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร กลุ่มที่คัดค้านการรัฐประหารแต่ไม่ได้สนับสนุนพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร หรือกลุ่มที่ทั้งคัดค้านการรัฐประหารและสนับสนุนรัฐบาลที่มาจาการเลือกตั้งของประชาชน เป็นต้น ตัวอย่างกลุ่มที่เคลื่อนไหวในช่วงนั้น เช่น “กลุ่มเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร” “กลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ” “กลุ่มเพื่อนรัฐธรรมนูญ 2540” “กลุ่มคนจนเมือง” “กลุ่มรักสมาพันธ์ประชาธิปไตย” “นิตยสารสยามปริทัศน์” “พรรคแนวร่วมภาคประชาชน” “สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.)” “เครือข่ายรามคำแหงรักประชาธิปไตย” “สหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่ม” “กลุ่มพลเมืองภิวัฒน์” “กลุ่มกรรมกรปฏิรูป” “ชมรมคนรักอุดร” “มูลนิธิวีรชนประชาธิปไตย” “สมาพันธ์แนวร่วมประชาธิปไตยอีสาน” “สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอตัดเย็บเสื้อผ้า” และ “แนวร่วมประชาชนแห่งประเทศไทย” ฯลฯ ได้ร่วมกันกอตั้ง “องค์กรร่ม (umbrella organization)” ขึ้นเพื่อต้านรัฐประหาร คือ “แนวร่วมประชาชนต้านรัฐประหาร (นตปร.)” ภายใต้ยุทธศาสตร์ “คว่ำ โค่น ล้ม”<ref>โปรดดูรายละเอียดใน อุเชนทร์ เชียงแสน และยุกติ มุกดาวิจิตร, “กำเนิดพลวัตคนเสื้อแดง,” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ), ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.) (กรุงเทพฯ: ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.), 2555). </ref> ก่อนที่กลุ่มผู้ดำเนินรายการทางสถานีโทรทัศน์พีทีวี (PTV) นำโดย นายวีระ มุสิกพงษ์ (ปัจจุบันชื่อ นายวีระกานต์ มุสิกพงศ์)             นายจตุพร พรหมพันธ์ นายจักรภพ เพ็ญแข นายณัฐวุฒิ ใสยเกี้อ และนายก่อแก้ว พิกุลทอง จะปรับเปลี่ยนจากการจัดรายการโทรทัศน์มาเป็นการจัดการชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐประหาร ซึ่งจัดการชุมนุมทางการเมืองครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2550
หากนับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของความสงสัย-ไม่เข้าใจ-ไม่พอใจของ “คนเสื้อแดง” การถูกลิดรอนอำนาจของประชาชนโดยการรัฐประหารก็เปรียบเสมือนการฉวยชิงอำนาจทางการเมืองของประชาชนไป ความไม่พอใจที่นำไปสู่การต่อต้านรัฐประหารในครั้งนั้นก็เริ่มต้นจากการเคลื่อนไหวต่อต้านโดยคนกลุ่มเล็กๆ มีการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวกันเองอย่างอิสระทั้งเป้าหมายและวิธีการ มีความหลากหลายของกลุ่ม แม้จะมีจุดยืนทางการเมืองที่คล้ายคลึงกัน แต่ก็นับว่ามีความแตกต่างกันอยู่ในระดับลึก กลุ่มคนเสื้อแดงจึงประกอบไปด้วยกลุ่มที่สนับสนุน พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร กลุ่มที่คัดค้านการรัฐประหารแต่ไม่ได้สนับสนุนพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร หรือกลุ่มที่ทั้งคัดค้านการรัฐประหารและสนับสนุนรัฐบาลที่มาจาการเลือกตั้งของประชาชน เป็นต้น ตัวอย่างกลุ่มที่เคลื่อนไหวในช่วงนั้น เช่น “กลุ่มเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร” “กลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ” “กลุ่มเพื่อนรัฐธรรมนูญ 2540” “กลุ่มคนจนเมือง” “กลุ่มรักสมาพันธ์ประชาธิปไตย” “นิตยสารสยามปริทัศน์” “พรรคแนวร่วมภาคประชาชน” “สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.)” “เครือข่ายรามคำแหงรักประชาธิปไตย” “สหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่ม” “กลุ่มพลเมืองภิวัฒน์” “กลุ่มกรรมกรปฏิรูป” “ชมรมคนรักอุดร” “มูลนิธิวีรชนประชาธิปไตย” “สมาพันธ์แนวร่วมประชาธิปไตยอีสาน” “สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอตัดเย็บเสื้อผ้า” และ “แนวร่วมประชาชนแห่งประเทศไทย” ฯลฯ ได้ร่วมกันกอตั้ง “องค์กรร่ม (umbrella organization)” ขึ้นเพื่อต้านรัฐประหาร คือ “แนวร่วมประชาชนต้านรัฐประหาร (นตปร.)” ภายใต้ยุทธศาสตร์ “คว่ำ โค่น ล้ม”<ref>โปรดดูรายละเอียดใน อุเชนทร์ เชียงแสน และยุกติ มุกดาวิจิตร, “กำเนิดพลวัตคนเสื้อแดง,” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ), ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.) (กรุงเทพฯ: ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.), 2555). </ref> ก่อนที่กลุ่มผู้ดำเนินรายการทางสถานีโทรทัศน์พีทีวี (PTV) นำโดย นายวีระ มุสิกพงษ์ (ปัจจุบันชื่อ นายวีระกานต์ มุสิกพงศ์) นายจตุพร พรหมพันธ์ นายจักรภพ เพ็ญแข นายณัฐวุฒิ ใสยเกี้อ และนายก่อแก้ว พิกุลทอง จะปรับเปลี่ยนจากการจัดรายการโทรทัศน์มาเป็นการจัดการชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐประหาร ซึ่งจัดการชุมนุมทางการเมืองครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2550


