ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ล็อคดาวน์"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย "<p style="text-align: center;">'''ล็อคดาวน์'''</p> ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
<p style="text-align: center;">'''ล็อคดาวน์'''</p>  
<p style="text-align: center;">'''ล็อคดาวน์'''</p>  
ผู้เรียบเรียง รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว
'''ผู้เรียบเรียง :'''&nbsp;รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' ดร.สติธร ธนานิธิโชติ


----
----


'''บทนำ'''
= <span style="font-size:x-large;">'''บทนำ'''</span> =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ล็อคดาวน์ (Government Lockdown) เป็นมาตรการของรัฐต่างๆ ทั่วโลกใช้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ความเข้มข้นของมาตรการล็อคดาวน์ในแต่ละประเทศมีมากน้อยต่างกัน แต่โดยทั่วไปแล้วมักประกอบด้วยการกำหนดให้ประชาชนงดการเคลื่อนย้าย กักตัวอยู่ในที่พักอาศัย การปิดพรมแดน การประกาศเคอร์ฟิวส์ การให้ทำงานจากที่พัก การปิดสถานศึกษา การงดกิจกรรมและการรวมกลุ่มทางสังคม รวมถึงการปิดสถานบริการและห้างร้านต่างๆ ยกเว้นแต่เพียงธุรกิจที่จำเป็น เช่น ร้านสะดวกซื้อ ซุปเปอร์มาร์เก็ต และบริการทางการแพทย์ เป็นต้น ทั้งนี้ มาตรการล็อคดาวน์ของรัฐบาลมักประกาศเป็นคำสั่งในระยะสั้นๆ เพื่อลดจำนวนผู้ติดเชื้อ เนื่องจากส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น รัฐบาลจึงมักมีมาตรการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการล็อคดาวน์ ในกรณีของประเทศไทย รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศให้มีการล็อคดาวน์เต็มรูปแบบทั่วประเทศครั้งแรกในเดือนเมษายน 2563 และครั้งต่อมาเมื่อตัวเลขผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นเกือบหมื่นรายต่อวัน รัฐบาลจึงประกาศล็อคดาวน์ เฉพาะบางพื้นที่ในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 2564 ถึงแม้การล็อคดาวน์จะสามารถลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อโคโรนาไวรัสได้ในระดับหนึ่ง แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่าก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; [[ล็อคดาวน์]] '''(Government Lockdown)''' เป็นมาตรการของรัฐต่าง ๆ ทั่วโลกใช้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ความเข้มข้นของมาตรการล็อคดาวน์ในแต่ละประเทศมีมากน้อยต่างกัน แต่โดยทั่วไปแล้วมักประกอบด้วยการกำหนดให้ประชาชนงดการเคลื่อนย้าย กักตัวอยู่ในที่พักอาศัย การปิดพรมแดน การประกาศเคอร์ฟิวส์ การให้ทำงานจากที่พัก การปิดสถานศึกษา การงดกิจกรรมและการรวมกลุ่มทางสังคม รวมถึงการปิดสถานบริการและห้างร้านต่าง ๆ ยกเว้นแต่เพียงธุรกิจที่จำเป็น เช่น ร้านสะดวกซื้อ ซุปเปอร์มาร์เก็ต และบริการทางการแพทย์ เป็นต้น ทั้งนี้ มาตรการล็อคดาวน์ของรัฐบาลมักประกาศเป็นคำสั่งในระยะสั้น ๆ เพื่อลดจำนวนผู้ติดเชื้อ เนื่องจากส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น รัฐบาลจึงมักมีมาตรการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการล็อคดาวน์ ในกรณีของประเทศไทยรัฐบาล พลเอก[[ประยุทธ์_จันทร์โอชา]] ประกาศให้มีการล็อคดาวน์เต็มรูปแบบทั่วประเทศครั้งแรกในเดือนเมษายน 2563 และครั้งต่อมาเมื่อตัวเลขผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นเกือบหมื่นรายต่อวัน รัฐบาลจึงประกาศล็อคดาวน์ เฉพาะบางพื้นที่ในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 2564 ถึงแม้การล็อคดาวน์จะสามารถลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อโคโรนาไวรัสได้ในระดับหนึ่ง แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่าก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว


&nbsp;
= <span style="font-size:x-large;">'''การล็อคดาวน์ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก'''</span> =


'''การล็อคดาวน์ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 ช่วงปลายปี 2562 การล็อคดาวน์หรือการปิดเมืองถือเป็นมาตรการหนึ่งที่ถูกใช้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เนื่องจากการล็อคดาวน์ ช่วยลดความใกล้ชิดกันของผู้คนซึ่งจะเป็นพาหะนำเชื้อเข้าสู่ร่างกาย การล็อคดาวน์เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ถูกใช้อย่างเป็นทางการที่แรกในเมืองอู่ฮั่น (Wuhan) มณฑลหูเป่ย (Hubei) สาธารณรัฐประชาชนจีนราว เดือนมกราคม 2563 และเมื่อเป็นที่แน่ชัดว่าเชื้อได้แพร่ระบาดไปทั่วโลก การล็อคดาวน์ก็กลายเป็นมาตรการเร่งด่วนที่รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ใช้กันอย่างแพร่หลาย เมื่อถึงเดือนเมษายน 2563 กว่าครึ่งหนึ่งของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอยู่ภายใต้มาตรการล็อคดาวน์ซึ่งครอบคลุมประชากรมากกว่า 3.9 พันล้านคน จาก 90 ประเทศ[[#_ftn1|[1]]] แม้การล็อคดาวน์จะเป็นมาตรการที่จำเป็นในการหยุดยั้งโควิด-19 และลดจำนวนการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ ทว่าควรเป็นมาตรการที่บังคับใช้ในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ให้คำแนะนำต่อผู้นำทั่วโลกว่าการล็อคดาวน์ไม่ควรเป็นวิธีการหลักในการควบคุมโคโรนาไวรัส เพราะในสถานการณ์ที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโควิด-19 การล็อคดาวน์ควรถูกใช้เพียงเพื่อซื้อเวลาให้รัฐบาลจัดการ และจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อต่อสู้กับโรคระบาดเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อป้องกันบุคลากรทางการแพทย์และชะลอสถานการณ์ที่ผู้ป่วยติดเชื้อจะมีล้นเกินกว่าระบบสาธารณสุขของประเทศจะรับไหว ดังนั้น ในช่วงเวลาแห่งการล็อคดาวน์ รัฐบาลก็ควรใช้เวลานี้ให้คุ้มค่ามากที่สุดเพราะการลดระดับการเคลื่อนย้ายเดินทาง จะส่งผลอย่างยิ่งต่อประเทศยากจนและคนยากไร้ให้ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลำบากมากขึ้นไปอีก[[#_ftn2|[2]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; นับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 ช่วงปลายปี 2562 การล็อคดาวน์หรือการปิดเมืองถือเป็นมาตรการหนึ่งที่ถูกใช้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เนื่องจากการล็อคดาวน์ ช่วยลดความใกล้ชิดกันของผู้คนซึ่งจะเป็นพาหะนำเชื้อเข้าสู่ร่างกาย การล็อคดาวน์เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ถูกใช้อย่างเป็นทางการที่แรกในเมืองอู่ฮั่น (Wuhan) มณฑลหูเป่ย (Hubei) สาธารณรัฐประชาชนจีนราว เดือนมกราคม 2563 และเมื่อเป็นที่แน่ชัดว่าเชื้อได้แพร่ระบาดไปทั่วโลก การล็อคดาวน์ก็กลายเป็นมาตรการเร่งด่วนที่รัฐบาลประเทศต่างๆ ใช้กันอย่างแพร่หลาย เมื่อถึงเดือนเมษายน 2563 กว่าครึ่งหนึ่งของประเทศต่างๆ ทั่วโลกอยู่ภายใต้มาตรการล็อคดาวน์ซึ่งครอบคลุมประชากรมากกว่า 3.9 พันล้านคน จาก 90 ประเทศ[[#_ftn1|[1]]] แม้การล็อคดาวน์จะเป็นมาตรการที่จำเป็นในการหยุดยั้งโควิด-19 และลดจำนวนการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ ทว่าควรเป็นมาตรการที่บังคับใช้ในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ให้คำแนะนำต่อผู้นำทั่วโลกว่าการล็อคดาวน์ไม่ควรเป็นวิธีการหลักในการควบคุมโคโรนาไวรัส เพราะในสถานการณ์ที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโควิด-19 การล็อคดาวน์ควรถูกใช้เพียงเพื่อซื้อเวลาให้รัฐบาลจัดการ และจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อต่อสู้กับโรคระบาดเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อป้องกันบุคลากรทางการแพทย์และชะลอสถานการณ์ที่ผู้ป่วยติดเชื้อจะมีล้นเกินกว่าระบบสาธารณสุขของประเทศจะรับไหว ดังนั้น ในช่วงเวลาแห่งการล็อคดาวน์ รัฐบาลก็ควรใช้เวลานี้ให้คุ้มค่ามากที่สุดเพราะการลดระดับการเคลื่อนย้ายเดินทาง จะส่งผลอย่างยิ่งต่อประเทศยากจนและคนยากไร้ให้ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลำบากมากขึ้นไปอีก[[#_ftn2|[2]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ด้วยเหตุที่ การล็อคดาวน์ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อประชาชนทั้งทางกายภาพ ทางจิตวิทยา และทางเศรษฐกิจ องค์การอนามัยโลกจึงกังวลว่าการล็อคดาวน์เป็นเวลานานเกินไปจะส่งผลเสียมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้น จึงแนะนำให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ผ่อนคลายมาตรการล็อคดาวน์ลงหากสามารถบรรลุเงื่อนไข 6 ข้อ[[#_ftn3|[3]]] ดังต่อไปนี้


