ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 5:
----
----


รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่สามารถปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับสถานการณ์บ้านเมืองในระยะเวลาหนึ่ง  ซึ่งการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมักกำหนดให้ทำได้ยากกว่าการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายธรรมดา <ref> กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เรื่อง ๔. การจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๔๔, หน้า ๓๙-๕๙.</ref> ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติที่รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับจะกำหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขไว้  
[[รัฐธรรมนูญ]]เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่สามารถปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับสถานการณ์บ้านเมืองในระยะเวลาหนึ่ง  ซึ่งการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมักกำหนดให้ทำได้ยากกว่าการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายธรรมดา <ref> กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เรื่อง ๔. การจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๔๔, หน้า ๓๙-๕๙.</ref> ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติที่รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับจะกำหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขไว้  


==ความหมาย==
==ความหมาย==
บรรทัดที่ 13: บรรทัดที่ 13:
ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง หรือหลายประเด็น หรือแก้ไขทั้งฉบับโดยการจัดทำรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่  ซึ่งการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแต่ละครั้ง มีสาระสำคัญ ดังนี้
ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง หรือหลายประเด็น หรือแก้ไขทั้งฉบับโดยการจัดทำรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่  ซึ่งการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแต่ละครั้ง มีสาระสำคัญ ดังนี้


'''๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕''' <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕. '''ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙,''' หน้า ๕๒๙. วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕.</ref>  มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๓ ครั้ง คือ
'''๑. [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม]] พุทธศักราช ๒๔๗๕''' <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕. '''ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙,''' หน้า ๕๒๙. วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕.</ref>  มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๓ ครั้ง คือ


ครั้งที่ ๑ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒ <ref>รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒. '''ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๖,''' หน้า ๙๘๐. วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขนามประเทศ จาก “สยาม” เป็น “ไทย”
ครั้งที่ ๑ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒ <ref>รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒. '''ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๖,''' หน้า ๙๘๐. วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขนามประเทศ จาก “สยาม” เป็น “ไทย”
บรรทัดที่ 19: บรรทัดที่ 19:
ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓ <ref>รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓. '''ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๗,''' หน้า ๔๖๑. วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓.</ref>ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ  การขยายระยะเวลาการมีสมาชิกประเภทที่ ๒ ที่มาจากการแต่งตั้ง จาก ๑๐ ปีขยายเป็น ๒๐ ปี และเมื่อพ้นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เหลือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งประเภทเดียว โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ที่สงครามเริ่มขยายตัวเข้ามาถึงประเทศไทย   
ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓ <ref>รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓. '''ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๗,''' หน้า ๔๖๑. วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓.</ref>ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ  การขยายระยะเวลาการมีสมาชิกประเภทที่ ๒ ที่มาจากการแต่งตั้ง จาก ๑๐ ปีขยายเป็น ๒๐ ปี และเมื่อพ้นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เหลือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งประเภทเดียว โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ที่สงครามเริ่มขยายตัวเข้ามาถึงประเทศไทย   


ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพุทธศักราช ๒๔๘๕ <ref>รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๔๘๕. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๕ เล่ม ๕๙,''' วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕.</ref>ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ออกไปอีกคราวละไม่เกิน ๒ ปี  และถ้าตำแหน่งว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นแทน แต่ให้อยู่ในตำแหน่งเท่ากำหนดเวลาของผู้ที่เข้ามาแทน  สาเหตุสำคัญที่มีการขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง จากการเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒  ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการจัดการเลือกตั้ง ซึ่งการขยายระยะเวลาดังกล่าวมี ๒ ครั้ง คือ  ในปีพ.ศ. ๒๔๘๕ และ พ.ศ. ๒๔๘๗
ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพุทธศักราช ๒๔๘๕ <ref>รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๔๘๕. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๕ เล่ม ๕๙,''' วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕.</ref>ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ออกไปอีกคราวละไม่เกิน ๒ ปี  และถ้าตำแหน่งว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นแทน แต่ให้อยู่ในตำแหน่งเท่ากำหนดเวลาของผู้ที่เข้ามาแทน  สาเหตุสำคัญที่มีการขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง จากการเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒  ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการจัด[[การเลือกตั้ง]] ซึ่งการขยายระยะเวลาดังกล่าวมี ๒ ครั้ง คือ  ในปีพ.ศ. ๒๔๘๕ และ พ.ศ. ๒๔๘๗


