ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศกิจ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' ศ.อนันต์ เกตุวงศ์
'''ผู้เรียบเรียง''' ศ.อนันต์ เกตุวงศ์
----
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รศ.ดร. ปรีชา หงส์ไกรเลิศ


----
----
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 9:
== เทศกิจ ==
== เทศกิจ ==
สืบเนื่องมาจาก พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง  พ.ศ. 2503  เทศบาลนครกรุงเทพ จึงได้ก่อตั้ง “กองตรวจพิเศษ”  เพื่อติดตามตรวจสอบประเมินผลและสำรวจข้อบกพร่องที่มีผลกระทบต่อประโยชน์สุขและความเดือดร้อนรำคาญต่อประชาชนในเขตกรุงเทพฯ  
สืบเนื่องมาจาก พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง  พ.ศ. 2503  [[เทศบาลนครกรุงเทพ]] จึงได้ก่อตั้ง “กองตรวจพิเศษ”  เพื่อติดตามตรวจสอบประเมินผลและสำรวจข้อบกพร่องที่มีผลกระทบต่อประโยชน์สุขและความเดือดร้อนรำคาญต่อประชาชนในเขตกรุงเทพฯ  


พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศเรื่อง การจัดระเบียบกรุงเทพมหานครให้มีการแบ่งกิจการตำรวจเป็น 2 กองคือ กองตำรวจ กรุงเทพมหานคร กับกองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อมาได้ปรับปรุงเป็นกองบังคับการตำรวจประกอบด้วย กองกำกับ1 ฝ่ายเทศกิจ  กองกำกับ 2 ฝ่ายการจราจร  กองกำกับ 3 ฝ่ายเด็กและเยาวชน และกองกำกับ4 ฝ่ายดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย
พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศเรื่อง การจัดระเบียบ[[กรุงเทพมหานคร]]ให้มีการแบ่งกิจการตำรวจเป็น 2 กองคือ กองตำรวจ กรุงเทพมหานคร กับกองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อมาได้ปรับปรุงเป็นกองบังคับการตำรวจประกอบด้วย กองกำกับ1 ฝ่ายเทศกิจ  กองกำกับ 2 ฝ่ายการจราจร  กองกำกับ 3 ฝ่ายเด็กและเยาวชน และกองกำกับ4 ฝ่ายดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย


พ.ศ. 2520 จัดตั้ง สำนักงานตำรวจเทศกิจ แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายงานเลขานุการ และฝ่ายงานปฏิบัติการเทศกิจ ได้รับตำแหน่งจาก ก.พ. 352 อัตรา ประจำสถานีตำรวจนครบาล 32 สถานี ตามนโยบาย “ประชาชนสะอาด ประชาชาติปลอดโรค”  ในปี พ.ศ. 2525 ได้ยุบเลิกตำรวจเทศกิจและคืนตำแหน่งให้กรมตำรวจทั้งหมด
พ.ศ. 2520 จัดตั้ง สำนักงานตำรวจเทศกิจ แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายงานเลขานุการ และฝ่ายงานปฏิบัติการเทศกิจ ได้รับตำแหน่งจาก ก.พ. 352 อัตรา ประจำสถานีตำรวจนครบาล 32 สถานี ตามนโยบาย “ประชาชนสะอาด ประชาชาติปลอดโรค”  ในปี พ.ศ. 2525 ได้ยุบเลิกตำรวจเทศกิจและคืนตำแหน่งให้กรมตำรวจทั้งหมด
บรรทัดที่ 14: บรรทัดที่ 18:


