ผลต่างระหว่างรุ่นของ "30 มิถุนายน พ.ศ. 2535"
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุต...' |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
---- | ---- | ||
วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นวันที่[[นายกรัฐมนตรี]] [[นายอานันท์ ปันยารชุน]] ดำเนินการให้[[ยุบสภา]] เพื่อ[[เลือกตั้ง]]ทั่วไปกันใหม่ ทั้ง ๆ ที่ใน พ.ศ. 2535 นี้ได้มีการเลือกตั้งทั่วไปมาครั้งหนึ่งแล้วในตอนต้นปี ดังนั้น [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ชุดที่ถูกยุบนี้จึงเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งมาทำงานยังไม่ทันถึงปี และได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน[[วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535]] | วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นวันที่[[นายกรัฐมนตรี]] [[อานันท์ ปันยารชุน|นายอานันท์ ปันยารชุน]] ดำเนินการให้[[ยุบสภา]] เพื่อ[[เลือกตั้ง]]ทั่วไปกันใหม่ ทั้ง ๆ ที่ใน พ.ศ. 2535 นี้ได้มีการเลือกตั้งทั่วไปมาครั้งหนึ่งแล้วในตอนต้นปี ดังนั้น [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ชุดที่ถูกยุบนี้จึงเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งมาทำงานยังไม่ทันถึงปี และได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใน[[วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535]] | ||
แต่ก็คงจะโทษอะไรนายกรัฐมนตรี นายอานันท์ ปันยารชุน ไม่ได้มากนัก เพราะการเข้ามารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 2 ของนายอานันท์ ปันยารชุน ในคืนวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ท่ามกลางความดีใจและแปลกใจของประชาชนไทยจำนวนมากนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน มีภารกิจที่จะต้องยุบสภาเพื่อดำเนินการเลือกตั้งใหม่โดยไม่ชักช้านัก | แต่ก็คงจะโทษอะไรนายกรัฐมนตรี นายอานันท์ ปันยารชุน ไม่ได้มากนัก เพราะการเข้ามารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 2 ของนายอานันท์ ปันยารชุน ในคืนวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ท่ามกลางความดีใจและแปลกใจของประชาชนไทยจำนวนมากนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน มีภารกิจที่จะต้องยุบสภาเพื่อดำเนินการเลือกตั้งใหม่โดยไม่ชักช้านัก | ||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้ นายอานันท์ ปันยารชุน ก็ไม่ได้ลงเลือกตั้ง เพราะนายอานันท์ ปันยารชุน ไม่เคยตั้ง[[พรรคการเมือง]] การเข้ามาสู่วงการเมืองครั้งแรกในฐานะนายกรัฐมนตรี หลังการยึดอำนาจของ[[คณะ ร.ส.ช.]] เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นั้น ก็เป็นการเข้ามาชั่วคราวเช่นกันเพื่อมาจัดการเลือกตั้ง เพียงแต่คราวก่อนนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอยู่เป็นเวลาประมาณ 1 ปี การไม่ลงเลือกตั้งนั้นทำให้เห็นว่าการเลือกตั้งครั้งนี้ รัฐบาลจะวางตัวเป็นกลางให้นักการเมืองและ[[พรรคการเมือง]]ไปแข่งขันกันเอง | การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้ นายอานันท์ ปันยารชุน ก็ไม่ได้ลงเลือกตั้ง เพราะนายอานันท์ ปันยารชุน ไม่เคยตั้ง[[พรรคการเมือง]] การเข้ามาสู่วงการเมืองครั้งแรกในฐานะนายกรัฐมนตรี หลังการยึดอำนาจของ[[คณะ ร.ส.ช.]] เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นั้น ก็เป็นการเข้ามาชั่วคราวเช่นกันเพื่อมาจัดการเลือกตั้ง เพียงแต่คราวก่อนนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอยู่เป็นเวลาประมาณ 1 ปี การไม่ลงเลือกตั้งนั้นทำให้เห็นว่าการเลือกตั้งครั้งนี้ รัฐบาลจะวางตัวเป็นกลางให้นักการเมืองและ[[พรรคการเมือง]]ไปแข่งขันกันเอง | ||
หลังการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 ทาง[[พรรคประชาธิปัตย์]]ชนะได้ที่นั่งมากที่สุดใน[[สภาผู้แทนราษฎร]] แต่ก็ไม่เกินกึ่งหนึ่งจึงได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลที่[[หัวหน้าพรรค]]ประชาธิปัตย์ [[นายชวน หลีกภัย]] ได้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ดังนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน จึงพ้นจากตำแหน่งในวันเดียวกันนี้ | หลังการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 ทาง[[พรรคประชาธิปัตย์]]ชนะได้ที่นั่งมากที่สุดใน[[สภาผู้แทนราษฎร]] แต่ก็ไม่เกินกึ่งหนึ่งจึงได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลที่[[หัวหน้าพรรค]]ประชาธิปัตย์ [[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] ได้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ดังนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน จึงพ้นจากตำแหน่งในวันเดียวกันนี้ | ||
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] | [[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:25, 13 ตุลาคม 2557
ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
วันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เป็นวันที่นายกรัฐมนตรี นายอานันท์ ปันยารชุน ดำเนินการให้ยุบสภา เพื่อเลือกตั้งทั่วไปกันใหม่ ทั้ง ๆ ที่ใน พ.ศ. 2535 นี้ได้มีการเลือกตั้งทั่วไปมาครั้งหนึ่งแล้วในตอนต้นปี ดังนั้น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดที่ถูกยุบนี้จึงเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งมาทำงานยังไม่ทันถึงปี และได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535
แต่ก็คงจะโทษอะไรนายกรัฐมนตรี นายอานันท์ ปันยารชุน ไม่ได้มากนัก เพราะการเข้ามารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีครั้งที่ 2 ของนายอานันท์ ปันยารชุน ในคืนวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ท่ามกลางความดีใจและแปลกใจของประชาชนไทยจำนวนมากนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน มีภารกิจที่จะต้องยุบสภาเพื่อดำเนินการเลือกตั้งใหม่โดยไม่ชักช้านัก
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งนี้ นายอานันท์ ปันยารชุน ก็ไม่ได้ลงเลือกตั้ง เพราะนายอานันท์ ปันยารชุน ไม่เคยตั้งพรรคการเมือง การเข้ามาสู่วงการเมืองครั้งแรกในฐานะนายกรัฐมนตรี หลังการยึดอำนาจของคณะ ร.ส.ช. เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 นั้น ก็เป็นการเข้ามาชั่วคราวเช่นกันเพื่อมาจัดการเลือกตั้ง เพียงแต่คราวก่อนนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีอยู่เป็นเวลาประมาณ 1 ปี การไม่ลงเลือกตั้งนั้นทำให้เห็นว่าการเลือกตั้งครั้งนี้ รัฐบาลจะวางตัวเป็นกลางให้นักการเมืองและพรรคการเมืองไปแข่งขันกันเอง
หลังการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2535 ทางพรรคประชาธิปัตย์ชนะได้ที่นั่งมากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎร แต่ก็ไม่เกินกึ่งหนึ่งจึงได้เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลที่หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ นายชวน หลีกภัย ได้เป็นนายกรัฐมนตรีเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2535 ดังนั้น นายอานันท์ ปันยารชุน จึงพ้นจากตำแหน่งในวันเดียวกันนี้