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ด้วยเหตุที่ การล็อคดาวน์ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อประชาชนทั้งทางกายภาพ ทางจิตวิทยา และทางเศรษฐกิจ องค์การอนามัยโลกจึงกังวลว่าการล็อคดาวน์เป็นเวลานานเกินไปจะส่งผลเสียมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้น จึงแนะนำให้รัฐบาลประเทศต่างๆ ผ่อนคลายมาตรการล็อคดาวน์ลงหากสามารถบรรลุเงื่อนไข 6 ข้อ[[#_ftn3|[3]]] ดังต่อไปนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;''1. การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัสอยู่ในการควบคุมได้''


&nbsp;
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2. ระบบสาธารณสุขมีศักยภาพที่จะสืบพบ ทดสอบหาเชื้อ แยกตัว และรักษาผู้ป่วยทุกราย รวมถึงติดตามประวัติของผู้ที่มาปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วยทุกรายด้วย''


#การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัสอยู่ในการควบคุมได้
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3. จุดเสี่ยงสูงลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ โดยเฉพาะในพื้นที่เปราะบาง เช่น สถานบริการด้านสุขภาพ''
#ระบบสาธารณสุขมีศักยภาพที่จะสืบพบ ทดสอบหาเชื้อ แยกตัว และรักษาผู้ป่วยทุกราย รวมถึงติดตามประวัติของผู้ที่มาปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วยทุกรายด้วย
#จุดเสี่ยงสูงลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ โดยเฉพาะในพื้นที่เปราะบาง เช่น สถานบริการด้านสุขภาพ  
#สถานที่ทำงาน สถานศึกษา และสถานที่สำคัญอื่นๆ มีมาตรการป้องกันอย่างรัดกุม
#มีมาตรการเตรียมพร้อมรับมือความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเกิดผู้ป่วยรายใหม่
#ชุมชนมีความรู้ความพร้อมและความเข้าใจเพียงพอที่จะใช้ชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ (new normal)


&nbsp;
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 4. สถานที่ทำงาน สถานศึกษา และสถานที่สำคัญอื่นๆ มีมาตรการป้องกันอย่างรัดกุม''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ทั้งนี้ เงื่อนไขที่ระบุไว้โดยองค์การอนามัยโรคดังกล่าว จำเป็นที่จะต้องบรรลุก่อนที่จะเปลี่ยนผ่านไปสู่การคลายล็อคดาวน์ อย่างไรก็ตาม การผ่อนคลายจำเป็นที่จะต้องกระทำอย่างค่อยเป็นค่อยไป และมียุทธศาสตร์รองรับ เนื่องจากเชื้อโคโรนาไวรัสกระจายอย่างรวดเร็วและการอุบัติซ้ำก็เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ในสถานการณ์ที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโควิด-19 หรือวัคซีนยังไม่เพียงพอต่อความต้องการการเว้นระยะห่างทางสังคมและการจำกัดการเดินทางก็ยังคงเป็นมาตรการสำคัญในการชะลอการแพร่เชื้อ ได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม 6 เงื่อนไขข้างต้นไม่อาจรับประกันได้ว่าจะไม่เกิดการอุบัติซ้ำของโรค โควิด-19 ขึ้นอีก ทว่า มีความจำเป็นที่จะต้องสร้างสมดุลระหว่างการควบคุมโรคกับการกลับไปใช้ชีวิตปกติภายใต้วิถีใหม่ ทั้งนี้ Dr. Tedros A. Ghebreyesus ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก ย้ำว่า แม้บางประเทศจะผ่านจุดที่มีผู้ป่วยติดเชื้อสูงสุดมาแล้ว แต่ก็ไม่อาจหวนกลับไปสู่ชีวิตปกติแบบเดิมได้ “การตัดสินใจเหล่านี้ควรวางอยู่บนสุขอนามัยของมนุษย์และชี้นำโดยพฤติกรรมของไวรัส การเชื่อมโยงกันทั่วโลกของเราหมายความว่าความเสี่ยงที่โรคจะอุบัติซ้ำและหวนคืนกลับมาจะยังคงดำเนินต่อไป เราต้องเตรียมพร้อมสำหรับ “วิถีปกติใหม่” ซึ่งจะเรียกร้องให้เราทุกคนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่ออนาคตที่คาดเดาได้”[[#_ftn4|[4]]]
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 5. มีมาตรการเตรียมพร้อมรับมือความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเกิดผู้ป่วยรายใหม่''


&nbsp;
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 6. ชุมชนมีความรู้ความพร้อมและความเข้าใจเพียงพอที่จะใช้ชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ (new normal)''