พ.ศ. 2547 มีการรวมภารกิจของกองตรวจการเทศกิจและกองบังคับการเทศกิจเข้าด้วยกัน เพื่อจัดตั้งเป็นส่วนราชการระดับกอง 3 กองคือ กองตรวจและปฏิบัติการพื้นที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ส่วนการปฏิบัติงานในพื้นที่เป็น “ฝ่ายเทศกิจ” ซึ่งสังกัดสำนักงานเขตภายใต้การอำนวยการเขตซึ่งแบ่งส่วนราชการเป็น  1) งานตรวจและบังคับการ  2) งานคดีและธุรการ 3) งานกิจการพิเศษ
พ.ศ. 2547 มีการรวมภารกิจของกองตรวจการเทศกิจและกองบังคับการเทศกิจเข้าด้วยกัน เพื่อจัดตั้งเป็นส่วนราชการระดับกอง 3 กองคือ กองตรวจและปฏิบัติการพื้นที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ส่วนการปฏิบัติงานในพื้นที่เป็น “ฝ่ายเทศกิจ” ซึ่งสังกัดสำนักงานเขตภายใต้การอำนวยการเขตซึ่งแบ่งส่วนราชการเป็น  1) งานตรวจและบังคับการ  2) งานคดีและธุรการ 3) งานกิจการพิเศษ
[[หมวดหมู่:สารานุกรมการเมืองไทย|ท]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:44, 30 พฤษภาคม 2555

ผู้เรียบเรียง ศ.อนันต์ เกตุวงศ์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร. ปรีชา หงส์ไกรเลิศ


เทศกิจ

สืบเนื่องมาจาก พ.ร.บ.รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2503 เทศบาลนครกรุงเทพ จึงได้ก่อตั้ง “กองตรวจพิเศษ” เพื่อติดตามตรวจสอบประเมินผลและสำรวจข้อบกพร่องที่มีผลกระทบต่อประโยชน์สุขและความเดือดร้อนรำคาญต่อประชาชนในเขตกรุงเทพฯ

พ.ศ. 2516 ได้มีการประกาศเรื่อง การจัดระเบียบกรุงเทพมหานครให้มีการแบ่งกิจการตำรวจเป็น 2 กองคือ กองตำรวจ กรุงเทพมหานคร กับกองป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ต่อมาได้ปรับปรุงเป็นกองบังคับการตำรวจประกอบด้วย กองกำกับ1 ฝ่ายเทศกิจ กองกำกับ 2 ฝ่ายการจราจร กองกำกับ 3 ฝ่ายเด็กและเยาวชน และกองกำกับ4 ฝ่ายดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัย

พ.ศ. 2520 จัดตั้ง สำนักงานตำรวจเทศกิจ แบ่งเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายงานเลขานุการ และฝ่ายงานปฏิบัติการเทศกิจ ได้รับตำแหน่งจาก ก.พ. 352 อัตรา ประจำสถานีตำรวจนครบาล 32 สถานี ตามนโยบาย “ประชาชนสะอาด ประชาชาติปลอดโรค” ในปี พ.ศ. 2525 ได้ยุบเลิกตำรวจเทศกิจและคืนตำแหน่งให้กรมตำรวจทั้งหมด

พ.ศ. 2528 จัดตั้ง สำนักเทศกิจ แทนสำนักตำรวจเทศกิจ และมีการปรับปรุงเป็น กองตรวจการเทศกิจ และกองบังคับการเทศกิจ ในปี พ.ศ. 2535 และมีการปรับปรุงอีกครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2540 เป็น กองตรวจการเทศกิจ และกองบังคับการเทศกิจ

พ.ศ. 2547 มีการรวมภารกิจของกองตรวจการเทศกิจและกองบังคับการเทศกิจเข้าด้วยกัน เพื่อจัดตั้งเป็นส่วนราชการระดับกอง 3 กองคือ กองตรวจและปฏิบัติการพื้นที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ส่วนการปฏิบัติงานในพื้นที่เป็น “ฝ่ายเทศกิจ” ซึ่งสังกัดสำนักงานเขตภายใต้การอำนวยการเขตซึ่งแบ่งส่วนราชการเป็น 1) งานตรวจและบังคับการ 2) งานคดีและธุรการ 3) งานกิจการพิเศษ