ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิชัย รัตตกุล"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 11: | บรรทัดที่ 11: | ||
[[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] (Speaker) คือ [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ซึ่ง[[พระมหากษัตริย์]]ทรงแต่งตั้งตามมติของ[[สภาผู้แทนราษฎร]] มีอำนาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและดำเนินการให้เป็นไปตามข้อบังคับ ถือเป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายนิติบัญญัติในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในระบบ[[รัฐสภา]] และเป็นผู้นำของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร<ref>สถาบันพระปกเกล้า, ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎร</ref> | [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]] (Speaker) คือ [[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ซึ่ง[[พระมหากษัตริย์]]ทรงแต่งตั้งตามมติของ[[สภาผู้แทนราษฎร]] มีอำนาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและดำเนินการให้เป็นไปตามข้อบังคับ ถือเป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายนิติบัญญัติในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในระบบ[[รัฐสภา]] และเป็นผู้นำของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร<ref>สถาบันพระปกเกล้า, ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎร</ref> | ||
ในช่วงแรก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้รัฐสภามีเพียง[[สภาเดียว]] คือ สภาผู้แทนราษฎร ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงมีฐานะเป็น[[ประธานรัฐสภา]] | ในช่วงแรก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้รัฐสภามีเพียง[[สภาเดียว]] คือ สภาผู้แทนราษฎร ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงมีฐานะเป็น[[ประธานรัฐสภา]] แต่ต่อมาเมื่อประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ]]กำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วย [[พฤฒสภา]]และ[[สภาผู้แทน]] และให้[[ประธานพฤฒสภา]]เป็นประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนเป็นรองประธานรัฐสภา และเมื่อมีการประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] จึงมีการเปลี่ยนแปลงครั้งแรกที่แตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับอื่น คือ กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดย[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ก็มีบทบัญญัติเช่นเดียวกัน ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีผู้ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก เมื่อปีพุทธศักราช 2475 กระทั่งปัจจุบันนี้มีผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวรวมจำนวน 24 คน โดยนายพิชัย รัตนกุล เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่ 21<ref>หนังสือพิมพ์ผู้แทน, สุดยอดผู้แทนไทย. กรุงเทพฯ : ศิลปสนองการพิมพ์, 2530, หน้า 10 - 12.</ref> | ||
บรรทัดที่ 50: | บรรทัดที่ 50: | ||
'''การดำรงตำแหน่งทางการบริหาร''' | '''การดำรงตำแหน่งทางการบริหาร''' | ||
- ปี พ.ศ. 2518 เป็น[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ]] สมัย[[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ในรัฐบาลชุดที่ 35 | - ปี พ.ศ. 2518 เป็น[[รัฐมนตรี]]ว่าการ[[กระทรวงการต่างประเทศ]] สมัย[[เสนีย์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ในรัฐบาลชุดที่ 35 | ||
- ปี พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 37 | - ปี พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 37 | ||
บรรทัดที่ 56: | บรรทัดที่ 56: | ||
- ปี พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 38 | - ปี พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 38 | ||