&nbsp;


== การเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มแดงอิสระ ==
== การเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มแดงอิสระ ==


อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่ากลุ่มแดงอิสระจะเป็นการรวมกลุ่มทางการเมืองอย่างหลวมๆ และไม่มีโครงสร้างที่ชัดเจนดังเช่นกลุ่มก้อนการเมืองอื่น แต่กระนั้นก็ตาม จะเห็นว่าได้มีการเคลื่อนไหวและกิจกรรมทางการเมืองมาโดยตลอด เช่น การรวมตัวเพื่อต่อต้านและแถลงจุดยืนคัดค้าน “ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่งกระทำความผิดเนื่องจากการชุมนุมทางการเมืองและการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “นิรโทษกรรมเหมาเข่ง” หรือ “นิรโทษกรรมฉบับสุดซอย” ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร การเคลื่อนไหวคัดค้านนี้นำโดยนายภูมิใจ ไชยา (ดีเจต้อม) และนายอภิชาติ อินสอน (ดีเจอ้วน) ที่ได้ออกมาชุมนุมที่ร้านแมคโดนัลด์ สาขาประตูท่าแพ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2556 โดยมีกลุ่มผู้ชุมนุมประมาณ 30 คน นำแผ่นป้ายพร้อมข้อความ อาทิ “หยุดล้างกฎหมายล้างผิด ส.ป.ก. 4-01” “หยุดกฎหมายล้างผิด 309” “ถ้าตอนเขาทำรัฐประหารมึงคัดค้านกันมากขนาดนี้ วันนี้มึงไม่ต้องมาค้าน พ.ร.บ. นิรโทษกรรมหรอก” เป็นต้น<ref>“แดงอิสระ” เชียงใหม่-ลำพูน เล็งยื่นหนังสือท้วง มช. ค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม,” ผู้จัดการออนไลน์, (10 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959>. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559. </ref> นอกจากนั้น กลุ่มแดงอิสระยังออกมาเคลื่อนไหวเพื่อคัดค้าน กลุ่มคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ที่มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขาธิการ เมื่อครั้งวิกฤตการเมืองไทยปี 2556 ถึงกลางปี 2557 ดังกรณีที่ นายอภิชาติ อินสอน (ดีเจอ้วน) แกนนำกลุ่มแดงอิสระบุกเวที กปปส. และมีการกระโดดถีบธงชาติที่บริเวณลานหน้าวัดเจ็ดยอด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่<ref>“ส่งปูกลับทำเนียบเฉลิมฮึ่มลุยขอคืน5พื้นที่แจงวัฒนะ-ราชดำเนินถ้าเจรจาเหลว-เจอปจ.ม็อบกร้าวไม่ยอมถอยกปปส.เชียงใหม่หนีวุ่นเสื้อแดงยกพลรื้อเวที,” ข่าวสด, (17 กุมภาพันธ์ 2557), 14. </ref>
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่ากลุ่มแดงอิสระจะเป็นการรวมกลุ่มทางการเมืองอย่างหลวมๆ และไม่มีโครงสร้างที่ชัดเจนดังเช่นกลุ่มก้อนการเมืองอื่น แต่กระนั้นก็ตาม จะเห็นว่าได้มีการเคลื่อนไหวและกิจกรรมทางการเมืองมาโดยตลอด เช่น การรวมตัวเพื่อต่อต้านและแถลงจุดยืนคัดค้าน “ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่งกระทำความผิดเนื่องจากการชุมนุมทางการเมืองและการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “นิรโทษกรรมเหมาเข่ง” หรือ “นิรโทษกรรมฉบับสุดซอย” ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร การเคลื่อนไหวคัดค้านนี้นำโดยนายภูมิใจ ไชยา (ดีเจต้อม) และนายอภิชาติ อินสอน (ดีเจอ้วน) ที่ได้ออกมาชุมนุมที่ร้านแมคโดนัลด์ สาขาประตูท่าแพ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2556 โดยมีกลุ่มผู้ชุมนุมประมาณ 30 คน นำแผ่นป้ายพร้อมข้อความ อาทิ “หยุดล้างกฎหมายล้างผิด ส.ป.ก. 4-01” “หยุดกฎหมายล้างผิด 309” “ถ้าตอนเขาทำรัฐประหารมึงคัดค้านกันมากขนาดนี้ วันนี้มึงไม่ต้องมาค้าน พ.ร.บ. นิรโทษกรรมหรอก” เป็นต้น<ref>“แดงอิสระ” เชียงใหม่-ลำพูน เล็งยื่นหนังสือท้วง มช. ค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม,” ผู้จัดการออนไลน์, (10 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959>. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559. </ref> นอกจากนั้น กลุ่มแดงอิสระยังออกมาเคลื่อนไหวเพื่อคัดค้าน กลุ่มคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ที่มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขาธิการ เมื่อครั้งวิกฤตการเมืองไทยปี 2556 ถึงกลางปี 2557 ดังกรณีที่ นายอภิชาติ อินสอน (ดีเจอ้วน) แกนนำกลุ่มแดงอิสระบุกเวที กปปส. และมีการกระโดดถีบธงชาติที่บริเวณลานหน้าวัดเจ็ดยอด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่<ref>“ส่งปูกลับทำเนียบเฉลิมฮึ่มลุยขอคืน5พื้นที่แจงวัฒนะ-ราชดำเนินถ้าเจรจาเหลว-เจอปจ.ม็อบกร้าวไม่ยอมถอยกปปส.เชียงใหม่หนีวุ่นเสื้อแดงยกพลรื้อเวที,” ข่าวสด, (17 กุมภาพันธ์ 2557), 14. </ref>  


