ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสรีธรรม (พ.ศ. 2535)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐ...
 
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
'''พรรคเสรีธรรม'''
'''พรรคเสรีธรรม'''


ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยนั้น พรรคการเมืองที่ชื่อว่า “เสรีธรรม” ได้ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกในปี 2522 และยุบตัวลงไปในปี 2523 โดยไม่มีบทบาททางการเมืองใดๆในขณะนั้น ต่อมาภายหลังจากเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรมในปี 2535 พรรคเสรีธรรมได้ถือกำเนิดขึ้นอีกครั้งในวันที่ 21 กรกฎาคม 2535 โดยมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า Liberal Integrity Party มี ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค และเป็นผู้ก่อตั้งพรรคเสรีธรรมร่วมกับ นายพินิจ จารุสมบัติ
ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยนั้น พรรคการเมืองที่ชื่อว่า “เสรีธรรม” ได้ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกในปี 2522 และยุบตัวลงไปในปี 2523 โดยไม่มีบทบาททางการเมืองใดๆในขณะนั้น ต่อมาภายหลังจากเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรมในปี 2535 พรรคเสรีธรรมได้ถือกำเนิดขึ้นอีกครั้งในวันที่ 21 กรกฎาคม 2535 โดยมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า Liberal Integrity Party มี ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่ง[[หัวหน้าพรรค]] และเป็นผู้ก่อตั้งพรรคเสรีธรรมร่วมกับ นายพินิจ จารุสมบัติ


สำหรับประวัติทางการเมืองของ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ก่อนหน้าที่จะก่อตั้งพรรคเสรีธรรม เขาเคยดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็น ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรักษาประธานรัฐสภาในช่วงเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม และเป็นบุคคลที่เสนอชื่อ นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี (ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง) ต่อจากพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งลาออกอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ความรุนแรงในปี 2535 ซึ่งทำให้นายอานันท์ได้เป็นนายกรัฐมนตรีถึง 2 ครั้ง  
สำหรับประวัติทางการเมืองของ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ก่อนหน้าที่จะก่อตั้งพรรคเสรีธรรม เขาเคยดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็น [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] และรักษา[[ประธานรัฐสภา]]ในช่วงเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม และเป็นบุคคลที่เสนอชื่อ นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี (ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง) ต่อจากพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งลาออกอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ความรุนแรงในปี 2535 ซึ่งทำให้นายอานันท์ได้เป็นนายกรัฐมนตรีถึง 2 ครั้ง  


สำหรับบทบาททางการเมือง พรรคเสรีธรรมลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในวันที่ 13 กันยายน 2535 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกภายหลังจากเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรมสิ้นสุดลง พรรคเสรีธรรมได้ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 8 คน โดยมีพรรคประชาธิปัตย์ ภายใต้การนำของ นายชวน หลีกภัย เป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล และดร.อาทิตย์ หัวหน้าพรรคเสรีธรรม และนายพินิจ จารุสมบัติ รองหัวหน้าพรรคได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ตามลำดับ
สำหรับบทบาททางการเมือง พรรคเสรีธรรมลงสมัครรับเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ครั้งแรกในวันที่ 13 กันยายน 2535 ซึ่งเป็น[[การเลือกตั้ง]]ทั่วไปครั้งแรกภายหลังจากเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรมสิ้นสุดลง พรรคเสรีธรรมได้ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 8 คน โดยมีพรรคประชาธิปัตย์ ภายใต้การนำของ นายชวน หลีกภัย เป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล และดร.อาทิตย์ [[หัวหน้าพรรค]]เสรีธรรม และนายพินิจ จารุสมบัติ รองหัวหน้าพรรคได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ตามลำดับ


ต่อมา เมื่อนายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรคเสรีธรรม และย้ายไปดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ในปี 2540 พรรคเสรีธรรมได้คัดเลือกให้ นายพินิจ จารุสมบัติ รองหัวหน้าพรรค สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย 3 สมัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเสรีธรรมแทนนายอาทิตย์
ต่อมา เมื่อนายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรคเสรีธรรม และย้ายไปดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ในปี 2540 พรรคเสรีธรรมได้คัดเลือกให้ นายพินิจ จารุสมบัติ รองหัวหน้าพรรค [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]จังหวัดหนองคาย 3 สมัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเสรีธรรมแทนนายอาทิตย์