'''โมเดลการล็อคดาวน์'''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ทั้งนี้ เงื่อนไขที่ระบุไว้โดยองค์การอนามัยโรคดังกล่าว จำเป็นที่จะต้องบรรลุก่อนที่จะเปลี่ยนผ่านไปสู่การคลายล็อคดาวน์ อย่างไรก็ตาม การผ่อนคลายจำเป็นที่จะต้องกระทำอย่างค่อยเป็นค่อยไปและมียุทธศาสตร์รองรับ เนื่องจากเชื้อโคโรนาไวรัสกระจายอย่างรวดเร็วและการอุบัติซ้ำก็เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ในสถานการณ์ที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโควิด-19 หรือวัคซีนยังไม่เพียงพอต่อความต้องการการเว้นระยะห่างทางสังคมและการจำกัดการเดินทางก็ยังคงเป็นมาตรการสำคัญในการชะลอการแพร่เชื้อได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม 6 เงื่อนไขข้างต้นไม่อาจรับประกันได้ว่าจะไม่เกิดการอุบัติซ้ำของโรคโควิด-19 ขึ้นอีก ทว่า มีความจำเป็นที่จะต้องสร้างสมดุลระหว่างการควบคุมโรคกับการกลับไปใช้ชีวิตปกติภายใต้วิถีใหม่ ทั้งนี้ Dr. Tedros A. Ghebreyesus ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก ย้ำว่า แม้บางประเทศจะผ่านจุดที่มีผู้ป่วยติดเชื้อสูงสุดมาแล้ว แต่ก็ไม่อาจหวนกลับไปสู่ชีวิตปกติแบบเดิมได้ ''“การตัดสินใจเหล่านี้ควรวางอยู่บนสุขอนามัยของมนุษย์และชี้นำโดยพฤติกรรมของไวรัส การเชื่อมโยงกันทั่วโลกของเราหมายความว่าความเสี่ยงที่โรคจะอุบัติซ้ำและหวนคืนกลับมาจะยังคงดำเนินต่อไป เราต้องเตรียมพร้อมสำหรับ '''“วิถีปกติใหม่”''' ซึ่งจะเรียกร้องให้เราทุกคนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่ออนาคตที่คาดเดาได้”''[[#_ftn4|[4]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การล็อคดาวน์มีความเข้มข้นในหลายระดับนับตั้งแต่การปิดเมืองเต็มรูปแบบไปจนถึงการ ขอความร่วมมือให้ประชาชนอยู่ในที่พักอาศัยและลดกิจกรรมทางสังคม โมเดลล็อคดาวน์เต็มรูปแบบ สามารถพบได้ในเมืองอู่ฮั่น หรือที่รู้จักกันในชื่อ “อู่ฮั่นโมเดล” (Wuhan model) ซึ่งเป็นที่แรกที่เกิดการ แพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส โดยรัฐบาลได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมสูงสุดในการปิดเมือง ทั้งนี้ เมื่อเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเชื้อโคโรนาไวรัสเป็นเชื้อที่สามารถติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ เมื่อล่วงเข้าสู่วันที่ 23 มกราคม 2563 เวลา 2.00 น. จึงมีการส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังโทรศัพท์สมาร์ทโฟนทุกเครื่องในเมืองว่าสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานีรถประจำทาง จะปิดทำการในเวลา 10.00 น. นอกจากนั้นแล้ว ยังห้ามมีการเดินทางเข้าออกเมืองอู่ฮั่นโดยเด็ดขาด ขณะที่ประชาชนกว่า 11 ล้านคน ถูกขอให้อยู่ในที่พักอาศัย มีการปิดสถานศึกษา สถานประกอบการและธุรกิจต่างๆ ห้ามมีการสัญจรเดินทางภายในเมืองเว้นแต่รถพยาบาล และยานพาหนะของทางการเท่านั้น ในบางพื้นที่นั้น สมาชิกในครอบครัวจะได้รับอนุญาตให้ออกไปซื้ออาหารและของใช้ที่จำเป็นในช่วงเวลาที่รัฐกำหนด โดยสวมหน้ากากอนามัยและเว้นระยะห่างทางสังคมอย่างเคร่งครัด ขณะที่บางพื้นที่ประชาชนไม่ได้รับอนุญาตให้ออกจากบ้านโดยเด็ดขาด แต่จะสามารถจับจ่ายซื้อของที่จำเป็นได้ผ่านระบบออนไลน์ ในช่วงเวลาแห่งการปิดเมืองยังมีการสร้างโรงพยาบาลสนามขึ้นหลายแห่งอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการระดมบุคลากรทางการแพทย์จากทั่วประเทศมาปฏิบัติภารกิจในเมืองอู่ฮั่น ในส่วนของผู้ป่วยติดเชื้อที่มีความเสี่ยงน้อยนั้นจะถูกแยกตัวออกมาที่โรงพยาบาลสนาม การปิดเมืองขยายออกไปสู่พื้นที่ใกล้เคียง ในมณฑลหูเป่ยและดำเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 76 วัน จนสิ้นสุดลงในวันที่ 8 เมษายน 2563 ซึ่งนับว่าเป็นมาตรการควบคุมการระบาดของโรคที่เข้มงวดและกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จนสามารถลดจำนวนผู้ติดเชื้อลงได้อย่างรวดเร็วซึ่งต่อมาได้รับคำชื่นชมจากองค์การอนามัยโลกและผู้นำจากนานาชาติ[[#_ftn5|[5]]]
= <span style="font-size:x-large;">'''โมเดลการล็อคดาวน์'''</span> =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในทางกลับกัน หลายฝ่ายกลับเห็นว่าแม้การล็อคดาวน์แบบอู่ฮั่นจะเป็นมาตรการที่ช่วยลดการ แพร่ระบาดของโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทว่า ก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนมากเกินจำเป็น นักวิจัยและผู้นำหลายประเทศจึงริเริ่มแนวคิดที่เรียกว่า “สมาร์ทล็อคดาวน์” (Smart Lockdown) ที่เน้นการ สร้างสมดุลระหว่างการลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่กับการทำให้ชีวิตของผู้คนกลุ่มเปราะบางสามารถใช้ชีวิตปกติได้ในระดับหนึ่ง โดยการสร้างระบบติดตามตัว และ ระบุพื้นที่ความเสี่ยงสูงที่มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก รวมถึงการติดตามและสืบย้อนกลับไปถึงผู้ที่สัมผัสกับผู้ติดเชื้อทุกราย แล้วจึงจำแนกกลุ่มเสี่ยงเหล่านั้น ออกมากักตัวไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง นี่หมายความว่า พื้นที่เสี่ยงสูงจะถูกล็อคดาวน์ลงในระยะหนี่ง ขณะที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่างยังคงได้รับอนุญาตให้เปิดดำเนินการต่อไปเพื่อให้กลุ่มผู้ยากไร้ในสังคมไม่ตกอยู่ในสภาวะอดอยากจนสุดขั้ว[[#_ftn6|[6]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การล็อคดาวน์มีความเข้มข้นในหลายระดับนับตั้งแต่การปิดเมืองเต็มรูปแบบไปจนถึงการขอความร่วมมือให้ประชาชนอยู่ในที่พักอาศัยและลดกิจกรรมทางสังคม โมเดลล็อคดาวน์เต็มรูปแบบสามารถพบได้ในเมืองอู่ฮั่นหรือที่รู้จักกันในชื่อ '''“อู่ฮั่นโมเดล” (Wuhan model)''' ซึ่งเป็นที่แรกที่เกิดการ แพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส โดยรัฐบาลได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมสูงสุดในการปิดเมือง ทั้งนี้ เมื่อเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเชื้อโคโรนาไวรัสเป็นเชื้อที่สามารถติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ เมื่อล่วงเข้าสู่วันที่ 23 มกราคม 2563 เวลา 2.00 น. จึงมีการส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังโทรศัพท์สมาร์ทโฟนทุกเครื่องในเมืองว่าสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานีรถประจำทาง จะปิดทำการในเวลา 10.00 น. นอกจากนั้นแล้ว ยังห้ามมีการเดินทางเข้าออกเมืองอู่ฮั่นโดยเด็ดขาด ขณะที่ประชาชนกว่า 11 ล้านคน ถูกขอให้อยู่ในที่พักอาศัย มีการปิดสถานศึกษา สถานประกอบการและธุรกิจต่าง ๆ ห้ามมีการสัญจรเดินทางภายในเมืองเว้นแต่รถพยาบาลและยานพาหนะของทางการเท่านั้น ในบางพื้นที่นั้นสมาชิกในครอบครัวจะได้รับอนุญาตให้ออกไปซื้ออาหารและของใช้ที่จำเป็นในช่วงเวลาที่รัฐกำหนด โดยสวมหน้ากากอนามัยและเว้นระยะห่างทางสังคมอย่างเคร่งครัด ขณะที่บางพื้นที่ประชาชนไม่ได้รับอนุญาตให้ออกจากบ้านโดยเด็ดขาด แต่จะสามารถจับจ่ายซื้อของที่จำเป็นได้ผ่านระบบออนไลน์ ในช่วงเวลาแห่งการปิดเมืองยังมีการสร้างโรงพยาบาลสนามขึ้นหลายแห่งอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการระดมบุคลากรทางการแพทย์จากทั่วประเทศมาปฏิบัติภารกิจในเมืองอู่ฮั่น ในส่วนของผู้ป่วยติดเชื้อที่มีความเสี่ยงน้อยนั้นจะถูกแยกตัวออกมาที่โรงพยาบาลสนาม การปิดเมืองขยายออกไปสู่พื้นที่ใกล้เคียง ในมณฑลหูเป่ยและดำเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 76 วัน จนสิ้นสุดลงในวันที่ 8 เมษายน 2563 ซึ่งนับว่าเป็นมาตรการควบคุมการระบาดของโรคที่เข้มงวดและกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จนสามารถลดจำนวนผู้ติดเชื้อลงได้อย่างรวดเร็วซึ่งต่อมาได้รับคำชื่นชมจากองค์การอนามัยโลกและผู้นำจากนานาชาติ[[#_ftn5|[5]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในปากีสถานนักวิจัยจากสถาบันต่างๆ ได้ร่วมกันเสนอมาตรการสมาร์ทล็อคดาวน์ ซึ่งระบุว่า ในช่วงเวลาสองสัปดาห์ควรให้มีการล็อคดาวน์เพียง 10 วันเท่านั้น และอีกสี่วันที่เหลือก็ควรอนุญาตให้ประชาชนออกไปทำงานได้ เนื่องจากโรค โควิด-19 มีระยะเพาะเชื้อที่ไม่ได้แสดงอาการเพียงสามวัน ดังนั้น การจัดตารางการทำงานให้อยู่ในช่วง 14 วันข้างต้นจะช่วยให้ประชาชนไม่ต้องออกไปพบประผู้คนในสถานที่ทำงานและเป็นพาหะแพร่เชื้อโควิด-19 ผลที่สุด ก็คือ จะเป็นการช่วยลดจำนวนผู้ติดเชื้อจากการสัมผัสผู้อื่น[[#_ftn7|[7]]] ในสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ที่มีการเรียกร้องให้ใช้มาตรการสามารถล็อคดาวน์ที่อิงกับความจำเป็นเฉพาะพื้นที่ และให้ความสำคัญกับพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดการแพร่กระจายของเชื้อ เช่น บาร์ ยิม คอนเสิร์ต ร้านอาหารที่มีบริการนั่งทานในร้าน ขณะที่ควรให้มีการเปิดสถานประกอบการที่มีความจำเป็น เช่น สถานีบริการน้ำมัน ร้านขายยา ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม ในกรณีของร้านอาหารทั่วไปนั้น สามารถเปิดให้บริการได้ แต่ควรจัดพื้นที่ให้นั่งทานภายนอกหรือบริการซื้อกลับบ้าน สำหรับลูกจ้างที่จำเป็นต้องออกไปทำงานนอกบ้าน นายจ้างก็ควรจัดตารางการทำงานให้เหลื่อมเวลากัน และมีการจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอย่างเหมาะสมเพียงพอ&nbsp;แก่พนักงาน[[#_ftn8|[8]]] เพื่อลดความเสี่ยงที่จะติดเชื้อหรือแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในทางกลับกัน หลายฝ่ายกลับเห็นว่าแม้การล็อคดาวน์แบบอู่ฮั่นจะเป็นมาตรการที่ช่วยลดการ แพร่ระบาดของโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทว่า ก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนมากเกินจำเป็น นักวิจัยและผู้นำหลายประเทศจึงริเริ่มแนวคิดที่เรียกว่า '''“สมาร์ทล็อคดาวน์” (Smart Lockdown)''' ที่เน้นการ สร้างสมดุลระหว่างการลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่กับการทำให้ชีวิตของผู้คนกลุ่มเปราะบางสามารถใช้ชีวิตปกติได้ในระดับหนึ่ง โดยการสร้างระบบติดตามตัวและระบุพื้นที่ความเสี่ยงสูงที่มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก รวมถึงการติดตามและสืบย้อนกลับไปถึงผู้ที่สัมผัสกับผู้ติดเชื้อทุกราย แล้วจึงจำแนกกลุ่มเสี่ยงเหล่านั้น ออกมากักตัวไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง นี่หมายความว่าพื้นที่เสี่ยงสูงจะถูกล็อคดาวน์ลงในระยะหนี่ง ขณะที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่างยังคงได้รับอนุญาตให้เปิดดำเนินการต่อไปเพื่อให้กลุ่มผู้ยากไร้ในสังคมไม่ตกอยู่ในสภาวะอดอยากจนสุดขั้ว[[#_ftn6|[6]]]


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในปากีสถานนักวิจัยจากสถาบันต่าง ๆ ได้ร่วมกันเสนอมาตรการสมาร์ทล็อคดาวน์ ซึ่งระบุว่า ในช่วงเวลาสองสัปดาห์ควรให้มีการล็อคดาวน์เพียง 10 วันเท่านั้น และอีกสี่วันที่เหลือก็ควรอนุญาตให้ประชาชนออกไปทำงานได้ เนื่องจากโรคโควิด-19 มีระยะเพาะเชื้อที่ไม่ได้แสดงอาการเพียงสามวัน ดังนั้น การจัดตารางการทำงานให้อยู่ในช่วง 14 วันข้างต้นจะช่วยให้ประชาชนไม่ต้องออกไปพบประผู้คนในสถานที่ทำงานและเป็นพาหะแพร่เชื้อโควิด-19 ผลที่สุดก็คือจะเป็นการช่วยลดจำนวนผู้ติดเชื้อจากการสัมผัสผู้อื่น[[#_ftn7|[7]]] ในสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ที่มีการเรียกร้องให้ใช้มาตรการสามารถล็อคดาวน์ที่อิงกับความจำเป็นเฉพาะพื้นที่ และให้ความสำคัญกับพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดการแพร่กระจายของเชื้อ เช่น บาร์ ยิม คอนเสิร์ต ร้านอาหารที่มีบริการนั่งทานในร้าน ขณะที่ควรให้มีการเปิดสถานประกอบการที่มีความจำเป็น เช่น สถานีบริการน้ำมัน ร้านขายยา ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม ในกรณีของร้านอาหารทั่วไปนั้น สามารถเปิดให้บริการได้ แต่ควรจัดพื้นที่ให้นั่งทานภายนอกหรือบริการซื้อกลับบ้าน สำหรับลูกจ้างที่จำเป็นต้องออกไปทำงานนอกบ้าน นายจ้างก็ควรจัดตารางการทำงานให้เหลื่อมเวลากัน และมีการจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอย่างเหมาะสมเพียงพอ&nbsp;แก่พนักงาน[[#_ftn8|[8]]] เพื่อลดความเสี่ยงที่จะติดเชื้อหรือแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น