ทั้งนี้ สำหรับการเคลื่อนไหวสำคัญของกลุ่มแดงอิสระก่อนการเข้าควบคุมอำนาจการปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คือ การตั้งโต๊ะที่ลานประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่เพื่อรับสมัคร “อาสาสมัครพิทักษ์ประชาธิปไตยแห่งชาติ” โดยดีเจอ้วนกล่าวว่าการรับสมาชิกในครั้งนี้ตั้งเป้าหมายสมาชิกไว้ไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ทั้งจากผู้ที่มาสมัครเองและจากการรวบรวมของแกนนำในพื้นที่ ทั้งได้เน้นย้ำว่าอาสาสมัครพิทักษ์ประชาธิปไตยแห่งชาติมีจุดยืนการเคลื่อนไหวต่อสู้ร่วมกับคนเสื้อแดงทุกกลุ่ม<ref>“เสื้อแดงเชียงใหม่ตั้งโต๊ะสมัคร อพปช. ตั้งเป้าหลักพัน,” ผู้จัดการออนไลน์, (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3&>. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557. </ref>
ทั้งนี้ สำหรับการเคลื่อนไหวสำคัญของกลุ่มแดงอิสระก่อนการเข้าควบคุมอำนาจการปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คือ การตั้งโต๊ะที่ลานประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่เพื่อรับสมัคร “อาสาสมัครพิทักษ์ประชาธิปไตยแห่งชาติ” โดยดีเจอ้วนกล่าวว่าการรับสมาชิกในครั้งนี้ตั้งเป้าหมายสมาชิกไว้ไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ทั้งจากผู้ที่มาสมัครเองและจากการรวบรวมของแกนนำในพื้นที่ ทั้งได้เน้นย้ำว่าอาสาสมัครพิทักษ์ประชาธิปไตยแห่งชาติมีจุดยืนการเคลื่อนไหวต่อสู้ร่วมกับคนเสื้อแดงทุกกลุ่ม<ref>“เสื้อแดงเชียงใหม่ตั้งโต๊ะสมัคร อพปช. ตั้งเป้าหลักพัน,” ผู้จัดการออนไลน์, (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3&>. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557. </ref>
บรรทัดที่ 37: บรรทัดที่ 40:
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าขบวนการเคลื่อนไหวของกลุ่มแดงอิสระนั้น ได้ดำเนินกิจกรรมขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเมื่อพิเคราะห์แล้วจะพบว่ามีความแตกต่างกับจุดยืนของมวลชนใหญ่ของกลุ่มเสื้อแดง (นปช.) อยู่บ้างในสาระสำคัญ แต่กระนั้นโดยหลักใหญ่ใจความก็ยังมีจุดมุ่งหมายร่วม คือ การต่อต้านอำนาจนอกระบบ และการรัฐประหารนั่นเอง
ดังนั้น จะเห็นได้ว่าขบวนการเคลื่อนไหวของกลุ่มแดงอิสระนั้น ได้ดำเนินกิจกรรมขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเมื่อพิเคราะห์แล้วจะพบว่ามีความแตกต่างกับจุดยืนของมวลชนใหญ่ของกลุ่มเสื้อแดง (นปช.) อยู่บ้างในสาระสำคัญ แต่กระนั้นโดยหลักใหญ่ใจความก็ยังมีจุดมุ่งหมายร่วม คือ การต่อต้านอำนาจนอกระบบ และการรัฐประหารนั่นเอง


&nbsp;


== ขบวนการเคลื่อนไหว: ความเชื่อมโยงของกลุ่มคนเสื้อแดง ==
== ขบวนการเคลื่อนไหว: ความเชื่อมโยงของกลุ่มคนเสื้อแดง ==