ต่อมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 17 พฤษศจิกายน 2539 พรรคเสรีธรรมภายใต้การนำของ นายพินิจ จารุสมบัติ พรรคเสรีธรรมได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคจำนวน 4 คน โดยในการเลือกตั้งครั้งนี้มีพรรคความหวังใหม่ ที่มีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นหัวหน้าพรรคได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสูงสุด คือ 125 คน ส่งผลให้พรรคความหวังใหม่ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล  
ต่อมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 17 พฤษศจิกายน 2539 พรรคเสรีธรรมภายใต้การนำของ นายพินิจ จารุสมบัติ พรรคเสรีธรรมได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคจำนวน 4 คน โดยในการเลือกตั้งครั้งนี้มีพรรคความหวังใหม่ ที่มีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นหัวหน้าพรรคได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสูงสุด คือ 125 คน ส่งผลให้พรรคความหวังใหม่ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล  


ภายหลังจากที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ประกาศใช้ กอปรกับวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งผลให้พรรคความหวังใหม่ประกาศลาออกจากการเป็นผู้นำรัฐบาล เนื่องมาจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นได้ และเปิดทางให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรค ขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่ 2 พรรคเสรีธรรมที่นำโดยนายพินิจได้ดึง นายประจวบ ไชยสาสน์ ซึ่งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ให้มาเป็นหัวหน้าพรรคเสรีธรรมคนต่อมา  
ภายหลังจากที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ประกาศใช้ กอปรกับวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งผลให้พรรคความหวังใหม่ประกาศลาออกจากการเป็นผู้นำรัฐบาล เนื่องมาจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นได้ และเปิดทางให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรค ขึ้นมาดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]]สมัยที่ 2 พรรคเสรีธรรมที่นำโดยนายพินิจได้ดึง นายประจวบ ไชยสาสน์ ซึ่งดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ]]ใน[[รัฐบาล]]พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ให้มาเป็นหัวหน้าพรรคเสรีธรรมคนต่อมา  


พรรคเสรีธรรม ภายใต้การนำของนายประจวบได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในปี 2544 ซึ่งประกาศหาเสียงด้วยการโฆษณานายประจวบว่าจะเป็น “นายกรัฐมนตรีของคนอีสาน”<ref>http://www.nationweekend.com/2007/11/20/N011_115_news.php?newsid=7031 </ref>  และในการเลือกตั้งในครั้งนี้ นายประจวบยังเป็นแหล่งทุนคนสำคัญของพรรค โดนนายประจวบเป็นผู้บริจาคเงินสูงสุดถึง 10 ล้านบาท <ref>http://www.the-thainews.com/misc/journal/jn040544_6.htm</ref> ในการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 77 คน<ref>http://www.ryt9.com/s/refg/249891/</ref>  ผลปรากฎว่า พรรคเสรีธรรมได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบเขต 14 คน แต่พรรคกลับได้คะแนนในระบบบัญชีรายชื่อเพียง 807,902 คะแนน เท่ากับ 2.87% ซึ่งเท่ากับว่าแกนนำของพรรคไม่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามระบบบัญชีรายชื่อแม้แต่คนเดียว<ref>Siripan Nogsuan Sawasdee, Thai Political Parties in the Age of Reform (Bangkok: Institute of Public Policy Studies, 2006), p. 114.</ref>   
พรรคเสรีธรรม ภายใต้การนำของนายประจวบได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในปี 2544 ซึ่งประกาศหาเสียงด้วยการโฆษณานายประจวบว่าจะเป็น “นายกรัฐมนตรีของคนอีสาน”<ref>http://www.nationweekend.com/2007/11/20/N011_115_news.php?newsid=7031 </ref>  และในการเลือกตั้งในครั้งนี้ นายประจวบยังเป็นแหล่งทุนคนสำคัญของพรรค โดนนายประจวบเป็นผู้บริจาคเงินสูงสุดถึง 10 ล้านบาท <ref>http://www.the-thainews.com/misc/journal/jn040544_6.htm</ref> ในการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 77 คน<ref>http://www.ryt9.com/s/refg/249891/</ref>  ผลปรากฎว่า พรรคเสรีธรรมได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบเขต 14 คน แต่พรรคกลับได้คะแนนในระบบบัญชีรายชื่อเพียง 807,902 คะแนน เท่ากับ 2.87% ซึ่งเท่ากับว่าแกนนำของพรรคไม่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามระบบบัญชีรายชื่อแม้แต่คนเดียว<ref>Siripan Nogsuan Sawasdee, Thai Political Parties in the Age of Reform (Bangkok: Institute of Public Policy Studies, 2006), p. 114.</ref>   