'''๒. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๙๐)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๔๙๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ เล่ม ๖๔,'''วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐</ref> มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๓ ครั้ง คือ
'''๒. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๙๐)'''<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๔๙๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ เล่ม ๖๔,'''วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐</ref> มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๓ ครั้ง คือ
บรรทัดที่ 27: บรรทัดที่ 27:
ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๔๙๑. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ เล่ม ๖๕,''' วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การแก้ไขกำหนดเวลาในการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร และวิธีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยกำหนดให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ยกร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน ๑๘๐ วัน
ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๔๙๑. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ เล่ม ๖๕,''' วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การแก้ไขกำหนดเวลาในการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร และวิธีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยกำหนดให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ยกร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน ๑๘๐ วัน


ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๘ เล่ม ๖๕,''' วันที่  ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่  ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การกำหนดให้สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมีเอกสิทธิ์ และได้รับความคุ้มกันเช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๘ เล่ม ๖๕,''' วันที่  ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่  ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การกำหนดให้สมาชิก[[สภาร่างรัฐธรรมนูญ]]มี[[เอกสิทธิ์]] และได้รับความคุ้มกันเช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


'''๓. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗''' <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๖๙  เล่ม ๙๑,''' วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๗.</ref> มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๑ ครั้ง คือ  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔ เล่ม ๙๒,'''  วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่            ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การแก้ไขให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาแทนประธานองคมนตรี
'''๓. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗''' <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๖๙  เล่ม ๙๑,''' วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๗.</ref> มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๑ ครั้ง คือ  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔ เล่ม ๙๒,'''  วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่            ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การแก้ไขให้[[นายกรัฐมนตรี]]เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาแทนประธานองคมนตรี


'''๔. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑''' <ref>๑๒. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๖ (ฉบับพิเศษ) เล่ม ๙๕,''' วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑.</ref>  มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๒ ครั้ง คือ  
'''๔. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑''' <ref>๑๒. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๖ (ฉบับพิเศษ) เล่ม ๙๕,''' วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑.</ref>  มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๒ ครั้ง คือ  


ครั้งที่ ๑  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๐๕ เล่ม ๑๐๒,''' วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขวิธีการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมเป็นแบบรวมเขตโดยถือเอาจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง  เป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งตามจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และเปลี่ยนการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นคณะตามบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้ง เป็น  การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรายบุคคล  
ครั้งที่ ๑  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๐๕ เล่ม ๑๐๒,''' วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขวิธีการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมเป็นแบบรวมเขตโดยถือเอาจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง  เป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งตามจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และเปลี่ยนการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นคณะตามบัญชีรายชื่อที่[[พรรคการเมือง]]ส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้ง เป็น  การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรายบุคคล  


ครั้งที่ ๒  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๒ เล่ม ๑๐๖,''' วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา  และให้ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา และให้นำข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรมาใช้บังคับในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา
ครั้งที่ ๒  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๒ เล่ม ๑๐๖,''' วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒  มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา  และให้ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา และให้นำข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรมาใช้บังคับในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา
บรรทัดที่ 49: บรรทัดที่ 49:
ครั้งที่ ๕  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕)พุทธศักราช ๒๕๓๘ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ ก เล่ม ๑๑๒,''' วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘, หน้า ๑.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙  แก้ไขเพิ่มเติมในส่วนสำคัญเกือบทั้งฉบับ ตั้งแต่มาตรา ๒๔ ถึงมาตรา ๒๑๑  โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ แสดงถึงความรู้รักสามัคคีของคนในชาติ  โดยมีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้  
ครั้งที่ ๕  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕)พุทธศักราช ๒๕๓๘ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ ก เล่ม ๑๑๒,''' วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘, หน้า ๑.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙  แก้ไขเพิ่มเติมในส่วนสำคัญเกือบทั้งฉบับ ตั้งแต่มาตรา ๒๔ ถึงมาตรา ๒๑๑  โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ แสดงถึงความรู้รักสามัคคีของคนในชาติ  โดยมีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้  


๑)รัฐสภา ประกอบด้วย วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร โดยแก้ไขเกี่ยวกับที่มา คุณสมบัติ และวาระการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา   
๑)[[รัฐสภา]] ประกอบด้วย [[วุฒิสภา]] และ[[สภาผู้แทนราษฎร]] โดยแก้ไขเกี่ยวกับที่มา คุณสมบัติ และวาระการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา   


