ผลต่างระหว่างรุ่นของ "9 กันยายน พ.ศ. 2528"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
---- | ---- | ||
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ได้มีคณะนายทหารนอกราชการ | วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ได้มีคณะนายทหารนอกราชการ กลุ่มหนึ่งนำกำลังเข้ายึดอำนาจเพื่อล้มรัฐบาลของ[[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ผู้เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้เดินทางไปปฏิบัติภารกิจที่ประเทศอินโดนีเซีย และ [[พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก]] ผู้บัญชาการทหารบกได้เดินทางไปต่างประเทศที่ยุโรป แต่การยึดอำนาจครั้งนี้ไม่ประสบความสำเร็จจึงเรียกกันว่า [[กบฏ 9 กันยายน]] | ||
เล่ากันว่าการปฏิบัติการเพื่อยึดอำนาจได้เริ่มตั้งแต่เวลา 03.00 น. ของวันที่ 9 กันยายน กำลังสำคัญนั้นมาจากกองพันทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ ที่นำรถถังจำนวนมากเข้ายึดกองบัญชาการทหารสูงสุดที่สนามเสือป่า และกำลังจากกรมอากาศโยธิน นำโดย นาวาอากาศโท มนัส รูปขจร ซึ่งกำลังจากกองทัพอากาศนี่เองที่เข้าไปกุมตัว พลอากาศเอกประพันธ์ ธูปเตมีย์ ผู้บัญชาการทหารอากาศที่บ้านพักและเอาเป็นตัวประกัน | เล่ากันว่าการปฏิบัติการเพื่อยึดอำนาจได้เริ่มตั้งแต่เวลา 03.00 น. ของวันที่ 9 กันยายน กำลังสำคัญนั้นมาจากกองพันทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ ที่นำรถถังจำนวนมากเข้ายึดกองบัญชาการทหารสูงสุดที่สนามเสือป่า และกำลังจากกรมอากาศโยธิน นำโดย [[นาวาอากาศโท มนัส รูปขจร]] ซึ่งกำลังจากกองทัพอากาศนี่เองที่เข้าไปกุมตัว [[พลอากาศเอกประพันธ์ ธูปเตมีย์]] ผู้บัญชาการทหารอากาศที่บ้านพักและเอาเป็นตัวประกัน | ||
จากแถลงการณ์ของคณะผู้ก่อการยึดอำนาจนั้น อ้าง พลเอกเสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบกเป็นหัวหน้าคณะ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลนั้น แม้นายกรัฐมนตรีจะไม่อยู่ในประเทศก็ตาม รองนายกรัฐมนตรี คือ พล.ต.อ. ประจวบ สุนทรางกูร | จากแถลงการณ์ของคณะผู้ก่อการยึดอำนาจนั้น อ้าง [[พลเอกเสริม ณ นคร]] อดีตผู้บัญชาการทหารบกเป็นหัวหน้าคณะ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลนั้น แม้นายกรัฐมนตรีจะไม่อยู่ในประเทศก็ตาม รองนายกรัฐมนตรี คือ [[พล.ต.อ. ประจวบ สุนทรางกูร]] และนายทหารที่ยังอยู่ข้าง[[รัฐบาล]]ได้รวมพลังกันต่อต้านการ[[รัฐประหาร]] โดยมีกองบัญชาการอยู่ที่กรมทหารราบที่ 11 บางเขน และได้ออกแถลงการณ์ตอบโต้ | ||
การยึดอำนาจที่ไม่เสร็จเรียบร้อยในเวลาอันสั้นเช่นนี้ ได้เป็นที่สนใจของประชาชนมาก ทั้งวันที่ปฏิบัติการเป็นวันทำงาน ผู้คนออกจากบ้านมาทำงานกันแล้ว มาได้ฟังแถลงการณ์กันระหว่างเดินทางก็มี | การยึดอำนาจที่ไม่เสร็จเรียบร้อยในเวลาอันสั้นเช่นนี้ ได้เป็นที่สนใจของประชาชนมาก ทั้งวันที่ปฏิบัติการเป็นวันทำงาน ผู้คนออกจากบ้านมาทำงานกันแล้ว มาได้ฟังแถลงการณ์กันระหว่างเดินทางก็มี ตอนแรกก็คิดกันว่าทางฝ่าย[[กบฏ]]จะยึดอำนาจได้ เพราะนายกรัฐมนตรีก็ไม่อยู่ในประเทศแต่พอตอนสายได้ทราบว่าทางรัฐบาลประกาศสู้และเรียกร้องให้ฝ่ายกบฏยอมจำนน ซึ่งท้ายที่สุดฝ่ายกบฏก็ยอมแพ้ มีการเจรจากันและผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติการหรือถูกกล่าวหาว่าเข้าร่วมงานก็เข้ามารายงานตัว รวมทั้งปล่อยตัวประกันคือ พล.อ.อ. ประพันธ์ ธูปเตมีย์ และทางรัฐบาลยอมให้ [[พ.อ. มนูญ รูปขจร]] เดินทางออกนอกประเทศ ส่วน น.ท. มนัส รูปขจร นั้นหลบหนีไปได้ และค่ำวันนั้นเองนายกรัฐมนตรีก็เดินทางกลับถึงประเทศไทยที่สนามบินหาดใหญ่ | ||