ในช่วงกลางปี 2544 พรรคเสรีธรรม ภายใต้การนำของนายประจวบ และนายพินิจ ได้ตัดสินใจยุบรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย (ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบรวมพรรคในวันที่ 4 ตุลาคม 2544)<ref>http://www.concourt.or.th/download/Summary_desic/44/Summary_desic_thai/center-law28-44.pdf</ref>  ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลในขณะนั้น การยุบรวมพรรคเสรีธรรมเข้ากับพรรคไทยรักไทยส่งผลให้พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นจากเดิมในเดือนมกราคมคือ 248 เสียงเป็น 262 คน เท่ากับ 52.4 เปอร์เซ็นต์ของเสียงในรัฐสภา ซึ่งเท่ากับว่า การยุบรวมพรรคในครั้งนี้ส่งผลอย่างสำคัญให้พรรคไทยรักไทยสามารถครองเสียงข้างมากส่วนใหญ่ในรัฐสภาเป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้กติกาทางการเมืองของรัฐธรรมนูญ 2540<ref>Ibid., p. 161.</ref>  
ในช่วงกลางปี 2544 พรรคเสรีธรรม ภายใต้การนำของนายประจวบ และนายพินิจ ได้ตัดสินใจ[[ยุบรวม]]เข้ากับพรรคไทยรักไทย (ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบรวมพรรคในวันที่ 4 ตุลาคม 2544)<ref>http://www.concourt.or.th/download/Summary_desic/44/Summary_desic_thai/center-law28-44.pdf</ref>  ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลในขณะนั้น การยุบรวมพรรคเสรีธรรมเข้ากับพรรคไทยรักไทยส่งผลให้พรรคไทยรักไทยมี[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]เพิ่มขึ้นจากเดิมในเดือนมกราคมคือ 248 เสียงเป็น 262 คน เท่ากับ 52.4 เปอร์เซ็นต์ของเสียงใน[[รัฐสภ]]า ซึ่งเท่ากับว่า การยุบรวมพรรคในครั้งนี้ส่งผลอย่างสำคัญให้พรรคไทยรักไทยสามารถครองเสียงข้างมากส่วนใหญ่ในรัฐสภาเป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้กติกาทางการเมืองของ[[รัฐธรรมนูญ]] 2540<ref>Ibid., p. 161.</ref>  
    
    
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:11, 27 กรกฎาคม 2553

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พรรคเสรีธรรม

ในประวัติศาสตร์การเมืองไทยนั้น พรรคการเมืองที่ชื่อว่า “เสรีธรรม” ได้ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกในปี 2522 และยุบตัวลงไปในปี 2523 โดยไม่มีบทบาททางการเมืองใดๆในขณะนั้น ต่อมาภายหลังจากเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรมในปี 2535 พรรคเสรีธรรมได้ถือกำเนิดขึ้นอีกครั้งในวันที่ 21 กรกฎาคม 2535 โดยมีชื่อในภาษาอังกฤษว่า Liberal Integrity Party มี ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค และเป็นผู้ก่อตั้งพรรคเสรีธรรมร่วมกับ นายพินิจ จารุสมบัติ

สำหรับประวัติทางการเมืองของ นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ก่อนหน้าที่จะก่อตั้งพรรคเสรีธรรม เขาเคยดำรงตำแหน่งสูงสุดทางการเมืองเป็น ประธานสภาผู้แทนราษฎร และรักษาประธานรัฐสภาในช่วงเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม และเป็นบุคคลที่เสนอชื่อ นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี (ที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง) ต่อจากพลเอกสุจินดา คราประยูร ซึ่งลาออกอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ความรุนแรงในปี 2535 ซึ่งทำให้นายอานันท์ได้เป็นนายกรัฐมนตรีถึง 2 ครั้ง