'''มาตรการล็อคดาวน์ในประเทศไทย'''
= <span style="font-size:x-large;">'''มาตรการล็อคดาวน์ในประเทศไทย'''</span> =


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศไทยนั้น ช่วงปลายเดือนมีนาคม 2563 เมื่อปรากฏชัดว่าตัวเลขผู้ติดเชื้อโคโรนาไวรัสเพิ่มจำนวนขึ้น รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศให้มีการล็อคดาวน์ทั่วประเทศ ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 ได้กำหนดห้ามประชาชนเดินทางออกนอกเคหสถานระหว่างเวลา 22.00 น. ถึง 4.00 น. ของวันถัดไป ทั้งยังสั่งปิดสถานบริการที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโคโรนาไวรัส อาทิ ผับ บาร์ สถานบันเทิง สนามมวย สนามกีฬา สถานบริการอาบอบนวดในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการ ปิดพรมแดนเข้าออกประเทศทุกช่องทาง ห้ามมีการกักตุนสินค้าควบคุม เช่น ยา เวชภัณฑ์ อาหาร และเครื่องดื่มบางชนิด ที่น่าสนใจก็คือ มีการควบคุมการนำเสนอข่าวสารที่อาจปิดเบื่อนความจริงอันส่งผลกระทบต่อความหวาดกลัวของประชาชนและห้ามประชาชนออกมาชุมนุมรวมตัวกันทางการเมือง ห้ามเดินทางข้ามจังหวัด ขณะเดียวกัน ในพื้นที่กรุงเทพฯ ก็มีคำสั่งกรุงเทพมหานคร ให้งดการนั่งทานภายในร้านอาหาร ปิดห้างสรรพสินค้า ตลาด และสถานที่เสี่ยง เช่น ร้านเสริมสวย และสถานที่ออกกำลังกาย เป็นต้น ยกเว้นซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านขายยาและพื้นที่จำหน่ายอาหาร และสินค้าจำเป็น ที่สามารถเปิดดำเนินการได้ ผลของการล็อคดาวน์เต็มรูปแบบในช่วงเดือนเมษายน 2564 แม้จะสามารถลดจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ได้ แต่รัฐบาลก็ยังต้องเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการล็อคดาวน์โดยใช้งบประมาณสูงถึง 3 แสนล้านบาท[[#_ftn9|[9]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในประเทศไทยนั้น ช่วงปลายเดือนมีนาคม 2563 เมื่อปรากฏชัดว่าตัวเลขผู้ติดเชื้อโคโรนาไวรัสเพิ่มจำนวนขึ้น รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศให้มีการล็อคดาวน์ทั่วประเทศ ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 ได้กำหนดห้ามประชาชนเดินทางออกนอกเคหสถานระหว่างเวลา 22.00 น. ถึง 4.00 น. ของวันถัดไป ทั้งยังสั่งปิดสถานบริการที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโคโรนาไวรัส อาทิ ผับ บาร์ สถานบันเทิง สนามมวย สนามกีฬา สถานบริการอาบอบนวดในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการ ปิดพรมแดนเข้าออกประเทศทุกช่องทาง ห้ามมีการกักตุนสินค้าควบคุม เช่น ยา เวชภัณฑ์ อาหาร และเครื่องดื่มบางชนิด ที่น่าสนใจก็คือ มีการควบคุมการนำเสนอข่าวสารที่อาจปิดเบื่อนความจริงอันส่งผลกระทบต่อความหวาดกลัวของประชาชนและห้ามประชาชนออกมาชุมนุมรวมตัวกันทางการเมือง ห้ามเดินทางข้ามจังหวัด ขณะเดียวกัน ในพื้นที่กรุงเทพฯ ก็มีคำสั่งกรุงเทพมหานคร ให้งดการนั่งทานภายในร้านอาหาร ปิดห้างสรรพสินค้า ตลาด และสถานที่เสี่ยง เช่น ร้านเสริมสวย และสถานที่ออกกำลังกาย เป็นต้น ยกเว้นซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านขายยาและพื้นที่จำหน่ายอาหารและสินค้าจำเป็น ที่สามารถเปิดดำเนินการได้ ผลของการล็อคดาวน์เต็มรูปแบบในช่วงเดือนเมษายน 2564 แม้จะสามารถลดจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ได้ แต่รัฐบาลก็ยังต้องเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการล็อคดาวน์ โดยใช้งบประมาณสูงถึง 3 แสนล้านบาท[[#_ftn9|[9]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 2564 มาตรการล็อคดาวน์ได้กลับมาถูกพูดถึงและทบทวนอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาด ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 มีรายงานว่ามีผู้ติดเชื้อสูงถึง 6,569 รายต่อวัน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นถึง 10,000 รายต่อวัน ในบรรดาผู้ป่วยรายใหม่เหล่านี้ส่วนใหญ่ติดเชื้อโควิด สายพันธุ์เดลต้า ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่ายกว่าและมีอาการรุนแรงที่ทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะวิกฤตอย่างรวดเร็ว ขณะที่จำนวนผู้ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เข็มแรกอยู่ที่ประมาณ 16.5% จากเป้าหมาย 50 ล้านคน ที่จะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ นั่นทำให้ผู้ป่วยอาการหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกรงว่าหากปล่อยให้สถานการณ์ดำเนินต่อไป ระบบสาธารณสุขของประเทศจะถึงภาวะล้มเหลวในที่สุด นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่าสถานที่ทำงานยังกลายเป็นพื้นที่เสี่ยงซึ่งมีผู้ติดเชื้อจากภายในองค์กรสูงถึงร้อยละ 40 กอปรกับปัญหา เตียงรักษาไม่เพียงพอ ผู้ป่วยติดเชื้อจำนวนมากจึงเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปรักษาตัวในจังหวัดบ้านเกิด ซึ่งเท่ากับเป็นการนำเชื้อแพร่กระจายออกไปทั่วประเทศ[[#_ftn10|[10]]] เพื่อรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว ที่ประชุมศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) จึงออกมาตรการควบคุม การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยให้มีผลวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 อันถือเป็นมาตรการล็อคดาวน์ที่ปรับตามความเหมาะสมของพื้นที่โดยแบ่งระดับพื้นที่ออกเป็น 5 ระดับ[[#_ftn11|[11]]] ดังนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 2564 มาตรการล็อคดาวน์ได้กลับมาถูกพูดถึงและทบทวนอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาด ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 มีรายงานว่ามีผู้ติดเชื้อสูงถึง 6,569 รายต่อวัน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นถึง 10,000 รายต่อวัน ในบรรดาผู้ป่วยรายใหม่เหล่านี้ส่วนใหญ่ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์เดลต้า ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่ายกว่าและมีอาการรุนแรงที่ทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะวิกฤตอย่างรวดเร็ว ขณะที่จำนวนผู้ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เข็มแรกอยู่ที่ประมาณ 16.5% จากเป้าหมาย 50 ล้านคน ที่จะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ นั่นทำให้ผู้ป่วยอาการหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกรงว่าหากปล่อยให้สถานการณ์ดำเนินต่อไป ระบบสาธารณสุขของประเทศจะถึงภาวะล้มเหลวในที่สุด นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่าสถานที่ทำงานยังกลายเป็นพื้นที่เสี่ยงซึ่งมีผู้ติดเชื้อจากภายในองค์กรสูงถึง ร้อยละ 40 กอปรกับปัญหา เตียงรักษาไม่เพียงพอ ผู้ป่วยติดเชื้อจำนวนมากจึงเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปรักษาตัวในจังหวัดบ้านเกิด ซึ่งเท่ากับเป็นการนำเชื้อแพร่กระจายออกไปทั่วประเทศ[[#_ftn10|[10]]] เพื่อรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว ที่ประชุมศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) จึงออกมาตรการควบคุม การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยให้มีผลวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 อันถือเป็นมาตรการล็อคดาวน์ที่ปรับตามความเหมาะสมของพื้นที่โดยแบ่งระดับพื้นที่ออกเป็น 5 ระดับ[[#_ftn11|[11]]] ดังนี้


1) พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดรหรือพื้นที่สีแดงเข้ม
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ''1) พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดรหรือพื้นที่สีแดงเข้ม''


2) พื้นที่ควบคุมสูงสุดหรือพื้นที่สีแดง
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 2) พื้นที่ควบคุมสูงสุดหรือพื้นที่สีแดง''


3) พื้นที่ควบคุมหรือพื้นที่สีส้ม
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 3) พื้นที่ควบคุมหรือพื้นที่สีส้ม''


4) พื้นที่เฝ้าระวังสูงสุดหรือพื้นที่สีเหลือง
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 4) พื้นที่เฝ้าระวังสูงสุดหรือพื้นที่สีเหลือง''


5) พื้นที่เฝ้าระวังหรือพื้นที่สีเขียว
''&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; 5) พื้นที่เฝ้าระวังหรือพื้นที่สีเขียว''