เมื่อพิจารณาถึงการจัดตั้งและขบวนการเคลื่อนไหวของขบวนการเสื้อแดง ก็ย่อมเห็นได้ว่ามีทั้งในระดับชาติ เช่น กลุ่ม “แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) และกลุ่มเคลื่อนไหวขนาดเล็กจำนวนมากในระดับท้องถิ่นทั่วประเทศ เช่น กลุ่มแดงอิสระเชียงใหม่ กลุ่มแดงอิสระโคราช กลุ่มแดงอิสระปริมณฑล หรือกลุ่มแดงอิสระที่จัดขึ้นทั่วประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคอีสาน ต่างก็มีจุดยืนและเป้าหมายอันแตกต่างกันเป็นของตนเอง บางครั้งกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทาง เป้าหมายของคนเสื้อแดงที่นำโดย นปช. ก็ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องตามเป้าหมายและวิธีการของกลุ่มตน แต่กระนั้นก็ตาม กลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อยเหล่านี้ต่างก็มีการเชื่อมโยงต่อประสานงานระหว่างสองระดับและระหว่างกลุ่มในแนวราบ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างแกนนำเสื้อแดงกลุ่มต่างๆ กับนักการเมืองและนักกิจกรรมระดับต่างๆ ที่สังกัดหรือเชื่อมโยงกับพรรคเพื่อไทย โดยบทบาทของแกนนำเสื้อแดงทุกระดับทั้งในระดับใหญ่และระดับย่อย ต่างก็มีบทบาทในการเป็นผู้สร้างอุดมการณ์-วาทกรรม “ความเป็นเสื้อแดง” ในจังหวะก้าวต่าง ๆ เพื่อดึงดูดมวลชนให้เข้าร่วมการต่อสู้ทางการเมือง
เมื่อพิจารณาถึงการจัดตั้งและขบวนการเคลื่อนไหวของขบวนการเสื้อแดง ก็ย่อมเห็นได้ว่ามีทั้งในระดับชาติ เช่น กลุ่ม “แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) และกลุ่มเคลื่อนไหวขนาดเล็กจำนวนมากในระดับท้องถิ่นทั่วประเทศ เช่น กลุ่มแดงอิสระเชียงใหม่ กลุ่มแดงอิสระโคราช กลุ่มแดงอิสระปริมณฑล หรือกลุ่มแดงอิสระที่จัดขึ้นทั่วประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคอีสาน ต่างก็มีจุดยืนและเป้าหมายอันแตกต่างกันเป็นของตนเอง บางครั้งกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทาง เป้าหมายของคนเสื้อแดงที่นำโดย นปช. ก็ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องตามเป้าหมายและวิธีการของกลุ่มตน แต่กระนั้นก็ตาม กลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อยเหล่านี้ต่างก็มีการเชื่อมโยงต่อประสานงานระหว่างสองระดับและระหว่างกลุ่มในแนวราบ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างแกนนำเสื้อแดงกลุ่มต่างๆ กับนักการเมืองและนักกิจกรรมระดับต่างๆ ที่สังกัดหรือเชื่อมโยงกับพรรคเพื่อไทย โดยบทบาทของแกนนำเสื้อแดงทุกระดับทั้งในระดับใหญ่และระดับย่อย ต่างก็มีบทบาทในการเป็นผู้สร้างอุดมการณ์-วาทกรรม “ความเป็นเสื้อแดง” ในจังหวะก้าวต่าง ๆ เพื่อดึงดูดมวลชนให้เข้าร่วมการต่อสู้ทางการเมือง


&nbsp;


== อ้างอิง ==


== อ้างอิง ==
<references />
<references/>


== บรรณานุกรม ==
== บรรณานุกรม ==


““แดงอิสระ” เชียงใหม่-ลำพูน เล็งยื่นหนังสือท้วง มช. ค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม.” '''ผู้จัดการออนไลน์.''' (10 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959>. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559.
““แดงอิสระ” เชียงใหม่-ลำพูน เล็งยื่นหนังสือท้วง มช. ค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม.” '''ผู้จัดการออนไลน์.''' (10 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงจาก <[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959 http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959]>. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559.


“ส่งปูกลับทำเนียบเฉลิมฮึ่มลุยขอคืน5พื้นที่แจงวัฒนะ-ราชดำเนินถ้าเจรจาเหลว-เจอปจ.ม็อบกร้าวไม่ยอมถอย กปปส.เชียงใหม่หนีวุ่นเสื้อแดงยกพลรื้อเวที.” ข่าวสด. (17 กุมภาพันธ์ 2557), 14.
“ส่งปูกลับทำเนียบเฉลิมฮึ่มลุยขอคืน5พื้นที่แจงวัฒนะ-ราชดำเนินถ้าเจรจาเหลว-เจอปจ.ม็อบกร้าวไม่ยอมถอย กปปส.เชียงใหม่หนีวุ่นเสื้อแดงยกพลรื้อเวที.” ข่าวสด. (17 กุมภาพันธ์ 2557), 14.


เสื้อแดงเชียงใหม่ตั้งโต๊ะสมัคร อพปช. ตั้งเป้าหลักพัน.” ผู้จัดการออนไลน์. (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3&>. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557.
เสื้อแดงเชียงใหม่ตั้งโต๊ะสมัคร อพปช. ตั้งเป้าหลักพัน.” ผู้จัดการออนไลน์. (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3& http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3&]>. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557.


อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์ (2556). '''รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย.''' เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์ (2556). '''รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย.''' เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.