มีรายงานว่าผลกระทบจากการใช้กำลังเข้ายึดอำนาจและต่อสู้กัน แม้จะไม่มากก็ตาม ก็ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 ราย เป็นทหาร 2 ราย มีประชาชน 1 ราย กันผู้สื่อข่าวต่างประเทศ อีก 2 ราย ส่วนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางฝ่ายกบฏนั้นถูกดำเนินคดี และต่อมาอีก 3 ปี ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2531 สมัยรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ | มีรายงานว่าผลกระทบจากการใช้กำลังเข้ายึดอำนาจและต่อสู้กัน แม้จะไม่มากก็ตาม ก็ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 ราย เป็นทหาร 2 ราย มีประชาชน 1 ราย กันผู้สื่อข่าวต่างประเทศ อีก 2 ราย ส่วนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางฝ่ายกบฏนั้นถูกดำเนินคดี และต่อมาอีก 3 ปี ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2531 สมัยรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี [[พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ]] ได้มี[[กฎหมายนิรโทษกรรม]]แก่ผู้ที่ทำความไม่สงบครั้งนี้ | ||
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] | [[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:17, 17 กันยายน 2556
ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ได้มีคณะนายทหารนอกราชการ กลุ่มหนึ่งนำกำลังเข้ายึดอำนาจเพื่อล้มรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ผู้เป็นนายกรัฐมนตรี ขณะที่นายกรัฐมนตรีได้เดินทางไปปฏิบัติภารกิจที่ประเทศอินโดนีเซีย และ พลเอกอาทิตย์ กำลังเอก ผู้บัญชาการทหารบกได้เดินทางไปต่างประเทศที่ยุโรป แต่การยึดอำนาจครั้งนี้ไม่ประสบความสำเร็จจึงเรียกกันว่า กบฏ 9 กันยายน
เล่ากันว่าการปฏิบัติการเพื่อยึดอำนาจได้เริ่มตั้งแต่เวลา 03.00 น. ของวันที่ 9 กันยายน กำลังสำคัญนั้นมาจากกองพันทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ ที่นำรถถังจำนวนมากเข้ายึดกองบัญชาการทหารสูงสุดที่สนามเสือป่า และกำลังจากกรมอากาศโยธิน นำโดย นาวาอากาศโท มนัส รูปขจร ซึ่งกำลังจากกองทัพอากาศนี่เองที่เข้าไปกุมตัว พลอากาศเอกประพันธ์ ธูปเตมีย์ ผู้บัญชาการทหารอากาศที่บ้านพักและเอาเป็นตัวประกัน
จากแถลงการณ์ของคณะผู้ก่อการยึดอำนาจนั้น อ้าง พลเอกเสริม ณ นคร อดีตผู้บัญชาการทหารบกเป็นหัวหน้าคณะ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลนั้น แม้นายกรัฐมนตรีจะไม่อยู่ในประเทศก็ตาม รองนายกรัฐมนตรี คือ พล.ต.อ. ประจวบ สุนทรางกูร และนายทหารที่ยังอยู่ข้างรัฐบาลได้รวมพลังกันต่อต้านการรัฐประหาร โดยมีกองบัญชาการอยู่ที่กรมทหารราบที่ 11 บางเขน และได้ออกแถลงการณ์ตอบโต้
การยึดอำนาจที่ไม่เสร็จเรียบร้อยในเวลาอันสั้นเช่นนี้ ได้เป็นที่สนใจของประชาชนมาก ทั้งวันที่ปฏิบัติการเป็นวันทำงาน ผู้คนออกจากบ้านมาทำงานกันแล้ว มาได้ฟังแถลงการณ์กันระหว่างเดินทางก็มี ตอนแรกก็คิดกันว่าทางฝ่ายกบฏจะยึดอำนาจได้ เพราะนายกรัฐมนตรีก็ไม่อยู่ในประเทศแต่พอตอนสายได้ทราบว่าทางรัฐบาลประกาศสู้และเรียกร้องให้ฝ่ายกบฏยอมจำนน ซึ่งท้ายที่สุดฝ่ายกบฏก็ยอมแพ้ มีการเจรจากันและผู้ที่เข้าร่วมปฏิบัติการหรือถูกกล่าวหาว่าเข้าร่วมงานก็เข้ามารายงานตัว รวมทั้งปล่อยตัวประกันคือ พล.อ.อ. ประพันธ์ ธูปเตมีย์ และทางรัฐบาลยอมให้ พ.อ. มนูญ รูปขจร เดินทางออกนอกประเทศ ส่วน น.ท. มนัส รูปขจร นั้นหลบหนีไปได้ และค่ำวันนั้นเองนายกรัฐมนตรีก็เดินทางกลับถึงประเทศไทยที่สนามบินหาดใหญ่
มีรายงานว่าผลกระทบจากการใช้กำลังเข้ายึดอำนาจและต่อสู้กัน แม้จะไม่มากก็ตาม ก็ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 ราย เป็นทหาร 2 ราย มีประชาชน 1 ราย กันผู้สื่อข่าวต่างประเทศ อีก 2 ราย ส่วนผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางฝ่ายกบฏนั้นถูกดำเนินคดี และต่อมาอีก 3 ปี ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2531 สมัยรัฐบาลของนายกรัฐมนตรี พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ได้มีกฎหมายนิรโทษกรรมแก่ผู้ที่ทำความไม่สงบครั้งนี้