- ปี พ.ศ. 2526 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัย[[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 43 | - ปี พ.ศ. 2526 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัย[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 43 | ||
- ปี พ.ศ. 2529 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 44 | - ปี พ.ศ. 2529 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 44 | ||
- ปี พ.ศ. 2531 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัย[[พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ]] เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 45 | - ปี พ.ศ. 2531 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัย[[ชาติชาย ชุณหะวัณ|พลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ]] เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 45 | ||
== บทบาททางการเมือง == | == บทบาททางการเมือง == | ||
นายพิชัย รัตตกุล เข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และเป็น [[ส.ส.]]ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] ก่อนเกิด[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]]ไม่นาน นายพิชัย รัตตกุล ได้เป็น 1 ใน 100 ของบุคคลที่ลงชื่อคัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ[[จอมพลถนอม กิตติขจร]] และเป็น 1 ใน 4 สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ที่ลงชื่อในคราวนั้น (อีก 3 คน คือ นายดำรง ลัทธพิพัฒน์, นายเทพ โชตินุชิต, นายชวลิต อภัยวงศ์) | นายพิชัย รัตตกุล เข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และเป็น [[ส.ส.]]ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]] ก่อนเกิด[[เหตุการณ์ 14 ตุลา]]ไม่นาน นายพิชัย รัตตกุล ได้เป็น 1 ใน 100 ของบุคคลที่ลงชื่อคัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ[[ถนอม กิตติขจร|จอมพลถนอม กิตติขจร]] และเป็น 1 ใน 4 สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ที่ลงชื่อในคราวนั้น (อีก 3 คน คือ นายดำรง ลัทธพิพัฒน์, นายเทพ โชตินุชิต, นายชวลิต อภัยวงศ์) | ||
ในสมัย[[รัฐบาล]] [[หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] [[นายพิชัย รัตตกุล]] ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศถึง 3 ครั้ง ตามวาระของรัฐบาล | ในสมัย[[รัฐบาล]] [[เสนีย์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] [[พิชัย รัตตกุล|นายพิชัย รัตตกุล]] ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศถึง 3 ครั้ง ตามวาระของรัฐบาล | ||
ในปี พ.ศ. 2525 ได้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ หลังจากการครบวาระของพันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ | ในปี พ.ศ. 2525 ได้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ หลังจากการครบวาระของพันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ในช่วงนี้ได้ร่วมเป็นพรรคร่วมรัฐบาลที่ให้การสนับสนุนการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ซึ่งนายพิชัย รัตตกุล ได้เป็นรองนายกรัฐมนตรีด้วย ในปี พ.ศ. 2529 จากนั้นในรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ นายพิชัย รัตตกุล และพรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นพรรคร่วมรัฐบาลในวาระแรก แต่ในวาระที่ 2 ของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายพิชัยและพรรคประชาธิปัตย์ได้ถอนตัวจากการร่วมรัฐบาลเนื่องจากมีเสียงสนับสนุนรัฐบาลในสภาฯ เป็นจำนวนมาก เนื่องจากไม่ต้องการให้เกิดสภาพการเป็นเผด็จการรัฐสภา | ||
ในวาระของการเป็นหัวหน้าพรรคของนายพิชัยนั้น ได้มีเหตุการณ์ความแตกแยกในพรรคเกิดขึ้น เมื่อกลุ่ม “[[10 มกรา]]” ที่นำโดยนายวีระ มุสิกพงศ์ ได้ลาออกจากพรรคไป เนื่องจากความขัดแย้งกันในการแต่งตั้งหัวหน้าพรรค | ในวาระของการเป็นหัวหน้าพรรคของนายพิชัยนั้น ได้มีเหตุการณ์ความแตกแยกในพรรคเกิดขึ้น เมื่อกลุ่ม “[[10 มกรา]]” ที่นำโดยนายวีระ มุสิกพงศ์ ได้ลาออกจากพรรคไป เนื่องจากความขัดแย้งกันในการแต่งตั้งหัวหน้าพรรค | ||