อุเชนทร์ เชียงแสน และยุกติ มุกดาวิจิตร (2555). “กำเนิดพลวัตคนเสื้อแดง.” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ). '''ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).'''  
อุเชนทร์ เชียงแสน และยุกติ มุกดาวิจิตร (2555). “กำเนิดพลวัตคนเสื้อแดง.” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ). '''ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).'''


กรุงเทพฯ: ศูนย์ข้อมูล
กรุงเทพฯ: ศูนย์ข้อมูล


ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).
ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:29, 5 พฤศจิกายน 2562

ผู้เรียบเรียง : ฐิติกร สังข์แก้ว

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รศ.ดร.นิยม รัฐอมฤต


 

ความนำ

รัฐประหาร_19_กันยายน_2549 ถือเป็นเหตุการณ์ที่นำความแตกร้าวมาสู่สังคมเมืองไทยอย่างร้ายแรง ถือเป็นจุดเริ่มต้น (point of departure) ของความสงสัย-ไม่เข้าใจ-ไม่พอใจของ “คนเสื้อแดง” หรือแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ภายหลังจากการทำรัฐประหารสำเร็จ และคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ได้จัดตั้งรัฐบาลขึ้นบริหารประเทศ โดยมี พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และจัดให้มีการออกเสียงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 เมื่อมีการเลือกตั้งครั้งแรกภายใต้บทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช เข้าบริหารประเทศได้ไม่นาน “กลุ่มเสื้อเหลือง” หรือพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยก็เริ่มเคลื่อนไหวประท้วงต่อเนื่องยาวนานกว่า 193 วัน ด้วยยุทธศาสตร์ยึดทำเนียบรัฐบาลและปิดสนามบินสุวรรณภูมิ ขณะเดียวกันเกิดการฟ้องร้องให้มีการยุบพรรคการเมืองจำนวนหลายพรรค จนสร้างความไม่พอใจให้กับนักการเมืองและประชาชนคนเสื้อแดงอย่างมาก[1]

จากสถานการณ์การบังคับใช้กฎหมายและการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องภายหลังการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ได้เกิดปรากฎการณ์ที่คนเสื้อแดงเรียกว่า “สองมาตรฐาน” เป็นความอยุติธรรมทางการเมือง จากนั้นความไม่พอใจเหล่านี้ก็ได้ถูกพัฒนาเป็นวาทกรรม “ไพร่-อำมาตย์” เพื่อเป็นจุดยืนที่ใช้ในการเคลื่อนไหวรณรงค์ทางการเมืองของคนเสื้อแดง กล่าวได้ว่า เหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ถือเป็นการจุดชนวน “ความเป็นเสื้อแดง” อย่างไรก็ตาม เมื่อสถานการณ์ทางการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป ทว่าการเลือกปฏิบัติและ “สองมาตรฐาน” ยังคงดำรงอยู่ กอปรกับการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนเสื้อแดงที่มีจุดยืนที่แตกต่างกันในหลายเรื่องตั้งแต่ต้น ทั้งเรื่องเป้าหมาย วิธีการ และมุมมองต่อสถานการณ์ทางการเมือง ก็ยิ่งขับเน้นให้เกิดความหลากหลายภายใต้กลุ่มใหญ่ที่เรียกว่า “กลุ่มคนเสื้อแดง” โดยเฉพาะภายหลังการปราบปรามการประท้วงของคนเสื้อแดง ที่เรียกว่า “กระชับพื้นที่” เมื่อเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม 2553 [2]

 

ใครคือคนเสื้อแดง ใครคือกลุ่มแดงอิสระ

ภายหลังจากคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (คปค.) ซึ่งมีพลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน เป็นหัวหน้าคณะ ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลพันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร (ยศในขณะนั้น) “คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ก็แปลงสภาพเป็น “คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ” (คมช. หรือ Council of National Security - CNS) และเข้าบริหารประเทศ อันก่อให้เกิดสถานการณ์การบริหารประเทศและบังคับใช้กฎหมายซึ่งเบี่ยงเบนไปจากหลักนิติรัฐและประชาธิปไตยสากล โดยอาศัยหลักการและมาตรฐานอย่างหนึ่งถูกใช้บังคับกับคนกลุ่มหนึ่ง ขณะที่อีกกลุ่มหนึ่งกลับไม่ถูกปรับบังคับใช้อย่างไม่เป็นธรรม ทำให้เกิดสภาวะที่กลุ่มคนเสื้อแดงเรียกกันภายหลังว่า “สองมาตรฐาน” แม้คำว่า “สองมาตรฐาน” จะไม่ปรากฏอยู่ในบัญญัติของกฎหมายต่างๆ เท่าที่มีอยู่ แต่จะมีถ้อยคำที่ใกล้เคียงกัน คือ คำว่า “เลือกปฏิบัติ” ซึ่งปรากฏอยู่ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 มาตรา 30 วรรคสาม ที่ได้บัญญัติว่า “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางด้านเศรษฐกิจหรือสังคมความเชื่อทางศาสนาการศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิได้” ทั้งนี้ “สองมาตรฐาน” ที่สร้างไม่พอใจให้กับคนเสื้อแดงและใช้กันอย่างแพร่หลายในช่วงทศวรรษที่ผ่านก็สื่อความหมายถึงการได้รับการปฏิบัติจากผู้มีอำนาจแตกต่างกันอันเป็นความไม่ถูกต้อง ดังตัวอย่างเช่น

