ผลต่างระหว่างรุ่นของ "25 มกราคม พ.ศ. 2485"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:


----
----
วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นวันที่ทาง[[รัฐบาล]]ไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ขณะนั้นประเทศไทยมี[[นายกรัฐมนตรี]] เป็นนายทหารใหญ่ที่มีอำนาจมาก คือ [[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ในหนังสือไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ของ[[ดิเรก ชัยนาม]] ได้มีข้อเขียนของ[[นายทวี  บุณยเกตุ]] เล่าถึงความเก่งกล้าของนายกรัฐมนตรีที่ประกาศสงครามเอาไว้ว่า
วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นวันที่ทาง[[รัฐบาล]]ไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ขณะนั้นประเทศไทยมี[[นายกรัฐมนตรี]] เป็นนายทหารใหญ่ที่มีอำนาจมาก คือ [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ในหนังสือไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ของ[[ดิเรก ชัยนาม]] ได้มีข้อเขียนของ[[ทวี  บุณยเกตุ|นายทวี  บุณยเกตุ]] เล่าถึงความเก่งกล้าของนายกรัฐมนตรีที่ประกาศสงครามเอาไว้ว่า


“การประกาศสงครามครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ลงนามสนอง[[พระบรมราชโองกา]]รก่อนแล้วจึงได้ส่งไปให้[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]ในขณะนั้น ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 คน คือ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพยาภา]] 2. [[พลเอกเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน]] และ 3. [[นายปรีดี พนมยงค์]]”
“การประกาศสงครามครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ลงนามสนอง[[พระบรมราชโองกา]]รก่อนแล้วจึงได้ส่งไปให้[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]ในขณะนั้น ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 คน คือ [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพยาภา]] 2. [[พลเอกเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน]] และ 3. [[ปรีดี พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]]”


การประกาศสงครามกับมหาอำนาจ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ในสงครามโลกครั้งนั้น ทำให้ปัญหาที่เสียงต่อการที่ไทยจะตกเป็นประเทศผู้แพ้สงครามในเวลาต่อมาเมื่อญี่ปุ่นเองได้เป็นฝ่ายแพ้สงคราม ดีว่าได้มี[[ขบวนการเสรีไทย]]โดยคณะบุคคลที่ไม่เห็นด้วยกับนโยบายของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ปฏิบัติการใต้ดินร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่น
การประกาศสงครามกับมหาอำนาจ[[ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ในสงครามโลกครั้งนั้น ทำให้ปัญหาที่เสียงต่อการที่ไทยจะตกเป็นประเทศผู้แพ้สงครามในเวลาต่อมาเมื่อญี่ปุ่นเองได้เป็นฝ่ายแพ้สงคราม ดีว่าได้มี[[ขบวนการเสรีไทย]]โดยคณะบุคคลที่ไม่เห็นด้วยกับนโยบายของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ปฏิบัติการใต้ดินร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่น


[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:15, 15 ตุลาคม 2557

ผู้เรียบเรียง ศ.นรนิต เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นวันที่ทางรัฐบาลไทยประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ขณะนั้นประเทศไทยมีนายกรัฐมนตรี เป็นนายทหารใหญ่ที่มีอำนาจมาก คือ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ในหนังสือไทยกับสงครามโลกครั้งที่ 2 ของดิเรก ชัยนาม ได้มีข้อเขียนของนายทวี บุณยเกตุ เล่าถึงความเก่งกล้าของนายกรัฐมนตรีที่ประกาศสงครามเอาไว้ว่า

“การประกาศสงครามครั้งนี้ก็เช่นเดียวกัน จอมพล ป.พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ลงนามสนองพระบรมราชโองการก่อนแล้วจึงได้ส่งไปให้ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในขณะนั้น ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 คน คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพยาภา 2. พลเอกเจ้าพระยาพิชเยนทรโยธิน และ 3. นายปรีดี พนมยงค์

การประกาศสงครามกับมหาอำนาจฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งนั้น ทำให้ปัญหาที่เสียงต่อการที่ไทยจะตกเป็นประเทศผู้แพ้สงครามในเวลาต่อมาเมื่อญี่ปุ่นเองได้เป็นฝ่ายแพ้สงคราม ดีว่าได้มีขบวนการเสรีไทยโดยคณะบุคคลที่ไม่เห็นด้วยกับนโยบายของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ปฏิบัติการใต้ดินร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรต่อต้านญี่ปุ่น