ผลต่างระหว่างรุ่นของ "11 กันยายน พ.ศ. 2481"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศ.นรนิต เศรษฐบุตร ---- '''ผู้ทรงคุณวุ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' ศ.นรนิต เศรษฐบุตร
'''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


----
----
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:


----
----
วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481 ได้มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกในประวัติ
วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481 ได้มีการ[[ยุบสภาผู้แทนราษฎร]]เป็นครั้งแรกในประวัติ


ศาสตร์การเมืองไทย โดยนายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา ขณะนั้นประเทศไทยใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ซึ่งมีบทบัญญัติในมาตรา 35 ว่า
ศาสตร์การเมืองไทย โดย[[นายกรัฐมนตรี]] [[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] ขณะนั้นประเทศไทยใช้[[รัฐธรรมนูญ ฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475]] ซึ่งมีบทบัญญัติในมาตรา 35 ว่า


“พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งสมาชิกมาใหม่ ในพระราชกฤษฎีกาให้ยุบสภาเช่นนี้ต้องมีกำหนดให้เลือกตั้งสมาชิกใหม่ภายในเก้าสิบวัน”
“[[พระมหากษัตริย์]]ทรงไว้ซึ่ง[[พระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร]] เพื่อให้ราษฎร[[เลือกตั้ง]]สมาชิกมาใหม่ ในพระราชกฤษฎีกาให้ยุบสภาเช่นนี้ต้องมีกำหนดให้เลือกตั้งสมาชิกใหม่ภายในเก้าสิบวัน”


ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา เมื่อทางฝ่ายรัฐบาลแพ้เสียงในสภาในเรื่องสำคัญ นายกรัฐมนตรีผู้เป็นหัวหน้ารัฐบาลก็มีทางเลือกว่าจะลาออกเพื่อให้มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ที่ตัวท่านเอง อาจกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกหรือไม่กลับมาเป็นอีกก็ได้ หรืออาจเลือกเอาทางยุบสภา ให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่เพื่อจัดตั้งรัฐบาลต่อไป
ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบ[[รัฐสภา]] เมื่อทางฝ่ายรัฐบาลแพ้เสียงในสภาในเรื่องสำคัญ นายกรัฐมนตรีผู้เป็นหัวหน้ารัฐบาลก็มีทางเลือกว่าจะลาออกเพื่อให้มีการจัดตั้ง[[รัฐบาล]]ใหม่ที่ตัวท่านเอง อาจกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกหรือไม่กลับมาเป็นอีกก็ได้ หรืออาจเลือกเอาทางยุบสภา ให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจเลือก[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ชุดใหม่เพื่อจัดตั้งรัฐบาลต่อไป


มูลเหตุของการที่จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกนี้มาจากการที่รัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนาแพ้เสียงในมติเกี่ยวกับการร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีการพิจารณากันเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2481 โดยรัฐบาลแพ้เสียง 45 ต่อ 31 เสียงในการลงคะแนนลับ
มูลเหตุของการที่จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกนี้มาจากการที่รัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนาแพ้เสียงในมติเกี่ยวกับการร่าง[[ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร]] ซึ่งมีการพิจารณากันเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2481 โดยรัฐบาลแพ้เสียง 45 ต่อ 31 เสียงในการ[[ลงคะแนนลับ]]
เมื่อกรณีเป็นไปเช่นนี้นายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนาจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในวันนี้ แต่คณะผู้สำเร็จราชการฯ ไม่ยอมรับใบลา อ้างว่าสถานการณ์บ้านเมืองมีความปั่นป่วน จึงได้
เมื่อกรณีเป็นไปเช่นนี้นายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนาจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อ[[คณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]]ในวันนี้ แต่คณะผู้สำเร็จราชการฯ ไม่ยอมรับใบลา อ้างว่าสถานการณ์บ้านเมืองมีความปั่นป่วน จึงได้
ให้ออกพระราชกฤษฎีกายุบสภาในวันถัดมา (11 กันยายน พ.ศ. 2481) และต่อมาก็ได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 นับว่าเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 3 ของประเทศ หลังการเลือกตั้งแล้วแม้มีผู้พยายามให้พระยาพหลพลพยุหเสนากลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีก แต่ท่านก็มิได้หวนกลับมารับตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลอีกเลย
ให้ออกพระราชกฤษฎีกายุบสภาในวันถัดมา (11 กันยายน พ.ศ. 2481) และต่อมาก็ได้กำหนดให้มี[[การเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481]] นับว่าเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 3 ของประเทศ หลังการเลือกตั้งแล้วแม้มีผู้พยายามให้พระยาพหลพลพยุหเสนากลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีก แต่ท่านก็มิได้หวนกลับมารับตำแหน่ง[[หัวหน้ารัฐบาล]]อีกเลย


[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:56, 9 กันยายน 2556

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


วันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481 ได้มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกในประวัติ

ศาสตร์การเมืองไทย โดยนายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนา ขณะนั้นประเทศไทยใช้รัฐธรรมนูญ ฉบับ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ซึ่งมีบทบัญญัติในมาตรา 35 ว่า

พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งสมาชิกมาใหม่ ในพระราชกฤษฎีกาให้ยุบสภาเช่นนี้ต้องมีกำหนดให้เลือกตั้งสมาชิกใหม่ภายในเก้าสิบวัน”

ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภา เมื่อทางฝ่ายรัฐบาลแพ้เสียงในสภาในเรื่องสำคัญ นายกรัฐมนตรีผู้เป็นหัวหน้ารัฐบาลก็มีทางเลือกว่าจะลาออกเพื่อให้มีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ที่ตัวท่านเอง อาจกลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกหรือไม่กลับมาเป็นอีกก็ได้ หรืออาจเลือกเอาทางยุบสภา ให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดใหม่เพื่อจัดตั้งรัฐบาลต่อไป

มูลเหตุของการที่จะมีการยุบสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกนี้มาจากการที่รัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนาแพ้เสียงในมติเกี่ยวกับการร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ซึ่งมีการพิจารณากันเมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2481 โดยรัฐบาลแพ้เสียง 45 ต่อ 31 เสียงในการลงคะแนนลับ

เมื่อกรณีเป็นไปเช่นนี้นายกรัฐมนตรี พระยาพหลพลพยุหเสนาจึงได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในวันนี้ แต่คณะผู้สำเร็จราชการฯ ไม่ยอมรับใบลา อ้างว่าสถานการณ์บ้านเมืองมีความปั่นป่วน จึงได้ ให้ออกพระราชกฤษฎีกายุบสภาในวันถัดมา (11 กันยายน พ.ศ. 2481) และต่อมาก็ได้กำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 นับว่าเป็นการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 3 ของประเทศ หลังการเลือกตั้งแล้วแม้มีผู้พยายามให้พระยาพหลพลพยุหเสนากลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีก แต่ท่านก็มิได้หวนกลับมารับตำแหน่งหัวหน้ารัฐบาลอีกเลย