1) กฎหมายฉบับเดียวกันแต่มีการปฏิบัติที่แตกต่างกัน กรณีเมื่อสองกลุ่มทางการเมืองประท้วงและเข้าการยึดสถานที่ราชการเหมือนกัน แต่การดำเนินคดีของทั้งสองกลุ่มแตกต่างกัน เช่น บางกลุ่มเพียงแค่ออก “หมายเรียก” แต่ขณะอีกกลุ่มอาจมีการออก “หมายจับ”

2) มีการขยายความหรือตีความกฎหมายในแนวทางที่ไม่ชัดเจน เช่น การวินิจฉัยความเป็นรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรี ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญได้มีคำวินิจฉัยว่าเป็นการกระทำอันต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2550 จนก่อให้เกิดกระแสวิพากษ์วิจารณ์การตีความความหมายของคำว่า “ลูกจ้าง” แบบสองมาตรฐานของศาลรัฐธรรมนูญ

3) ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ “หลักกฎหมายห้ามมิให้มีผลย้อนหลัง” โดยคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ตัดสินยุบพรรค ได้นำประกาศคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ประกาศ ค.ป.ค.) ฉบับที่ 27 มาใช้บังคับเพื่อตัดสิทธิทางการเมืองของกรรมการบริหารพรรคที่ถูกยุบด้วย ซึ่งการกระทำของกรรมการบริหารพรรคเกิดขึ้นก่อนจะมีการประกาศใช้ประกาศฉบับนี้

“สองมาตรฐาน” ได้กลายเป็นคำสำคัญสำหรับรณรงค์เคลื่อนไหวทางการเมืองจนกระทั่งปัจจุบัน ทั้งนี้ สภาวะ “สองมาตรฐาน” เกิดจากความรู้สึกว่ากลุ่มของตนเป็นผู้สูญเสียจากการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 และผลพวงของการรัฐประหารอื่นๆ ตลอดจนการถูกดูหมิ่นดูแคลนจากการกลุ่มการเมืองและกลุ่มสังคมอื่น จนกระทั้งเกิดความไม่พอใจและความคับแค้นใจ ผลักดันให้คนเสื้อแดงออกมาเคลื่อนไหวทางการเมือง เรียกร้องสิทธิที่พวกเขาคิดว่าเป็นของตน แต่ถูกลิดรอนไปนับตั้งแต่รัฐประหาร 19 กันยายน 2549[3]

หากนับการรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของความสงสัย-ไม่เข้าใจ-ไม่พอใจของ “คนเสื้อแดง” การถูกลิดรอนอำนาจของประชาชนโดยการรัฐประหารก็เปรียบเสมือนการฉวยชิงอำนาจทางการเมืองของประชาชนไป ความไม่พอใจที่นำไปสู่การต่อต้านรัฐประหารในครั้งนั้นก็เริ่มต้นจากการเคลื่อนไหวต่อต้านโดยคนกลุ่มเล็กๆ มีการจัดกิจกรรมเคลื่อนไหวกันเองอย่างอิสระทั้งเป้าหมายและวิธีการ มีความหลากหลายของกลุ่ม แม้จะมีจุดยืนทางการเมืองที่คล้ายคลึงกัน แต่ก็นับว่ามีความแตกต่างกันอยู่ในระดับลึก กลุ่มคนเสื้อแดงจึงประกอบไปด้วยกลุ่มที่สนับสนุน พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร กลุ่มที่คัดค้านการรัฐประหารแต่ไม่ได้สนับสนุนพันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร หรือกลุ่มที่ทั้งคัดค้านการรัฐประหารและสนับสนุนรัฐบาลที่มาจาการเลือกตั้งของประชาชน เป็นต้น ตัวอย่างกลุ่มที่เคลื่อนไหวในช่วงนั้น เช่น “กลุ่มเครือข่าย 19 กันยา ต้านรัฐประหาร” “กลุ่มคนวันเสาร์ไม่เอาเผด็จการ” “กลุ่มเพื่อนรัฐธรรมนูญ 2540” “กลุ่มคนจนเมือง” “กลุ่มรักสมาพันธ์ประชาธิปไตย” “นิตยสารสยามปริทัศน์” “พรรคแนวร่วมภาคประชาชน” “สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (สนนท.)” “เครือข่ายรามคำแหงรักประชาธิปไตย” “สหพันธ์แรงงานอาหารและเครื่องดื่ม” “กลุ่มพลเมืองภิวัฒน์” “กลุ่มกรรมกรปฏิรูป” “ชมรมคนรักอุดร” “มูลนิธิวีรชนประชาธิปไตย” “สมาพันธ์แนวร่วมประชาธิปไตยอีสาน” “สหพันธ์แรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอตัดเย็บเสื้อผ้า” และ “แนวร่วมประชาชนแห่งประเทศไทย” ฯลฯ ได้ร่วมกันกอตั้ง “องค์กรร่ม (umbrella organization)” ขึ้นเพื่อต้านรัฐประหาร คือ “แนวร่วมประชาชนต้านรัฐประหาร (นตปร.)” ภายใต้ยุทธศาสตร์ “คว่ำ โค่น ล้ม”[4] ก่อนที่กลุ่มผู้ดำเนินรายการทางสถานีโทรทัศน์พีทีวี (PTV) นำโดย นายวีระ มุสิกพงษ์ (ปัจจุบันชื่อ นายวีระกานต์ มุสิกพงศ์) นายจตุพร พรหมพันธ์ นายจักรภพ เพ็ญแข นายณัฐวุฒิ ใสยเกี้อ และนายก่อแก้ว พิกุลทอง จะปรับเปลี่ยนจากการจัดรายการโทรทัศน์มาเป็นการจัดการชุมนุมเพื่อต่อต้านรัฐประหาร ซึ่งจัดการชุมนุมทางการเมืองครั้งแรกเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2550