&nbsp;
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กล่าวเฉพาะในพื้นที่สีแดงเข้มนั้น ครอบคลุมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการจำกัดการเคลื่อนย้ายและงดกิจกรรมทางสังคมของบุคคล กำหนดให้มีการทำงานจากที่พักอาศัยมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ ปิดระบบขนส่งสาธารณะทุกชนิดตั้งแต่เวลา 21.00 ถึง 4.00 ของวันถัดไป ปิดร้านค้าเวลา 20.00 ถึง 4.00 ห้ามมีการจำหน่ายและบริโภคอาหาร สุรา และเครื่องดื่มภายในร้าน ปิดสถานที่เสี่ยงต่าง ๆ และห้ามดำเนินกิจกรรม ทางสังคมทุกรูปแบบ รวมถึงห้ามเดินทางออกนอกเคหสถานตั้งแต่เวลา 21.00 ถึง 4.00 การล็อคดาวน์ ลักษณะนี้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องโดยที่ ศบค. มีการเพิ่มและลดจำนวนจังหวัดต่าง ๆ เข้าไปในเขตพื้นที่ สีที่แตกต่างกันตามจำนวนตัวเลขผู้ติดเชื้อขณะนั้น เมื่อถึงต้นเดือนตุลาคม 2564 จำนวนผู้ได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 เพิ่มขึ้นเกินกว่า 50 ล้านคน มาตรการล็อคดาวน์จึงค่อย ๆ คลายลง โดยมีการลดเวลาเคอร์ฟิว และอนุญาตให้กิจการบางประเภทเปิดดำเนินการได้โดยยังต้องมีการรักษาระยะห่างทางสังคมและมีมาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเคร่งครัด พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จึงประกาศว่ามีแผนการที่จะเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวจากต่างชาติซึ่งฉีดวัคซีนครบโดสแล้วในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 โดยไม่จำเป็นต้องกักตัว และจะพิจารณาให้สถานบันเทิงกลับมาเปิดดำเนินการอีกครั้งหลังวันที่ 1 ธันวาคม 2564[[#_ftn12|[12]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กล่าวเฉพาะในพื้นที่สีแดงเข้มนั้น ครอบคลุมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการจำกัดการเคลื่อนย้าย และงดกิจกรรมทางสังคมของบุคคล กำหนดให้มีการทำงานจากที่พักอาศัยมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ ปิดระบบขนส่งสาธารณะทุกชนิดตั้งแต่เวลา 21.00 ถึง 4.00 ของวันถัดไป ปิดร้านค้าเวลา 20.00 ถึง 4.00 ห้ามมีการจำหน่ายและบริโภคอาหาร สุรา และเครื่องดื่มภายในร้าน ปิดสถานที่เสี่ยงต่างๆ และห้ามดำเนินกิจกรรม ทางสังคมทุกรูปแบบ รวมถึงห้ามเดินทางออกนอกเคหสถานตั้งแต่เวลา 21.00 ถึง 4.00 การล็อคดาวน์ ลักษณะนี้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องโดยที่ ศบค. มีการเพิ่มและลดจำนวนจังหวัดต่างๆ เข้าไปในเขตพื้นที่ สีที่แตกต่างกันตามจำนวนตัวเลขผู้ติดเชื้อขณะนั้น เมื่อถึงต้นเดือนตุลาคม 2564 จำนวนผู้ได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 เพิ่มขึ้นเกินกว่า 50 ล้านคน มาตรการล็อคดาวน์จึงค่อยๆ คลายลง โดยมีการลดเวลาเคอร์ฟิว และอนุญาตให้กิจการบางประเภทเปิดดำเนินการได้โดยยังต้องมีการรักษาระยะห่างทางสังคมและมีมาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเคร่งครัด พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จึงประกาศว่ามีแผนการที่จะเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวจากต่างชาติซึ่งฉีดวัคซีนครบโดสแล้วในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 โดยไม่จำเป็นต้องกักตัว และจะพิจารณาให้สถานบันเทิงกลับมาเปิดดำเนินการอีกครั้งหลังวันที่ 1 ธันวาคม 2564[[#_ftn12|[12]]]
= <span style="font-size:x-large;">'''บรรณานุกรม'''</span> =


&nbsp;
“Coronavirus: Half of humanity now on lockdown as 90 countries call for confinement." Euronews (April 3, 2020). Available <[https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou]>. Accessed October 20, 2021.


'''บรรณานุกรม'''
Dhillon, Ranu S. and Abraar Karan. "The U.S. Needs Smarter Lockdowns. Now." Harvard Business Review (August 12, 2020). Available <[https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now]>. Accessed October 20, 2021.


“Coronavirus: Half of humanity now on lockdown as 90 countries call for confinement." '''Euronews''' (April 3, 2020). Available <https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou>. Accessed October 20, 2021.
“Smart Lockdown: A better option to combat COVID-19." The News (May 04, 2020). Available <[https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19 https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19]>. Accessed October 20, 2021.


Dhillon, Ranu S. and Abraar Karan. "The U.S. Needs Smarter Lockdowns. Now." '''Harvard Business Review''' (August 12, 2020). Available <https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now>. Accessed October 20, 2021.
“The 6 Steps." WHO. Available <[https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf]>. Accessed October 20, 2021.


“Smart Lockdown: A better option to combat COVID-19." '''The News''' (May 04, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19>. Accessed October 20, 2021.
“Timeline: China's COVID-19 outbreak and lockdown of Wuhan." ABC News (January 22, 2021). Available <[https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357 https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357]>. Accessed October 20, 2021.


“The 6 Steps." '''WHO'''. Available <https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf>. Accessed October 20, 2021.
“Understanding smart lockdowns." The News (May 3, 2020). Available <[https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns]>. Accessed October 20, 2021.


“Timeline: China's COVID-19 outbreak and lockdown of Wuhan." '''ABC News''' (January 22, 2021). Available <https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357>. Accessed October 20, 2021.
“WHO doctor says lockdowns should not be main coronavirus defence." ABC News (October 12, 2021). Available <[https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688 https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688]>. Accessed October 20, 2021.


“Understanding smart lockdowns." '''The News''' (May 3, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns>. Accessed October 20, 2021.
Zheming Yuan et al. (2020). "A simple model to assess Wuhan lock-down effect and region efforts during COVID-19 epidemic in China Mainland." Bulletin of the World Health Organization, 98(7).


“WHO doctor says lockdowns should not be main coronavirus defence." '''ABC News''' (October 12, 2021). Available <https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688>. Accessed October 20, 2021.
“นายกฯ แถลงความสำเร็จคุมโควิด เตรียมเปิดประเทศ 1 พ.ย. นี้." เนชั่นออนไลน์ (11 ตุลาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.nationtv.tv/news/378845599 https://www.nationtv.tv/news/378845599]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.


Zheming Yuan et al. (2020). "A simple model to assess Wuhan lock-down effect and region efforts during COVID-19 epidemic in China Mainland." '''Bulletin of the World Health Organization''', 98(7).
“รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม..63’ มีอะไรบ้าง." กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.bangkokbiznews.com/news/947691 https://www.bangkokbiznews.com/news/947691]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.


“นายกฯ แถลงความสำเร็จคุมโควิด เตรียมเปิดประเทศ 1 พ.ย. นี้." '''เนชั่นออนไลน์''' (11 ตุลาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.nationtv.tv/news/378845599>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
“ศบค. ประกาศล็อกดาวน์-เคอร์ฟิว คุมเข้ม 10 จังหวัด จำกัดการเดินทาง 14 วัน." ประชาชาติธุรกิจ (9 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.prachachat.net/general/news-709536 https://www.prachachat.net/general/news-709536]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
<div>
= '''<span style="font-size:x-large;">อ้างอิง</span>''' =


“รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง." '''กรุงเทพธุรกิจออนไลน์''' (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.bangkokbiznews.com/news/947691>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
[[#_ftnref1|[1]]] "Coronavirus: Half of humanity now on lockdown as 90 countries call for confinement," Euronews (April 3, 2020). Available <[https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou]>. Accessed October 20, 2021.
 
<div id="ftn2">
“ศบค. ประกาศล็อกดาวน์-เคอร์ฟิว คุมเข้ม 10 จังหวัด จำกัดการเดินทาง 14 วัน." '''ประชาชาติธุรกิจ''' (9 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.prachachat.net/general/news-709536>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
[[#_ftnref2|[2]]] "WHO doctor says lockdowns should not be main coronavirus defence," ABC News (October 12, 2021). Available <[https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688 https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688]>. Accessed October 20, 2021.
 
&nbsp;
<div>อ้างอิง
----
<div id="ftn1">
[[#_ftnref1|[1]]] "Coronavirus: Half of humanity now on lockdown as 90 countries call for confinement," '''Euronews''' (April 3, 2020). Available <https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn2">
[[#_ftnref2|[2]]] "WHO doctor says lockdowns should not be main coronavirus defence," '''ABC News''' (October 12, 2021). Available <https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn3">
</div> <div id="ftn3">
[[#_ftnref3|[3]]] "The 6 Steps," '''WHO'''. Available <https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf>. Accessed October 20, 2021.
[[#_ftnref3|[3]]] "The 6 Steps," WHO. Available <[https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf]>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn4">
</div> <div id="ftn4">
[[#_ftnref4|[4]]] "The 6 Steps," '''WHO'''. Available <https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf>. Accessed October 20, 2021.
[[#_ftnref4|[4]]] "The 6 Steps," WHO. Available <[https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf]>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn5">
</div> <div id="ftn5">
[[#_ftnref5|[5]]] โปรดดู "Timeline: China's COVID-19 outbreak and lockdown of Wuhan," '''ABC News''' (January 22, 2021). Available <https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357>. Accessed October 20, 2021. และ Zheming Yuan et al., "A simple model to assess Wuhan lock-down effect and region efforts during COVID-19 epidemic in China Mainland," '''Bulletin of the World Health Organisation''', 98(7), 2020.
[[#_ftnref5|[5]]] โปรดดู "Timeline: China's COVID-19 outbreak and lockdown of Wuhan," ABC News (January 22, 2021). Available <[https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357 https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357]>. Accessed October 20, 2021. และ Zheming Yuan et al., "A simple model to assess Wuhan lock-down effect and region efforts during COVID-19 epidemic in China Mainland," Bulletin of the World Health Organisation, 98(7), 2020.
</div> <div id="ftn6">
</div> <div id="ftn6">
[[#_ftnref6|[6]]] "Understanding smart lockdowns," '''The News''' (May 3, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns>. Accessed October 20, 2021.
[[#_ftnref6|[6]]] "Understanding smart lockdowns," The News (May 3, 2020). Available <[https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns]>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn7">
</div> <div id="ftn7">
[[#_ftnref7|[7]]] "Smart Lockdown: A better option to combat COVID-19," '''The News''' (May 04, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19>. Accessed October 20, 2021.
[[#_ftnref7|[7]]] "Smart Lockdown: A better option to combat COVID-19," The News (May 04, 2020). Available <[https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19 https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19]>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn8">
</div> <div id="ftn8">
[[#_ftnref8|[8]]] Ranu S. Dhillon and Abraar Karan, "The U.S. Needs Smarter Lockdowns. Now," '''Harvard Business Review''' (August 12, 2020). Available <https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now>. Accessed October 20, 2021.
[[#_ftnref8|[8]]] Ranu S. Dhillon and Abraar Karan, "The U.S. Needs Smarter Lockdowns. Now," Harvard Business Review (August 12, 2020). Available <[https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now]>. Accessed October 20, 2021.
</div> <div id="ftn9">
</div> <div id="ftn9">
[[#_ftnref9|[9]]] "รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง," '''กรุงเทพธุรกิจออนไลน์''' (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.bangkokbiznews.com/news/947691>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
[[#_ftnref9|[9]]] "รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง," กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.bangkokbiznews.com/news/947691 https://www.bangkokbiznews.com/news/947691]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
</div> <div id="ftn10">
</div> <div id="ftn10">
[[#_ftnref10|[10]]] "รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง," '''กรุงเทพธุรกิจออนไลน์''' (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.bangkokbiznews.com/news/947691>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
[[#_ftnref10|[10]]] "รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง," กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.bangkokbiznews.com/news/947691 https://www.bangkokbiznews.com/news/947691]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
</div> <div id="ftn11">
</div> <div id="ftn11">
[[#_ftnref11|[11]]] "ศบค. ประกาศล็อกดาวน์-เคอร์ฟิว คุมเข้ม 10 จังหวัด จำกัดการเดินทาง 14 วัน," '''ประชาชาติธุรกิจ''' (9 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.prachachat.net/general/news-709536>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
[[#_ftnref11|[11]]] "ศบค. ประกาศล็อกดาวน์-เคอร์ฟิว คุมเข้ม 10 จังหวัด จำกัดการเดินทาง 14 วัน," ประชาชาติธุรกิจ (9 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.prachachat.net/general/news-709536 https://www.prachachat.net/general/news-709536]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
</div> <div id="ftn12">
</div> <div id="ftn12">
[[#_ftnref12|[12]]] "นายกฯ แถลงความสำเร็จคุมโควิด เตรียมเปิดประเทศ 1 พ.ย. นี้," '''เนชั่นออนไลน์''' (11 ตุลาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.nationtv.tv/news/378845599>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
[[#_ftnref12|[12]]] "นายกฯ แถลงความสำเร็จคุมโควิด เตรียมเปิดประเทศ 1 พ.ย. นี้," เนชั่นออนไลน์ (11 ตุลาคม 2564). เข้าถึงจาก <[https://www.nationtv.tv/news/378845599 https://www.nationtv.tv/news/378845599]>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.
</div> </div>
</div> </div>  
[[Category:การบริหารราชการแผ่นดิน]][[Category:ว่าด้วยการบริหารราชการแผ่นดิน]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:39, 14 มีนาคม 2566