สำหรับบทบาททางการเมือง พรรคเสรีธรรมลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกในวันที่ 13 กันยายน 2535 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกภายหลังจากเหตุการณ์พฤษภาประชาธรรมสิ้นสุดลง พรรคเสรีธรรมได้ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 8 คน โดยมีพรรคประชาธิปัตย์ ภายใต้การนำของ นายชวน หลีกภัย เป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล และดร.อาทิตย์ หัวหน้าพรรคเสรีธรรม และนายพินิจ จารุสมบัติ รองหัวหน้าพรรคได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ตามลำดับ

ต่อมา เมื่อนายอาทิตย์ อุไรรัตน์ ลาออกจากการเป็นหัวหน้าพรรคเสรีธรรม และย้ายไปดำรงตำแหน่งที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ในปี 2540 พรรคเสรีธรรมได้คัดเลือกให้ นายพินิจ จารุสมบัติ รองหัวหน้าพรรค สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย 3 สมัย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคเสรีธรรมแทนนายอาทิตย์

ต่อมาในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในวันที่ 17 พฤษศจิกายน 2539 พรรคเสรีธรรมภายใต้การนำของ นายพินิจ จารุสมบัติ พรรคเสรีธรรมได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคจำนวน 4 คน โดยในการเลือกตั้งครั้งนี้มีพรรคความหวังใหม่ ที่มีพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เป็นหัวหน้าพรรคได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสูงสุด คือ 125 คน ส่งผลให้พรรคความหวังใหม่ได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล

ภายหลังจากที่รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 ประกาศใช้ กอปรกับวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งผลให้พรรคความหวังใหม่ประกาศลาออกจากการเป็นผู้นำรัฐบาล เนื่องมาจากไม่สามารถแก้ไขปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นได้ และเปิดทางให้กับพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งมีนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรค ขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีสมัยที่ 2 พรรคเสรีธรรมที่นำโดยนายพินิจได้ดึง นายประจวบ ไชยสาสน์ ซึ่งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ ให้มาเป็นหัวหน้าพรรคเสรีธรรมคนต่อมา

พรรคเสรีธรรม ภายใต้การนำของนายประจวบได้ลงสมัครรับเลือกตั้งในปี 2544 ซึ่งประกาศหาเสียงด้วยการโฆษณานายประจวบว่าจะเป็น “นายกรัฐมนตรีของคนอีสาน”[1] และในการเลือกตั้งในครั้งนี้ นายประจวบยังเป็นแหล่งทุนคนสำคัญของพรรค โดนนายประจวบเป็นผู้บริจาคเงินสูงสุดถึง 10 ล้านบาท [2] ในการเลือกตั้งครั้งนี้พรรคส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในแบบบัญชีรายชื่อจำนวน 77 คน[3] ผลปรากฎว่า พรรคเสรีธรรมได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบเขต 14 คน แต่พรรคกลับได้คะแนนในระบบบัญชีรายชื่อเพียง 807,902 คะแนน เท่ากับ 2.87% ซึ่งเท่ากับว่าแกนนำของพรรคไม่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามระบบบัญชีรายชื่อแม้แต่คนเดียว[4]

ในช่วงกลางปี 2544 พรรคเสรีธรรม ภายใต้การนำของนายประจวบ และนายพินิจ ได้ตัดสินใจยุบรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย (ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้ยุบรวมพรรคในวันที่ 4 ตุลาคม 2544)[5] ซึ่งเป็นพรรครัฐบาลในขณะนั้น การยุบรวมพรรคเสรีธรรมเข้ากับพรรคไทยรักไทยส่งผลให้พรรคไทยรักไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพิ่มขึ้นจากเดิมในเดือนมกราคมคือ 248 เสียงเป็น 262 คน เท่ากับ 52.4 เปอร์เซ็นต์ของเสียงในรัฐสภา ซึ่งเท่ากับว่า การยุบรวมพรรคในครั้งนี้ส่งผลอย่างสำคัญให้พรรคไทยรักไทยสามารถครองเสียงข้างมากส่วนใหญ่ในรัฐสภาเป็นครั้งแรกของประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้กติกาทางการเมืองของรัฐธรรมนูญ 2540[6]

อ้างอิง