 

การเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มแดงอิสระ

อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่ากลุ่มแดงอิสระจะเป็นการรวมกลุ่มทางการเมืองอย่างหลวมๆ และไม่มีโครงสร้างที่ชัดเจนดังเช่นกลุ่มก้อนการเมืองอื่น แต่กระนั้นก็ตาม จะเห็นว่าได้มีการเคลื่อนไหวและกิจกรรมทางการเมืองมาโดยตลอด เช่น การรวมตัวเพื่อต่อต้านและแถลงจุดยืนคัดค้าน “ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ่งกระทำความผิดเนื่องจากการชุมนุมทางการเมืองและการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน” หรือที่รู้จักกันในชื่อ “นิรโทษกรรมเหมาเข่ง” หรือ “นิรโทษกรรมฉบับสุดซอย” ในสมัยรัฐบาลของนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร การเคลื่อนไหวคัดค้านนี้นำโดยนายภูมิใจ ไชยา (ดีเจต้อม) และนายอภิชาติ อินสอน (ดีเจอ้วน) ที่ได้ออกมาชุมนุมที่ร้านแมคโดนัลด์ สาขาประตูท่าแพ เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2556 โดยมีกลุ่มผู้ชุมนุมประมาณ 30 คน นำแผ่นป้ายพร้อมข้อความ อาทิ “หยุดล้างกฎหมายล้างผิด ส.ป.ก. 4-01” “หยุดกฎหมายล้างผิด 309” “ถ้าตอนเขาทำรัฐประหารมึงคัดค้านกันมากขนาดนี้ วันนี้มึงไม่ต้องมาค้าน พ.ร.บ. นิรโทษกรรมหรอก” เป็นต้น[5] นอกจากนั้น กลุ่มแดงอิสระยังออกมาเคลื่อนไหวเพื่อคัดค้าน กลุ่มคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ที่มีนายสุเทพ เทือกสุบรรณ เป็นเลขาธิการ เมื่อครั้งวิกฤตการเมืองไทยปี 2556 ถึงกลางปี 2557 ดังกรณีที่ นายอภิชาติ อินสอน (ดีเจอ้วน) แกนนำกลุ่มแดงอิสระบุกเวที กปปส. และมีการกระโดดถีบธงชาติที่บริเวณลานหน้าวัดเจ็ดยอด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่[6]

ทั้งนี้ สำหรับการเคลื่อนไหวสำคัญของกลุ่มแดงอิสระก่อนการเข้าควบคุมอำนาจการปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) คือ การตั้งโต๊ะที่ลานประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่เพื่อรับสมัคร “อาสาสมัครพิทักษ์ประชาธิปไตยแห่งชาติ” โดยดีเจอ้วนกล่าวว่าการรับสมาชิกในครั้งนี้ตั้งเป้าหมายสมาชิกไว้ไม่ต่ำกว่า 1,000 คน ทั้งจากผู้ที่มาสมัครเองและจากการรวบรวมของแกนนำในพื้นที่ ทั้งได้เน้นย้ำว่าอาสาสมัครพิทักษ์ประชาธิปไตยแห่งชาติมีจุดยืนการเคลื่อนไหวต่อสู้ร่วมกับคนเสื้อแดงทุกกลุ่ม[7]

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าขบวนการเคลื่อนไหวของกลุ่มแดงอิสระนั้น ได้ดำเนินกิจกรรมขนาดเล็กมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเมื่อพิเคราะห์แล้วจะพบว่ามีความแตกต่างกับจุดยืนของมวลชนใหญ่ของกลุ่มเสื้อแดง (นปช.) อยู่บ้างในสาระสำคัญ แต่กระนั้นโดยหลักใหญ่ใจความก็ยังมีจุดมุ่งหมายร่วม คือ การต่อต้านอำนาจนอกระบบ และการรัฐประหารนั่นเอง

 