บรรทัดที่ 75: | บรรทัดที่ 75: | ||
เมื่อนายชวน หลีกภัยเป็นหัวหน้าพรรคและเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 นายพิชัย รัตตกุล ได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบกิจการเกี่ยวกับต่างประเทศและรับผิดชอบการจัดมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ 1998 และได้ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภาด้วย | เมื่อนายชวน หลีกภัยเป็นหัวหน้าพรรคและเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 นายพิชัย รัตตกุล ได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบกิจการเกี่ยวกับต่างประเทศและรับผิดชอบการจัดมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ 1998 และได้ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภาด้วย | ||
นายพิชัย รัตตกุล ได้วางมือจากการเมืองเนื่องจากมีอายุมาก จนได้รับฉายาว่า “[[คุณปู่]]” แต่ยังมีตำแหน่งเป็นสภาที่ปรึกษาของพรรคประชาธิปัตย์ ในแวดวงสังคม นายพิชัย รัตตกุล มีตำแหน่งเป็นประธานสโมสรโรตารีในประเทศ และเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งประธานสโมสรโรตารีสากลในระหว่างปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546 | นายพิชัย รัตตกุล ได้วางมือจากการเมืองเนื่องจากมีอายุมาก จนได้รับฉายาว่า “[[คุณปู่]]” แต่ยังมีตำแหน่งเป็นสภาที่ปรึกษาของพรรคประชาธิปัตย์ ในแวดวงสังคม นายพิชัย รัตตกุล มีตำแหน่งเป็นประธานสโมสรโรตารีในประเทศ และเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งประธานสโมสรโรตารีสากลในระหว่างปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546 | ||
กรณีตัวอย่างภารกิจของประธานสภาผู้แทนราษฎร นายพิชัย รัตตกุล เนื่องในโอกาสวันปิดสมัยประชุมของสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2543 ณ ห้องประชุม[[รัฐสภา]] ความตอนหนึ่งว่า “...โดยเฉพาะผลงานในด้านกฎหมาย ในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา สภาแห่งนี้ได้ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติและพระราชกำหนดหลายอย่างหลายประการ เรามีการประชุมทั้งสิ้น 260 ครั้ง ใช้เวลาในการประชุม 1,730 ชั่วโมง กับ 57 นาที เมื่อสักครู่ที่ผ่านมา มีผลงานที่พอสรุปได้ก็คือ ตรา[[กฎหมาย]]จำนวน 267 ฉบับ ซึ่งในจำนวนนั้นมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจำนวน 8 ฉบับ มีญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีจำนวน 4 ครั้ง มีการตอบ กระทู้ถามสด 251 เรื่อง การตอบกระทู้ถามทั่วไป 244 เรื่อง และตอบกระทู้ถามในราชกิจจานุเบกษา 727 เรื่อง สิ่งเหล่านี้ถือเป็นเกียรติประวัติที่สำคัญอย่างยิ่งของสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ที่ท่านได้มีส่วนร่วมในการปฏิรูปการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน ทำหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และในฐานะที่ท่านทั้งหลายเป็นสมาชิกรัฐสภาก็ได้[[ลงมติ]]ให้ความเห็นชอบประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญของประชาชน โดยมีสาระสำคัญเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน...” และวาทะก่อนยุติบทบาททางการเมือง คือ “สำหรับผมเองนั้นคงไม่มีโอกาสมาร่วมงานกับสภานี้อีก ผมจะขอเกษียณและขอยุติบทบาทในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในฐานะนักการเมือง ซึ่งเป็นอาชีพที่ผมมีความภูมิใจมากที่ผมได้มีส่วนเล็กน้อยในการทำงานให้แก่สังคมให้แก่บ้านเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 แต่ผมจะคอยติดตามงานของท่าน งานของบ้านเมือง งานของสภา งานของทุกท่าน และเอาใจช่วยเต็มที่ เพราะกว่าครึ่งหนึ่งของชีวิตผมได้ใช้อยู่กับสภานี้ สภานี้จึงเสมือนหนึ่งเป็นบ้านที่ผมมีเพื่อนฝูงอยู่มากมายหลายร้อยหลานพันคน เพราะฉะนั้นย่อมจะใจหาย หากจะจากไป ผมขอจากไปแต่ตัว แต่ความรักจะอยู่กับท่านตลอดไป” <ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สารประธานรัฐสภา พิชัย รัตตกุล. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2543, หน้า 42.</ref> | กรณีตัวอย่างภารกิจของประธานสภาผู้แทนราษฎร นายพิชัย รัตตกุล เนื่องในโอกาสวันปิดสมัยประชุมของสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2543 ณ ห้องประชุม[[รัฐสภา]] ความตอนหนึ่งว่า “...โดยเฉพาะผลงานในด้านกฎหมาย ในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา สภาแห่งนี้ได้ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติและพระราชกำหนดหลายอย่างหลายประการ เรามีการประชุมทั้งสิ้น 260 ครั้ง ใช้เวลาในการประชุม 1,730 ชั่วโมง กับ 57 นาที เมื่อสักครู่ที่ผ่านมา มีผลงานที่พอสรุปได้ก็คือ ตรา[[กฎหมาย]]จำนวน 267 ฉบับ ซึ่งในจำนวนนั้นมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจำนวน 8 ฉบับ มีญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีจำนวน 4 ครั้ง มีการตอบ กระทู้ถามสด 251 เรื่อง การตอบกระทู้ถามทั่วไป 244 เรื่อง และตอบกระทู้ถามในราชกิจจานุเบกษา 727 เรื่อง สิ่งเหล่านี้ถือเป็นเกียรติประวัติที่สำคัญอย่างยิ่งของสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ที่ท่านได้มีส่วนร่วมในการปฏิรูปการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน ทำหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และในฐานะที่ท่านทั้งหลายเป็นสมาชิกรัฐสภาก็ได้[[ลงมติ]]ให้ความเห็นชอบประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญของประชาชน โดยมีสาระสำคัญเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน...” และวาทะก่อนยุติบทบาททางการเมือง คือ “สำหรับผมเองนั้นคงไม่มีโอกาสมาร่วมงานกับสภานี้อีก ผมจะขอเกษียณและขอยุติบทบาทในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในฐานะนักการเมือง ซึ่งเป็นอาชีพที่ผมมีความภูมิใจมากที่ผมได้มีส่วนเล็กน้อยในการทำงานให้แก่สังคมให้แก่บ้านเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 แต่ผมจะคอยติดตามงานของท่าน งานของบ้านเมือง งานของสภา งานของทุกท่าน และเอาใจช่วยเต็มที่ เพราะกว่าครึ่งหนึ่งของชีวิตผมได้ใช้อยู่กับสภานี้ สภานี้จึงเสมือนหนึ่งเป็นบ้านที่ผมมีเพื่อนฝูงอยู่มากมายหลายร้อยหลานพันคน เพราะฉะนั้นย่อมจะใจหาย หากจะจากไป ผมขอจากไปแต่ตัว แต่ความรักจะอยู่กับท่านตลอดไป” <ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สารประธานรัฐสภา พิชัย รัตตกุล. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2543, หน้า 42.</ref> | ||
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:30, 16 ตุลาคม 2557
ผู้เรียบเรียง วิมลรักษ์ ศานติธรรม
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง
นายพิชัย รัตตกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานรัฐสภา
ประธานสภาผู้แทนราษฎร (Speaker) คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามมติของสภาผู้แทนราษฎร มีอำนาจหน้าที่ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและดำเนินการให้เป็นไปตามข้อบังคับ ถือเป็นตำแหน่งหัวหน้าฝ่ายนิติบัญญัติในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา และเป็นผู้นำของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร[1]