ล็อคดาวน์

ผู้เรียบเรียง : รองศาสตราจารย์ ดร.อรรถสิทธิ์ พานแก้ว

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ


บทนำ

          ล็อคดาวน์ (Government Lockdown) เป็นมาตรการของรัฐต่าง ๆ ทั่วโลกใช้เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ความเข้มข้นของมาตรการล็อคดาวน์ในแต่ละประเทศมีมากน้อยต่างกัน แต่โดยทั่วไปแล้วมักประกอบด้วยการกำหนดให้ประชาชนงดการเคลื่อนย้าย กักตัวอยู่ในที่พักอาศัย การปิดพรมแดน การประกาศเคอร์ฟิวส์ การให้ทำงานจากที่พัก การปิดสถานศึกษา การงดกิจกรรมและการรวมกลุ่มทางสังคม รวมถึงการปิดสถานบริการและห้างร้านต่าง ๆ ยกเว้นแต่เพียงธุรกิจที่จำเป็น เช่น ร้านสะดวกซื้อ ซุปเปอร์มาร์เก็ต และบริการทางการแพทย์ เป็นต้น ทั้งนี้ มาตรการล็อคดาวน์ของรัฐบาลมักประกาศเป็นคำสั่งในระยะสั้น ๆ เพื่อลดจำนวนผู้ติดเชื้อ เนื่องจากส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ดังนั้น รัฐบาลจึงมักมีมาตรการเยียวยาผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการล็อคดาวน์ ในกรณีของประเทศไทยรัฐบาล พลเอกประยุทธ์_จันทร์โอชา ประกาศให้มีการล็อคดาวน์เต็มรูปแบบทั่วประเทศครั้งแรกในเดือนเมษายน 2563 และครั้งต่อมาเมื่อตัวเลขผู้ติดเชื้อเพิ่มสูงขึ้นเกือบหมื่นรายต่อวัน รัฐบาลจึงประกาศล็อคดาวน์ เฉพาะบางพื้นที่ในช่วงกลางเดือนกรกฎาคม 2564 ถึงแม้การล็อคดาวน์จะสามารถลดความเสี่ยงในการแพร่เชื้อโคโรนาไวรัสได้ในระดับหนึ่ง แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่าก่อให้เกิดความเสียหายต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว

การล็อคดาวน์ตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลก

          นับตั้งแต่การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ โควิด-19 ช่วงปลายปี 2562 การล็อคดาวน์หรือการปิดเมืองถือเป็นมาตรการหนึ่งที่ถูกใช้เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เนื่องจากการล็อคดาวน์ ช่วยลดความใกล้ชิดกันของผู้คนซึ่งจะเป็นพาหะนำเชื้อเข้าสู่ร่างกาย การล็อคดาวน์เพื่อป้องกันโรคโควิด-19 ถูกใช้อย่างเป็นทางการที่แรกในเมืองอู่ฮั่น (Wuhan) มณฑลหูเป่ย (Hubei) สาธารณรัฐประชาชนจีนราว เดือนมกราคม 2563 และเมื่อเป็นที่แน่ชัดว่าเชื้อได้แพร่ระบาดไปทั่วโลก การล็อคดาวน์ก็กลายเป็นมาตรการเร่งด่วนที่รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ใช้กันอย่างแพร่หลาย เมื่อถึงเดือนเมษายน 2563 กว่าครึ่งหนึ่งของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกอยู่ภายใต้มาตรการล็อคดาวน์ซึ่งครอบคลุมประชากรมากกว่า 3.9 พันล้านคน จาก 90 ประเทศ[1] แม้การล็อคดาวน์จะเป็นมาตรการที่จำเป็นในการหยุดยั้งโควิด-19 และลดจำนวนการเสียชีวิตของผู้ติดเชื้อ ทว่าควรเป็นมาตรการที่บังคับใช้ในช่วงเวลาสั้นๆ เท่านั้น องค์การอนามัยโลก (World Health Organization) ให้คำแนะนำต่อผู้นำทั่วโลกว่าการล็อคดาวน์ไม่ควรเป็นวิธีการหลักในการควบคุมโคโรนาไวรัส เพราะในสถานการณ์ที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโควิด-19 การล็อคดาวน์ควรถูกใช้เพียงเพื่อซื้อเวลาให้รัฐบาลจัดการ และจัดเตรียมทรัพยากรเพื่อต่อสู้กับโรคระบาดเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อป้องกันบุคลากรทางการแพทย์และชะลอสถานการณ์ที่ผู้ป่วยติดเชื้อจะมีล้นเกินกว่าระบบสาธารณสุขของประเทศจะรับไหว ดังนั้น ในช่วงเวลาแห่งการล็อคดาวน์ รัฐบาลก็ควรใช้เวลานี้ให้คุ้มค่ามากที่สุดเพราะการลดระดับการเคลื่อนย้ายเดินทาง จะส่งผลอย่างยิ่งต่อประเทศยากจนและคนยากไร้ให้ต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลำบากมากขึ้นไปอีก[2]

          ด้วยเหตุที่ การล็อคดาวน์ส่งผลกระทบอย่างใหญ่หลวงต่อประชาชนทั้งทางกายภาพ ทางจิตวิทยา และทางเศรษฐกิจ องค์การอนามัยโลกจึงกังวลว่าการล็อคดาวน์เป็นเวลานานเกินไปจะส่งผลเสียมากกว่าประโยชน์ที่ได้รับ ดังนั้น จึงแนะนำให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ ผ่อนคลายมาตรการล็อคดาวน์ลงหากสามารถบรรลุเงื่อนไข 6 ข้อ[3] ดังต่อไปนี้

         1. การแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัสอยู่ในการควบคุมได้

          2. ระบบสาธารณสุขมีศักยภาพที่จะสืบพบ ทดสอบหาเชื้อ แยกตัว และรักษาผู้ป่วยทุกราย รวมถึงติดตามประวัติของผู้ที่มาปฏิสัมพันธ์กับผู้ป่วยทุกรายด้วย

          3. จุดเสี่ยงสูงลดลงอย่างมีนัยยะสำคัญ โดยเฉพาะในพื้นที่เปราะบาง เช่น สถานบริการด้านสุขภาพ

          4. สถานที่ทำงาน สถานศึกษา และสถานที่สำคัญอื่นๆ มีมาตรการป้องกันอย่างรัดกุม

          5. มีมาตรการเตรียมพร้อมรับมือความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

          6. ชุมชนมีความรู้ความพร้อมและความเข้าใจเพียงพอที่จะใช้ชีวิตแบบวิถีปกติใหม่ (new normal)