ขบวนการเคลื่อนไหว: ความเชื่อมโยงของกลุ่มคนเสื้อแดง

เมื่อพิจารณาถึงการจัดตั้งและขบวนการเคลื่อนไหวของขบวนการเสื้อแดง ก็ย่อมเห็นได้ว่ามีทั้งในระดับชาติ เช่น กลุ่ม “แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ” (นปช.) และกลุ่มเคลื่อนไหวขนาดเล็กจำนวนมากในระดับท้องถิ่นทั่วประเทศ เช่น กลุ่มแดงอิสระเชียงใหม่ กลุ่มแดงอิสระโคราช กลุ่มแดงอิสระปริมณฑล หรือกลุ่มแดงอิสระที่จัดขึ้นทั่วประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือและภาคอีสาน ต่างก็มีจุดยืนและเป้าหมายอันแตกต่างกันเป็นของตนเอง บางครั้งกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยกับแนวทาง เป้าหมายของคนเสื้อแดงที่นำโดย นปช. ก็ออกมาเคลื่อนไหวเรียกร้องตามเป้าหมายและวิธีการของกลุ่มตน แต่กระนั้นก็ตาม กลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อยเหล่านี้ต่างก็มีการเชื่อมโยงต่อประสานงานระหว่างสองระดับและระหว่างกลุ่มในแนวราบ ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างแกนนำเสื้อแดงกลุ่มต่างๆ กับนักการเมืองและนักกิจกรรมระดับต่างๆ ที่สังกัดหรือเชื่อมโยงกับพรรคเพื่อไทย โดยบทบาทของแกนนำเสื้อแดงทุกระดับทั้งในระดับใหญ่และระดับย่อย ต่างก็มีบทบาทในการเป็นผู้สร้างอุดมการณ์-วาทกรรม “ความเป็นเสื้อแดง” ในจังหวะก้าวต่าง ๆ เพื่อดึงดูดมวลชนให้เข้าร่วมการต่อสู้ทางการเมือง

 

อ้างอิง

  1. ผลการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้นายสมัคร สุนทรเวชต้องพ้นจากการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยคณะตุลาการศาลรัฐธรรมนูญลงมติเอกฉันท์ว่า นายสมัคร มีความผิดตาม มาตรา 267 และ มาตรา 182 วรรคหนึ่ง (7) จึงวินิจฉัยว่าผู้ถูกร้องสิ้นสุดความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีเฉพาะตัว เมื่อความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามรัฐธรรมนูญมาตรา 182 จึงเป็นเหตุให้รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 180 วรรค 1 (1)) แต่รัฐมนตรีในคณะรัฐมนตรีที่เหลือยังอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่ารัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 181)
  2. อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย (เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2556), หน้า 47.
  3. เพิ่งอ้าง, หน้า 48.
  4. โปรดดูรายละเอียดใน อุเชนทร์ เชียงแสน และยุกติ มุกดาวิจิตร, “กำเนิดพลวัตคนเสื้อแดง,” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ), ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.) (กรุงเทพฯ: ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.), 2555).
  5. “แดงอิสระ” เชียงใหม่-ลำพูน เล็งยื่นหนังสือท้วง มช. ค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม,” ผู้จัดการออนไลน์, (10 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959>. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559.
  6. “ส่งปูกลับทำเนียบเฉลิมฮึ่มลุยขอคืน5พื้นที่แจงวัฒนะ-ราชดำเนินถ้าเจรจาเหลว-เจอปจ.ม็อบกร้าวไม่ยอมถอยกปปส.เชียงใหม่หนีวุ่นเสื้อแดงยกพลรื้อเวที,” ข่าวสด, (17 กุมภาพันธ์ 2557), 14.
  7. “เสื้อแดงเชียงใหม่ตั้งโต๊ะสมัคร อพปช. ตั้งเป้าหลักพัน,” ผู้จัดการออนไลน์, (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3&>. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557.

บรรณานุกรม

““แดงอิสระ” เชียงใหม่-ลำพูน เล็งยื่นหนังสือท้วง มช. ค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม.” ผู้จัดการออนไลน์. (10 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9560000139959>. เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2559.

“ส่งปูกลับทำเนียบเฉลิมฮึ่มลุยขอคืน5พื้นที่แจงวัฒนะ-ราชดำเนินถ้าเจรจาเหลว-เจอปจ.ม็อบกร้าวไม่ยอมถอย กปปส.เชียงใหม่หนีวุ่นเสื้อแดงยกพลรื้อเวที.” ข่าวสด. (17 กุมภาพันธ์ 2557), 14.

เสื้อแดงเชียงใหม่ตั้งโต๊ะสมัคร อพปช. ตั้งเป้าหลักพัน.” ผู้จัดการออนไลน์. (11 มีนาคม 2557). เข้าถึงจาก <http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9570000027800&Html=1&TabID=3&>. เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2557.

อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร, และนิติ ภวัครพันธุ์ (2556). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่อง ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย. เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อุเชนทร์ เชียงแสน และยุกติ มุกดาวิจิตร (2555). “กำเนิดพลวัตคนเสื้อแดง.” ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บรรณาธิการ). ความจริงเพื่อความยุติธรรม: เหตุการณ์และผลกระทบจากการสลายการชุมนุม เมษา-พฤษภา 53 ศูนย์ข้อมูลประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).

กรุงเทพฯ: ศูนย์ข้อมูล

ประชาชนผู้ได้รับผลกระทบจากการสลายการชุมนุมกรณี เม.ย.-พ.ค. 53 (ศปช.).