๒)องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี โดยกำหนดให้คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๔๘ คน และให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
๒)องค์ประกอบของ[[คณะรัฐมนตรี]] โดยกำหนดให้คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๔๘ คน และให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี


๓)พรรคการเมือง กำหนดให้พรรคการเมืองต้องส่งสมาชิกเข้าสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดรวมกันไม่น้อยกว่า  หนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่จะพึงมีในการเลือกตั้งครั้งนั้น และต้องส่งสมัครรับเลือกตั้งให้ครบจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จะพึงมีได้ในแต่ละเขตเลือกตั้ง และจะส่งได้คณะเดียวในเขตเลือกตั้งหนึ่งเขต และเมื่อพรรคการเมืองใดส่งสมาชิกสมัครรับเลือกตั้งแล้ว จะถอนการสมัครรับเลือกตั้งมิได้
๓)[[พรรคการเมือง]] กำหนดให้พรรคการเมืองต้องส่งสมาชิกเข้าสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดรวมกันไม่น้อยกว่า  หนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่จะพึงมีในการเลือกตั้งครั้งนั้น และต้องส่งสมัครรับเลือกตั้งให้ครบจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จะพึงมีได้ในแต่ละเขตเลือกตั้ง และจะส่งได้คณะเดียวในเขตเลือกตั้งหนึ่งเขต และเมื่อพรรคการเมืองใดส่งสมาชิกสมัครรับเลือกตั้งแล้ว จะถอนการสมัครรับเลือกตั้งมิได้


๔)เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ ภายในหกสิบวัน  
๔)เมื่อมี[[การยุบสภา]]ผู้แทนราษฎร กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ ภายในหกสิบวัน  


๕)คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยกำหนดอายุของผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า  ๑๘ ปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑ มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง
๕)คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยกำหนดอายุของผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า  ๑๘ ปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑ มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง


๖)ให้มีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการรัฐสภา และศาลปกครอง
๖)ให้มี[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง]] [[ผู้ตรวจการรัฐสภา]] และ[[ศาลปกครอง]]


ครั้งที่ ๖  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖)พุทธศักราช ๒๕๓๙ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๕๓๙. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ ก เล่ม ๑๑๓,''' วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙, หน้า ๑.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ ให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญทำหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุมัติรัฐธรรมนูญโดยการออกเสียงประชามติ
ครั้งที่ ๖  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖)พุทธศักราช ๒๕๓๙ <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๕๓๙. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ ก เล่ม ๑๑๓,''' วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙, หน้า ๑.</ref>  ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ ให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญทำหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุมัติรัฐธรรมนูญโดยการออกเสียงประชามติ


'''๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐''' <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๑๔,''' วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๑.</ref> มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๑ ครั้ง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)พุทธศักราช ๒๕๔๘ [<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๔๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๒๒,'''  วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘, หน้า ๑.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ            ที่กำหนดให้มีกรรมการสรรหามาจากผู้แทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคละหนึ่งคนซึ่งเลือกกันเองให้เหลือห้าคนเป็นกรรมการด้วย            แต่ในขณะนั้นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีเพียงสี่พรรคการเมือง ทำให้ไม่อาจดำเนินการให้มีองค์ประกอบคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปราม        การทุจริตแห่งชาติได้ครบถ้วนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ จึงสมควรแก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา เพื่อให้สามารถดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไปได้
'''๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐''' <ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๑๔,''' วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๑.</ref> มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๑ ครั้ง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)พุทธศักราช ๒๕๔๘ [<ref>รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๔๘. '''ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๒๒,'''  วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘, หน้า ๑.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ            ที่กำหนดให้มีกรรมการสรรหามาจากผู้แทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคละหนึ่งคนซึ่งเลือกกันเองให้เหลือห้าคนเป็นกรรมการด้วย            แต่ในขณะนั้นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีเพียงสี่พรรคการเมือง ทำให้ไม่อาจดำเนินการให้มีองค์ประกอบคณะกรรมการสรรหา[[กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ]]ได้ครบถ้วนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ จึงสมควรแก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา เพื่อให้สามารถดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไปได้


==การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐==
==การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐==
บรรทัดที่ 78: บรรทัดที่ 78:
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่า    กึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่า    กึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา


(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการ      รับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มี[[การรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน]]ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย


การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ
บรรทัดที่ 86: บรรทัดที่ 86:
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา


(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวาย ภายใน ๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างนั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย   หากพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วย และพระราชทานคืนมายังรัฐสภา  หรือเมื่อพ้น ๙๐ วันแล้ว มิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างรัฐธรรมนูญนั้นใหม่ ถ้ายืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งสองสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อครบกำหนด    ๓๐ วันแล้ว พระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชทานคืนมายังรัฐสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายสูงสุดได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวาย ภายใน ๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างนั้นจากรัฐสภา เพื่อ[[พระมหากษัตริย์]]ทรงลงพระปรมาภิไธย   หากพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วย และพระราชทานคืนมายังรัฐสภา  หรือเมื่อพ้น ๙๐ วันแล้ว มิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างรัฐธรรมนูญนั้นใหม่ ถ้ายืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งสองสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อครบกำหนด    ๓๐ วันแล้ว พระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชทานคืนมายังรัฐสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายสูงสุดได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว


หลักการแก้ไขรัฐธรรมนูญมีอยู่สองการคือ ให้แก้ไขได้ง่ายและแก้ไขได้ยาก ซึ่งเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้ใช้หลักการแก้ไขได้ง่าย โดยรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญได้ง่ายขึ้นกว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ โดยบัญญัติ    เพิ่มให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อ  เสนอกฎหมาย สามารถเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญได้ และผู้เข้าชื่อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญต้องตั้งตัวแทนเข้าชี้แจงเหตุผลและร่วมเป็นกรรมาธิการเพื่อพิจารณาแก้ไขด้วย <ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า ๒๘๔-๒๘๕.</ref>
หลัก[[การแก้ไขรัฐธรรมนูญ]]มีอยู่สองการคือ ให้แก้ไขได้ง่ายและแก้ไขได้ยาก ซึ่งเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้ใช้หลักการแก้ไขได้ง่าย โดยรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญได้ง่ายขึ้นกว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ โดยบัญญัติ    เพิ่มให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อ  เสนอกฎหมาย สามารถเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญได้ และผู้เข้าชื่อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญต้องตั้งตัวแทนเข้าชี้แจงเหตุผลและร่วมเป็นกรรมาธิการเพื่อพิจารณาแก้ไขด้วย <ref>คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. '''เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐.''' กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า ๒๘๔-๒๘๕.</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:21, 24 กรกฎาคม 2552

ผู้เรียบเรียง ศุภพรรัตน์ สุขพุ่ม

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ ที่สามารถปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับสถานการณ์บ้านเมืองในระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นมักกำหนดให้ทำได้ยากกว่าการแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายธรรมดา [1] ขึ้นอยู่กับบทบัญญัติที่รัฐธรรมนูญแต่ละฉบับจะกำหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขไว้

ความหมาย

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ หมายถึง การเปลี่ยนแปลง หรือแก้ไขถ้อยคำ ข้อความหรือเนื้อหาในรัฐธรรมนูญที่มีอยู่เดิมแล้ว หรือเป็นการเพิ่มเติมถ้อยคำ ข้อความหรือเนื้อหาใหม่เข้าไป ทั้งนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บ้านเมืองในขณะนั้น [2]

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่ผ่านมา

ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของประเทศไทย มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญในประเด็นใดประเด็นหนึ่ง หรือหลายประเด็น หรือแก้ไขทั้งฉบับโดยการจัดทำรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ ซึ่งการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแต่ละครั้ง มีสาระสำคัญ ดังนี้

๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕ [3] มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๓ ครั้ง คือ

ครั้งที่ ๑ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒ [4] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขนามประเทศ จาก “สยาม” เป็น “ไทย”

ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓ [5]ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การขยายระยะเวลาการมีสมาชิกประเภทที่ ๒ ที่มาจากการแต่งตั้ง จาก ๑๐ ปีขยายเป็น ๒๐ ปี และเมื่อพ้นกำหนดเวลาดังกล่าวให้เหลือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งประเภทเดียว โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ที่สงครามเริ่มขยายตัวเข้ามาถึงประเทศไทย

ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพุทธศักราช ๒๔๘๕ [6]ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ออกไปอีกคราวละไม่เกิน ๒ ปี และถ้าตำแหน่งว่างลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรขึ้นแทน แต่ให้อยู่ในตำแหน่งเท่ากำหนดเวลาของผู้ที่เข้ามาแทน สาเหตุสำคัญที่มีการขยายระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง จากการเกิดสงครามโลกครั้งที่ ๒ ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการจัดการเลือกตั้ง ซึ่งการขยายระยะเวลาดังกล่าวมี ๒ ครั้ง คือ ในปีพ.ศ. ๒๔๘๕ และ พ.ศ. ๒๔๘๗

๒. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๙๐)[7] มีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ๓ ครั้ง คือ

ครั้งที่ ๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๙๐ [8] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขวิธีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน โดยให้ใช้วิธีการเลือกตั้งแบบรวมเขตจังหวัด และกำหนดจำนวนราษฎรสองแสนคนต่อสมาชิกสภาผู้แทน ๑ คน และ ตลอดจนกำหนดคุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งให้มีอายุไม่ต่ำกว่า ๓๕ ปี

ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑ [9] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การแก้ไขกำหนดเวลาในการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวร และวิธีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยกำหนดให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญเป็นผู้ยกร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน ๑๘๐ วัน

ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑ [10] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การกำหนดให้สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญมีเอกสิทธิ์ และได้รับความคุ้มกันเช่นเดียวกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

๓. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ [11] มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๑ ครั้ง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘ [12] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การแก้ไขให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาแทนประธานองคมนตรี

๔. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ [13] มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๒ ครั้ง คือ

ครั้งที่ ๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘ [14] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขวิธีการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมเป็นแบบรวมเขตโดยถือเอาจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง เป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งตามจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และเปลี่ยนการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นคณะตามบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองส่งเข้าสมัครรับเลือกตั้ง เป็น การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรายบุคคล

ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒ [15] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และให้ประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา และให้นำข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรมาใช้บังคับในการประชุมร่วมกันของรัฐสภา

๕. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔ [16] มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๖ ครั้ง คือ

ครั้งที่ ๑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)พุทธศักราช ๒๕๓๕ [17] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไขให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา รวมทั้งแก้ไของค์ประกอบของคณะตุลาการรัฐธรรมนูญให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

ครั้งที่ ๒ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๕ [18] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีประเด็นสำคัญใน การแก้ไขเพิ่มเติม คือ กำหนดให้ปีหนึ่งมีสมัยประชุมสามัญของรัฐสภาสองสมัย และการประชุมในสมัยประชุมสามัญประจำปีครั้งที่สองของรัฐสภา วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร สามารถพิจารณาเรื่องต่างๆ ได้เช่นเดียวกับสมัยสามัญประจำปีครั้งที่หนึ่ง

ครั้งที่ ๓ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓)พุทธศักราช ๒๕๓๕ [19] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การยกเลิกอำนาจของวุฒิสภาในการเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป เพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงความคิดเห็นในปัญหาอันเกี่ยวกับการบริหารราชการแผ่นดิน และบทบัญญัติที่ให้วุฒิสภามีสิทธิเข้าชื่อในการขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีเป็นรายบุคคลหรือทั้งคณะ

ครั้งที่ ๔ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔)พุทธศักราช ๒๕๓๕ [20] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ การกำหนดคุณสมบัติของผู้จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ครั้งที่ ๕ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕)พุทธศักราช ๒๕๓๘ [21] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๙ แก้ไขเพิ่มเติมในส่วนสำคัญเกือบทั้งฉบับ ตั้งแต่มาตรา ๒๔ ถึงมาตรา ๒๑๑ โดยให้เหตุผลว่าเพื่อให้เกิดความสมานฉันท์ แสดงถึงความรู้รักสามัคคีของคนในชาติ โดยมีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม ดังนี้

๑)รัฐสภา ประกอบด้วย วุฒิสภา และสภาผู้แทนราษฎร โดยแก้ไขเกี่ยวกับที่มา คุณสมบัติ และวาระการดำรงตำแหน่งของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา

๒)องค์ประกอบของคณะรัฐมนตรี โดยกำหนดให้คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน ๔๘ คน และให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี

๓)พรรคการเมือง กำหนดให้พรรคการเมืองต้องส่งสมาชิกเข้าสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดรวมกันไม่น้อยกว่า หนึ่งในสี่ของจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดที่จะพึงมีในการเลือกตั้งครั้งนั้น และต้องส่งสมัครรับเลือกตั้งให้ครบจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่จะพึงมีได้ในแต่ละเขตเลือกตั้ง และจะส่งได้คณะเดียวในเขตเลือกตั้งหนึ่งเขต และเมื่อพรรคการเมืองใดส่งสมาชิกสมัครรับเลือกตั้งแล้ว จะถอนการสมัครรับเลือกตั้งมิได้

๔)เมื่อมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นใหม่ ภายในหกสิบวัน

๕)คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง โดยกำหนดอายุของผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า ๑๘ ปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑ มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง

๖)ให้มีคณะกรรมการการเลือกตั้ง ผู้ตรวจการรัฐสภา และศาลปกครอง

ครั้งที่ ๖ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖)พุทธศักราช ๒๕๓๙ [22] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ มีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ ให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญทำหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ และเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุมัติรัฐธรรมนูญโดยการออกเสียงประชามติ

๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ [23] มีการแก้ไขเพิ่มเติม ๑ ครั้ง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑)พุทธศักราช ๒๕๔๘ [[24] ประกาศใช้เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ โดยมีประเด็นสำคัญในการแก้ไขเพิ่มเติม คือ แก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ที่กำหนดให้มีกรรมการสรรหามาจากผู้แทนพรรคการเมืองทุกพรรคที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคละหนึ่งคนซึ่งเลือกกันเองให้เหลือห้าคนเป็นกรรมการด้วย แต่ในขณะนั้นพรรคการเมืองที่มีสมาชิกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีเพียงสี่พรรคการเมือง ทำให้ไม่อาจดำเนินการให้มีองค์ประกอบคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติได้ครบถ้วนตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ จึงสมควรแก้ไของค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา เพื่อให้สามารถดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไปได้

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐

[25]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๙๑ ได้บัญญัติให้การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ต้องกระทำตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณาเป็นสามวาระ

(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย

การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ

(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป

(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวาย ภายใน ๒๐ วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างนั้นจากรัฐสภา เพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย หากพระมหากษัตริย์ไม่ทรงเห็นชอบด้วย และพระราชทานคืนมายังรัฐสภา หรือเมื่อพ้น ๙๐ วันแล้ว มิได้พระราชทานคืนมา รัฐสภาจะต้องปรึกษาร่างรัฐธรรมนูญนั้นใหม่ ถ้ายืนยันตามเดิมด้วยคะแนนเสียง ๒ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งสองสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายอีกครั้งหนึ่ง เมื่อครบกำหนด ๓๐ วันแล้ว พระมหากษัตริย์มิได้ทรงลงพระปรมาภิไธย พระราชทานคืนมายังรัฐสภา ให้นายกรัฐมนตรีนำร่างรัฐธรรมนูญนั้นประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับเป็นกฎหมายสูงสุดได้ เสมือนหนึ่งว่าพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว

หลักการแก้ไขรัฐธรรมนูญมีอยู่สองการคือ ให้แก้ไขได้ง่ายและแก้ไขได้ยาก ซึ่งเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ได้ใช้หลักการแก้ไขได้ง่าย โดยรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญได้ง่ายขึ้นกว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ โดยบัญญัติ เพิ่มให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อ เสนอกฎหมาย สามารถเสนอให้แก้ไขรัฐธรรมนูญได้ และผู้เข้าชื่อเสนอแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญต้องตั้งตัวแทนเข้าชี้แจงเหตุผลและร่วมเป็นกรรมาธิการเพื่อพิจารณาแก้ไขด้วย [26]