          ทั้งนี้ เงื่อนไขที่ระบุไว้โดยองค์การอนามัยโรคดังกล่าว จำเป็นที่จะต้องบรรลุก่อนที่จะเปลี่ยนผ่านไปสู่การคลายล็อคดาวน์ อย่างไรก็ตาม การผ่อนคลายจำเป็นที่จะต้องกระทำอย่างค่อยเป็นค่อยไปและมียุทธศาสตร์รองรับ เนื่องจากเชื้อโคโรนาไวรัสกระจายอย่างรวดเร็วและการอุบัติซ้ำก็เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดังนั้น ในสถานการณ์ที่ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโควิด-19 หรือวัคซีนยังไม่เพียงพอต่อความต้องการการเว้นระยะห่างทางสังคมและการจำกัดการเดินทางก็ยังคงเป็นมาตรการสำคัญในการชะลอการแพร่เชื้อได้ดีที่สุด อย่างไรก็ตาม 6 เงื่อนไขข้างต้นไม่อาจรับประกันได้ว่าจะไม่เกิดการอุบัติซ้ำของโรคโควิด-19 ขึ้นอีก ทว่า มีความจำเป็นที่จะต้องสร้างสมดุลระหว่างการควบคุมโรคกับการกลับไปใช้ชีวิตปกติภายใต้วิถีใหม่ ทั้งนี้ Dr. Tedros A. Ghebreyesus ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก ย้ำว่า แม้บางประเทศจะผ่านจุดที่มีผู้ป่วยติดเชื้อสูงสุดมาแล้ว แต่ก็ไม่อาจหวนกลับไปสู่ชีวิตปกติแบบเดิมได้ “การตัดสินใจเหล่านี้ควรวางอยู่บนสุขอนามัยของมนุษย์และชี้นำโดยพฤติกรรมของไวรัส การเชื่อมโยงกันทั่วโลกของเราหมายความว่าความเสี่ยงที่โรคจะอุบัติซ้ำและหวนคืนกลับมาจะยังคงดำเนินต่อไป เราต้องเตรียมพร้อมสำหรับ “วิถีปกติใหม่” ซึ่งจะเรียกร้องให้เราทุกคนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่ออนาคตที่คาดเดาได้”[4]

โมเดลการล็อคดาวน์

          การล็อคดาวน์มีความเข้มข้นในหลายระดับนับตั้งแต่การปิดเมืองเต็มรูปแบบไปจนถึงการขอความร่วมมือให้ประชาชนอยู่ในที่พักอาศัยและลดกิจกรรมทางสังคม โมเดลล็อคดาวน์เต็มรูปแบบสามารถพบได้ในเมืองอู่ฮั่นหรือที่รู้จักกันในชื่อ “อู่ฮั่นโมเดล” (Wuhan model) ซึ่งเป็นที่แรกที่เกิดการ แพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส โดยรัฐบาลได้ประกาศใช้มาตรการควบคุมสูงสุดในการปิดเมือง ทั้งนี้ เมื่อเป็นที่แน่ชัดแล้วว่าเชื้อโคโรนาไวรัสเป็นเชื้อที่สามารถติดต่อจากมนุษย์สู่มนุษย์ เมื่อล่วงเข้าสู่วันที่ 23 มกราคม 2563 เวลา 2.00 น. จึงมีการส่งข้อความแจ้งเตือนไปยังโทรศัพท์สมาร์ทโฟนทุกเครื่องในเมืองว่าสนามบิน สถานีรถไฟ และสถานีรถประจำทาง จะปิดทำการในเวลา 10.00 น. นอกจากนั้นแล้ว ยังห้ามมีการเดินทางเข้าออกเมืองอู่ฮั่นโดยเด็ดขาด ขณะที่ประชาชนกว่า 11 ล้านคน ถูกขอให้อยู่ในที่พักอาศัย มีการปิดสถานศึกษา สถานประกอบการและธุรกิจต่าง ๆ ห้ามมีการสัญจรเดินทางภายในเมืองเว้นแต่รถพยาบาลและยานพาหนะของทางการเท่านั้น ในบางพื้นที่นั้นสมาชิกในครอบครัวจะได้รับอนุญาตให้ออกไปซื้ออาหารและของใช้ที่จำเป็นในช่วงเวลาที่รัฐกำหนด โดยสวมหน้ากากอนามัยและเว้นระยะห่างทางสังคมอย่างเคร่งครัด ขณะที่บางพื้นที่ประชาชนไม่ได้รับอนุญาตให้ออกจากบ้านโดยเด็ดขาด แต่จะสามารถจับจ่ายซื้อของที่จำเป็นได้ผ่านระบบออนไลน์ ในช่วงเวลาแห่งการปิดเมืองยังมีการสร้างโรงพยาบาลสนามขึ้นหลายแห่งอย่างรวดเร็ว รวมถึงมีการระดมบุคลากรทางการแพทย์จากทั่วประเทศมาปฏิบัติภารกิจในเมืองอู่ฮั่น ในส่วนของผู้ป่วยติดเชื้อที่มีความเสี่ยงน้อยนั้นจะถูกแยกตัวออกมาที่โรงพยาบาลสนาม การปิดเมืองขยายออกไปสู่พื้นที่ใกล้เคียง ในมณฑลหูเป่ยและดำเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 76 วัน จนสิ้นสุดลงในวันที่ 8 เมษายน 2563 ซึ่งนับว่าเป็นมาตรการควบคุมการระบาดของโรคที่เข้มงวดและกว้างขวางที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ จนสามารถลดจำนวนผู้ติดเชื้อลงได้อย่างรวดเร็วซึ่งต่อมาได้รับคำชื่นชมจากองค์การอนามัยโลกและผู้นำจากนานาชาติ[5]

          ในทางกลับกัน หลายฝ่ายกลับเห็นว่าแม้การล็อคดาวน์แบบอู่ฮั่นจะเป็นมาตรการที่ช่วยลดการ แพร่ระบาดของโควิด-19 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทว่า ก็ส่งผลกระทบต่อชีวิตของผู้คนมากเกินจำเป็น นักวิจัยและผู้นำหลายประเทศจึงริเริ่มแนวคิดที่เรียกว่า “สมาร์ทล็อคดาวน์” (Smart Lockdown) ที่เน้นการ สร้างสมดุลระหว่างการลดจำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่กับการทำให้ชีวิตของผู้คนกลุ่มเปราะบางสามารถใช้ชีวิตปกติได้ในระดับหนึ่ง โดยการสร้างระบบติดตามตัวและระบุพื้นที่ความเสี่ยงสูงที่มีผู้ติดเชื้อจำนวนมาก รวมถึงการติดตามและสืบย้อนกลับไปถึงผู้ที่สัมผัสกับผู้ติดเชื้อทุกราย แล้วจึงจำแนกกลุ่มเสี่ยงเหล่านั้น ออกมากักตัวไว้ในช่วงเวลาหนึ่ง นี่หมายความว่าพื้นที่เสี่ยงสูงจะถูกล็อคดาวน์ลงในระยะหนี่ง ขณะที่กิจกรรมทางเศรษฐกิจบางอย่างยังคงได้รับอนุญาตให้เปิดดำเนินการต่อไปเพื่อให้กลุ่มผู้ยากไร้ในสังคมไม่ตกอยู่ในสภาวะอดอยากจนสุดขั้ว[6]

          ในปากีสถานนักวิจัยจากสถาบันต่าง ๆ ได้ร่วมกันเสนอมาตรการสมาร์ทล็อคดาวน์ ซึ่งระบุว่า ในช่วงเวลาสองสัปดาห์ควรให้มีการล็อคดาวน์เพียง 10 วันเท่านั้น และอีกสี่วันที่เหลือก็ควรอนุญาตให้ประชาชนออกไปทำงานได้ เนื่องจากโรคโควิด-19 มีระยะเพาะเชื้อที่ไม่ได้แสดงอาการเพียงสามวัน ดังนั้น การจัดตารางการทำงานให้อยู่ในช่วง 14 วันข้างต้นจะช่วยให้ประชาชนไม่ต้องออกไปพบประผู้คนในสถานที่ทำงานและเป็นพาหะแพร่เชื้อโควิด-19 ผลที่สุดก็คือจะเป็นการช่วยลดจำนวนผู้ติดเชื้อจากการสัมผัสผู้อื่น[7] ในสหรัฐอเมริกาเช่นกัน ที่มีการเรียกร้องให้ใช้มาตรการสามารถล็อคดาวน์ที่อิงกับความจำเป็นเฉพาะพื้นที่ และให้ความสำคัญกับพื้นที่เสี่ยงที่จะเกิดการแพร่กระจายของเชื้อ เช่น บาร์ ยิม คอนเสิร์ต ร้านอาหารที่มีบริการนั่งทานในร้าน ขณะที่ควรให้มีการเปิดสถานประกอบการที่มีความจำเป็น เช่น สถานีบริการน้ำมัน ร้านขายยา ร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม ในกรณีของร้านอาหารทั่วไปนั้น สามารถเปิดให้บริการได้ แต่ควรจัดพื้นที่ให้นั่งทานภายนอกหรือบริการซื้อกลับบ้าน สำหรับลูกจ้างที่จำเป็นต้องออกไปทำงานนอกบ้าน นายจ้างก็ควรจัดตารางการทำงานให้เหลื่อมเวลากัน และมีการจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอย่างเหมาะสมเพียงพอ แก่พนักงาน[8] เพื่อลดความเสี่ยงที่จะติดเชื้อหรือแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น

มาตรการล็อคดาวน์ในประเทศไทย

          ในประเทศไทยนั้น ช่วงปลายเดือนมีนาคม 2563 เมื่อปรากฏชัดว่าตัวเลขผู้ติดเชื้อโคโรนาไวรัสเพิ่มจำนวนขึ้น รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้ประกาศให้มีการล็อคดาวน์ทั่วประเทศ ลงวันที่ 25 มีนาคม 2563 ได้กำหนดห้ามประชาชนเดินทางออกนอกเคหสถานระหว่างเวลา 22.00 น. ถึง 4.00 น. ของวันถัดไป ทั้งยังสั่งปิดสถานบริการที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโคโรนาไวรัส อาทิ ผับ บาร์ สถานบันเทิง สนามมวย สนามกีฬา สถานบริการอาบอบนวดในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการ ปิดพรมแดนเข้าออกประเทศทุกช่องทาง ห้ามมีการกักตุนสินค้าควบคุม เช่น ยา เวชภัณฑ์ อาหาร และเครื่องดื่มบางชนิด ที่น่าสนใจก็คือ มีการควบคุมการนำเสนอข่าวสารที่อาจปิดเบื่อนความจริงอันส่งผลกระทบต่อความหวาดกลัวของประชาชนและห้ามประชาชนออกมาชุมนุมรวมตัวกันทางการเมือง ห้ามเดินทางข้ามจังหวัด ขณะเดียวกัน ในพื้นที่กรุงเทพฯ ก็มีคำสั่งกรุงเทพมหานคร ให้งดการนั่งทานภายในร้านอาหาร ปิดห้างสรรพสินค้า ตลาด และสถานที่เสี่ยง เช่น ร้านเสริมสวย และสถานที่ออกกำลังกาย เป็นต้น ยกเว้นซุปเปอร์มาร์เก็ต ร้านขายยาและพื้นที่จำหน่ายอาหารและสินค้าจำเป็น ที่สามารถเปิดดำเนินการได้ ผลของการล็อคดาวน์เต็มรูปแบบในช่วงเดือนเมษายน 2564 แม้จะสามารถลดจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อรายใหม่ได้ แต่รัฐบาลก็ยังต้องเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการล็อคดาวน์ โดยใช้งบประมาณสูงถึง 3 แสนล้านบาท[9]