ในช่วงแรก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้รัฐสภามีเพียงสภาเดียว คือ สภาผู้แทนราษฎร ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงมีฐานะเป็นประธานรัฐสภา แต่ต่อมาเมื่อประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 กำหนดให้รัฐสภาประกอบด้วย พฤฒสภาและสภาผู้แทน และให้ประธานพฤฒสภาเป็นประธานรัฐสภา ประธานสภาผู้แทนเป็นรองประธานรัฐสภา และเมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 จึงมีการเปลี่ยนแปลงครั้งแรกที่แตกต่างจากรัฐธรรมนูญฉบับอื่น คือ กำหนดให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา และประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็มีบทบัญญัติเช่นเดียวกัน ดังนั้น ประเทศไทยจึงมีผู้ดำรงตำแหน่งประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรก เมื่อปีพุทธศักราช 2475 กระทั่งปัจจุบันนี้มีผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวรวมจำนวน 24 คน โดยนายพิชัย รัตนกุล เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่ 21[2]
ประวัติ
นายพิชัย รัตตกุล อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เกิดวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2469 ที่กรุงเทพมหานคร ในครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีน โดยเป็นลูกชายคนโต จบการศึกษาระดับมัธยมจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน จากนั้นจึงไปศึกษาอนุปริญญา St.Stephen ที่ประเทศฮ่องกง หลังจบการศึกษาแล้วได้กลับมาดูแลธุรกิจของครอบครัว ก่อนจะเข้าสู่วงการเมือง และได้ปริญญาตรีรัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง และปริญญาตรีรัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากประเทศสหรัฐอเมริกา
สมรสกับคุณหญิงจรวย รัตตกุล (สกุลเดิม ศิริบุญ) มีบุตรชาย 2 คน คือ ดร.พิจิตต รัตตกุล และดร.อาณัฐชัย รัตตกุล ปัจจุบันนายพิชัย รัตตกุล อายุ 83 ปี[3]
ประวัติการทำงาน
ประวัติการทำงาน[4] การเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- ปี พ.ศ. 2512 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2516 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ปี พ.ศ. 2518 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2519 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2526 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2529 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2531 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2538 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
- ปี พ.ศ. 2539 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์
การดำรงตำแหน่งทางนิติบัญญัติ
30 มิถุนายน 2543 – 9 พฤศจิกายน 2543 เป็นประธานรัฐสภา และประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่ 21
การดำรงตำแหน่งทางการบริหาร
- ปี พ.ศ. 2518 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 35
- ปี พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 37
- ปี พ.ศ. 2519 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ สมัยหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรีในรัฐบาลชุดที่ 38
- ปี พ.ศ. 2526 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 43
- ปี พ.ศ. 2529 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 44
- ปี พ.ศ. 2531 เป็นรองนายกรัฐมนตรี สมัยพลตรีชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาลชุดที่ 45
บทบาททางการเมือง
นายพิชัย รัตตกุล เข้าสู่แวดวงการเมืองด้วยการเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และเป็น ส.ส.ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ก่อนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาไม่นาน นายพิชัย รัตตกุล ได้เป็น 1 ใน 100 ของบุคคลที่ลงชื่อคัดค้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของจอมพลถนอม กิตติขจร และเป็น 1 ใน 4 สมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ที่ลงชื่อในคราวนั้น (อีก 3 คน คือ นายดำรง ลัทธพิพัฒน์, นายเทพ โชตินุชิต, นายชวลิต อภัยวงศ์)
ในสมัยรัฐบาล หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายพิชัย รัตตกุล ได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศถึง 3 ครั้ง ตามวาระของรัฐบาล