อ้างอิง

  1. กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เรื่อง ๔. การจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๔๔, หน้า ๓๙-๕๙.
  2. กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์, สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เรื่อง ๔. การจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ, กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๔๔, หน้า ๓๙-๕๙.
  3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙, หน้า ๕๒๙. วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕.
  4. รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๖, หน้า ๙๘๐. วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒.
  5. รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๗, หน้า ๔๖๑. วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓.
  6. รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๔๘๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๕ เล่ม ๕๙, วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕.
  7. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๔๙๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ เล่ม ๖๔,วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐
  8. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๙๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๖๐ เล่ม ๖๔,วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐.
  9. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๔๙๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ เล่ม ๖๕, วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑.
  10. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๘ เล่ม ๖๕, วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑.
  11. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๖๙ เล่ม ๙๑, วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๗.
  12. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔ เล่ม ๙๒, วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘.
  13. ๑๒. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๖ (ฉบับพิเศษ) เล่ม ๙๕, วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑.
  14. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๐๕ เล่ม ๑๐๒, วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘.
  15. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๒ เล่ม ๑๐๖, วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒.
  16. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๒๑๖ เล่ม ๑๐๘, วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔, หน้า ๑.
  17. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๒ เล่ม ๑๐๙, วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕, หน้า ๑.
  18. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๒ เล่ม ๑๐๙, วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕, หน้า ๕.
  19. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๒ เล่ม ๑๐๙, วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕, หน้า ๘.
  20. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๙๕ เล่ม ๑๐๙, วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕, หน้า ๑.
  21. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ ก เล่ม ๑๑๒, วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘, หน้า ๑.
  22. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๕๓๙. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ ก เล่ม ๑๑๓, วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙, หน้า ๑.
  23. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๑๔, วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐, หน้า ๑.
  24. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๔๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๒๒, วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘, หน้า ๑.
  25. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๗ ก เล่ม ๑๒๔, วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐, หน้า ๑.
  26. คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า ๒๘๔-๒๘๕.


บรรณานุกรม

กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์. (๒๕๔๔). สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เรื่อง ๔. การจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา.

คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (๒๕๕๐). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

พูนศักดิ์ ไวสำรวจ. (๒๕๔๐). รายงานการวิจัย รูปแบบและวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. เสนอคณะกรรมการพัฒนาประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช ๒๔๗๕. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๔๙. วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕.

รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยนามประเทศ พุทธศักราช ๒๔๘๒. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๖. วันที่ ๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๒.

รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยบทเฉพาะกาล พุทธศักราช ๒๔๘๓. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๗. วันที่ ๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๘๓.

รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พุทธศักราช ๒๔๘๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๕ เล่ม ๕๙. วันที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๕.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พ.ศ. ๒๔๙๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ เล่ม ๖๔. วันที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๐.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๔๙๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๖๐ เล่ม ๖๔. วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๐.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๔๙๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ เล่ม ๖๕. วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๑.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) แก้ไขเพิ่มเติม (ฉะบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๔๙๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๘ เล่ม ๖๕. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๙๑.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๖๙ เล่ม ๙๑. วันที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๗.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๑๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔ เล่ม ๙๒. วันที่ ๒๓ มกราคม พ.ศ. ๒๕๑๘.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๖ (ฉบับพิเศษ) เล่ม ๙๕. วันที่ ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๑.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๒๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๐๕ เล่ม ๑๐๒. วันที่ ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒)พุทธศักราช ๒๕๓๒. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๑๔๒ เล่ม ๑๐๖. วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๒.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๓๔. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๒๑๖ เล่ม ๑๐๘. วันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๒ เล่ม ๑๐๙. วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๒ เล่ม ๑๐๙. วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗๒ เล่ม ๑๐๙. วันที่ ๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๕.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๔) พุทธศักราช ๒๕๓๕. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๙๕ เล่ม ๑๐๙. วันที่ ๑๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๓๕.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักราช ๒๕๓๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๗ ก เล่ม ๑๑๒. วันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๘.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๖) พุทธศักราช ๒๕๓๙. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๓ ก เล่ม ๑๑๓. วันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๓๙.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๑๔. วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๐.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๔๘. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๕๕ ก เล่ม ๑๒๒. วันที่ ๑๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๘.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. ราชกิจจานุเบกษา ตอนที่ ๔๗ ก เล่ม ๑๒๔. วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๐.


หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์. (๒๕๔๔). สารานุกรมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. ๒๕๔๐) หมวดรัฐธรรมนูญและกฎหมาย เรื่อง ๔. การจัดทำและแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ : องค์การค้าของคุรุสภา.

คณะกรรมาธิการวิสามัญบันทึกเจตนารมณ์ จดหมายเหตุ และตรวจรายงานการประชุม สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (๒๕๕๐). เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

พูนศักดิ์ ไวสำรวจ. (๒๕๔๐). รายงานการวิจัย รูปแบบและวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ. เสนอคณะกรรมการพัฒนาประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.