          เมื่อถึงเดือนกรกฎาคม 2564 มาตรการล็อคดาวน์ได้กลับมาถูกพูดถึงและทบทวนอีกครั้งหนึ่งเนื่องจากในสถานการณ์การแพร่ระบาด ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2564 มีรายงานว่ามีผู้ติดเชื้อสูงถึง 6,569 รายต่อวัน และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นถึง 10,000 รายต่อวัน ในบรรดาผู้ป่วยรายใหม่เหล่านี้ส่วนใหญ่ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์เดลต้า ซึ่งสามารถแพร่เชื้อได้ง่ายกว่าและมีอาการรุนแรงที่ทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะวิกฤตอย่างรวดเร็ว ขณะที่จำนวนผู้ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 เข็มแรกอยู่ที่ประมาณ 16.5% จากเป้าหมาย 50 ล้านคน ที่จะสามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ นั่นทำให้ผู้ป่วยอาการหนักเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเกรงว่าหากปล่อยให้สถานการณ์ดำเนินต่อไป ระบบสาธารณสุขของประเทศจะถึงภาวะล้มเหลวในที่สุด นอกจากนั้นแล้ว ยังพบว่าสถานที่ทำงานยังกลายเป็นพื้นที่เสี่ยงซึ่งมีผู้ติดเชื้อจากภายในองค์กรสูงถึง ร้อยละ 40 กอปรกับปัญหา เตียงรักษาไม่เพียงพอ ผู้ป่วยติดเชื้อจำนวนมากจึงเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปรักษาตัวในจังหวัดบ้านเกิด ซึ่งเท่ากับเป็นการนำเชื้อแพร่กระจายออกไปทั่วประเทศ[10] เพื่อรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าว ที่ประชุมศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) จึงออกมาตรการควบคุม การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดยให้มีผลวันที่ 12 กรกฎาคม 2564 อันถือเป็นมาตรการล็อคดาวน์ที่ปรับตามความเหมาะสมของพื้นที่โดยแบ่งระดับพื้นที่ออกเป็น 5 ระดับ[11] ดังนี้

          1) พื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดรหรือพื้นที่สีแดงเข้ม

          2) พื้นที่ควบคุมสูงสุดหรือพื้นที่สีแดง

          3) พื้นที่ควบคุมหรือพื้นที่สีส้ม

          4) พื้นที่เฝ้าระวังสูงสุดหรือพื้นที่สีเหลือง

          5) พื้นที่เฝ้าระวังหรือพื้นที่สีเขียว

          กล่าวเฉพาะในพื้นที่สีแดงเข้มนั้น ครอบคลุมกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีการจำกัดการเคลื่อนย้ายและงดกิจกรรมทางสังคมของบุคคล กำหนดให้มีการทำงานจากที่พักอาศัยมากที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ ปิดระบบขนส่งสาธารณะทุกชนิดตั้งแต่เวลา 21.00 ถึง 4.00 ของวันถัดไป ปิดร้านค้าเวลา 20.00 ถึง 4.00 ห้ามมีการจำหน่ายและบริโภคอาหาร สุรา และเครื่องดื่มภายในร้าน ปิดสถานที่เสี่ยงต่าง ๆ และห้ามดำเนินกิจกรรม ทางสังคมทุกรูปแบบ รวมถึงห้ามเดินทางออกนอกเคหสถานตั้งแต่เวลา 21.00 ถึง 4.00 การล็อคดาวน์ ลักษณะนี้ดำเนินไปอย่างต่อเนื่องโดยที่ ศบค. มีการเพิ่มและลดจำนวนจังหวัดต่าง ๆ เข้าไปในเขตพื้นที่ สีที่แตกต่างกันตามจำนวนตัวเลขผู้ติดเชื้อขณะนั้น เมื่อถึงต้นเดือนตุลาคม 2564 จำนวนผู้ได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 เพิ่มขึ้นเกินกว่า 50 ล้านคน มาตรการล็อคดาวน์จึงค่อย ๆ คลายลง โดยมีการลดเวลาเคอร์ฟิว และอนุญาตให้กิจการบางประเภทเปิดดำเนินการได้โดยยังต้องมีการรักษาระยะห่างทางสังคมและมีมาตรการป้องกันโควิด-19 อย่างเคร่งครัด พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี จึงประกาศว่ามีแผนการที่จะเปิดประเทศรับนักท่องเที่ยวจากต่างชาติซึ่งฉีดวัคซีนครบโดสแล้วในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 โดยไม่จำเป็นต้องกักตัว และจะพิจารณาให้สถานบันเทิงกลับมาเปิดดำเนินการอีกครั้งหลังวันที่ 1 ธันวาคม 2564[12]

บรรณานุกรม

“Coronavirus: Half of humanity now on lockdown as 90 countries call for confinement." Euronews (April 3, 2020). Available <https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou>. Accessed October 20, 2021.

Dhillon, Ranu S. and Abraar Karan. "The U.S. Needs Smarter Lockdowns. Now." Harvard Business Review (August 12, 2020). Available <https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now>. Accessed October 20, 2021.

“Smart Lockdown: A better option to combat COVID-19." The News (May 04, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19>. Accessed October 20, 2021.

“The 6 Steps." WHO. Available <https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf>. Accessed October 20, 2021.

“Timeline: China's COVID-19 outbreak and lockdown of Wuhan." ABC News (January 22, 2021). Available <https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357>. Accessed October 20, 2021.

“Understanding smart lockdowns." The News (May 3, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns>. Accessed October 20, 2021.

“WHO doctor says lockdowns should not be main coronavirus defence." ABC News (October 12, 2021). Available <https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688>. Accessed October 20, 2021.

Zheming Yuan et al. (2020). "A simple model to assess Wuhan lock-down effect and region efforts during COVID-19 epidemic in China Mainland." Bulletin of the World Health Organization, 98(7).

“นายกฯ แถลงความสำเร็จคุมโควิด เตรียมเปิดประเทศ 1 พ.ย. นี้." เนชั่นออนไลน์ (11 ตุลาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.nationtv.tv/news/378845599>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.

“รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง." กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.bangkokbiznews.com/news/947691>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.

“ศบค. ประกาศล็อกดาวน์-เคอร์ฟิว คุมเข้ม 10 จังหวัด จำกัดการเดินทาง 14 วัน." ประชาชาติธุรกิจ (9 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.prachachat.net/general/news-709536>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.

อ้างอิง

[1] "Coronavirus: Half of humanity now on lockdown as 90 countries call for confinement," Euronews (April 3, 2020). Available <https://www.euronews.com/2020/04/02/coronavirus-in-europe-spain-s-death-toll-hits-10-000-after-record-950-new-deaths-in-24-hou>. Accessed October 20, 2021.

[2] "WHO doctor says lockdowns should not be main coronavirus defence," ABC News (October 12, 2021). Available <https://www.abc.net.au/news/2020-10-12/world-health-organization-coronavirus-lockdown-advice/12753688>. Accessed October 20, 2021.

[3] "The 6 Steps," WHO. Available <https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf>. Accessed October 20, 2021.

[4] "The 6 Steps," WHO. Available <https://www.who.int/docs/default-source/searo/thailand/who-tha-six-steps.pdf>. Accessed October 20, 2021.

[5] โปรดดู "Timeline: China's COVID-19 outbreak and lockdown of Wuhan," ABC News (January 22, 2021). Available <https://abcnews.go.com/Health/wireStory/timeline-chinas-covid-19-outbreak-lockdown-wuhan-75421357>. Accessed October 20, 2021. และ Zheming Yuan et al., "A simple model to assess Wuhan lock-down effect and region efforts during COVID-19 epidemic in China Mainland," Bulletin of the World Health Organisation, 98(7), 2020.

[6] "Understanding smart lockdowns," The News (May 3, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/tns/detail/652604-understanding-smart-lockdowns>. Accessed October 20, 2021.

[7] "Smart Lockdown: A better option to combat COVID-19," The News (May 04, 2020). Available <https://www.thenews.com.pk/print/653861-smart-lockdown-a-better-option-to-combat-covid-19>. Accessed October 20, 2021.

[8] Ranu S. Dhillon and Abraar Karan, "The U.S. Needs Smarter Lockdowns. Now," Harvard Business Review (August 12, 2020). Available <https://hbr.org/2020/08/the-u-s-needs-smarter-lockdowns-now>. Accessed October 20, 2021.

[9] "รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง," กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.bangkokbiznews.com/news/947691>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.

[10] "รู้จัก ‘ล็อกดาวน์’ ก่อนล็อกจริง! ย้อนดู ‘ล็อกดาวน์ เม.ย.63’ มีอะไรบ้าง," กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (17 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.bangkokbiznews.com/news/947691>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.

[11] "ศบค. ประกาศล็อกดาวน์-เคอร์ฟิว คุมเข้ม 10 จังหวัด จำกัดการเดินทาง 14 วัน," ประชาชาติธุรกิจ (9 กรกฎาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.prachachat.net/general/news-709536>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.

[12] "นายกฯ แถลงความสำเร็จคุมโควิด เตรียมเปิดประเทศ 1 พ.ย. นี้," เนชั่นออนไลน์ (11 ตุลาคม 2564). เข้าถึงจาก <https://www.nationtv.tv/news/378845599>. เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2564.