ในปี พ.ศ. 2525 ได้เป็นหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ หลังจากการครบวาระของพันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ ซึ่งพรรคประชาธิปัตย์ในช่วงนี้ได้ร่วมเป็นพรรคร่วมรัฐบาลที่ให้การสนับสนุนการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ซึ่งนายพิชัย รัตตกุล ได้เป็นรองนายกรัฐมนตรีด้วย ในปี พ.ศ. 2529 จากนั้นในรัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ นายพิชัย รัตตกุล และพรรคประชาธิปัตย์ได้เป็นพรรคร่วมรัฐบาลในวาระแรก แต่ในวาระที่ 2 ของการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายพิชัยและพรรคประชาธิปัตย์ได้ถอนตัวจากการร่วมรัฐบาลเนื่องจากมีเสียงสนับสนุนรัฐบาลในสภาฯ เป็นจำนวนมาก เนื่องจากไม่ต้องการให้เกิดสภาพการเป็นเผด็จการรัฐสภา
ในวาระของการเป็นหัวหน้าพรรคของนายพิชัยนั้น ได้มีเหตุการณ์ความแตกแยกในพรรคเกิดขึ้น เมื่อกลุ่ม “10 มกรา” ที่นำโดยนายวีระ มุสิกพงศ์ ได้ลาออกจากพรรคไป เนื่องจากความขัดแย้งกันในการแต่งตั้งหัวหน้าพรรค
เมื่อนายชวน หลีกภัยเป็นหัวหน้าพรรคและเป็นนายกรัฐมนตรีในสมัยที่ 2 นายพิชัย รัตตกุล ได้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบกิจการเกี่ยวกับต่างประเทศและรับผิดชอบการจัดมหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ 1998 และได้ดำรงตำแหน่งประธานรัฐสภาด้วย นายพิชัย รัตตกุล ได้วางมือจากการเมืองเนื่องจากมีอายุมาก จนได้รับฉายาว่า “คุณปู่” แต่ยังมีตำแหน่งเป็นสภาที่ปรึกษาของพรรคประชาธิปัตย์ ในแวดวงสังคม นายพิชัย รัตตกุล มีตำแหน่งเป็นประธานสโมสรโรตารีในประเทศ และเป็นคนไทยคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งประธานสโมสรโรตารีสากลในระหว่างปี พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2546
กรณีตัวอย่างภารกิจของประธานสภาผู้แทนราษฎร นายพิชัย รัตตกุล เนื่องในโอกาสวันปิดสมัยประชุมของสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 20 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 ตุลาคม 2543 ณ ห้องประชุมรัฐสภา ความตอนหนึ่งว่า “...โดยเฉพาะผลงานในด้านกฎหมาย ในระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา สภาแห่งนี้ได้ให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติและพระราชกำหนดหลายอย่างหลายประการ เรามีการประชุมทั้งสิ้น 260 ครั้ง ใช้เวลาในการประชุม 1,730 ชั่วโมง กับ 57 นาที เมื่อสักครู่ที่ผ่านมา มีผลงานที่พอสรุปได้ก็คือ ตรากฎหมายจำนวน 267 ฉบับ ซึ่งในจำนวนนั้นมีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจำนวน 8 ฉบับ มีญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีจำนวน 4 ครั้ง มีการตอบ กระทู้ถามสด 251 เรื่อง การตอบกระทู้ถามทั่วไป 244 เรื่อง และตอบกระทู้ถามในราชกิจจานุเบกษา 727 เรื่อง สิ่งเหล่านี้ถือเป็นเกียรติประวัติที่สำคัญอย่างยิ่งของสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ที่ท่านได้มีส่วนร่วมในการปฏิรูปการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 99 คน ทำหน้าที่จัดทำร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่และในฐานะที่ท่านทั้งหลายเป็นสมาชิกรัฐสภาก็ได้ลงมติให้ความเห็นชอบประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญของประชาชน โดยมีสาระสำคัญเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน...” และวาทะก่อนยุติบทบาททางการเมือง คือ “สำหรับผมเองนั้นคงไม่มีโอกาสมาร่วมงานกับสภานี้อีก ผมจะขอเกษียณและขอยุติบทบาทในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในฐานะนักการเมือง ซึ่งเป็นอาชีพที่ผมมีความภูมิใจมากที่ผมได้มีส่วนเล็กน้อยในการทำงานให้แก่สังคมให้แก่บ้านเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2512 แต่ผมจะคอยติดตามงานของท่าน งานของบ้านเมือง งานของสภา งานของทุกท่าน และเอาใจช่วยเต็มที่ เพราะกว่าครึ่งหนึ่งของชีวิตผมได้ใช้อยู่กับสภานี้ สภานี้จึงเสมือนหนึ่งเป็นบ้านที่ผมมีเพื่อนฝูงอยู่มากมายหลายร้อยหลานพันคน เพราะฉะนั้นย่อมจะใจหาย หากจะจากไป ผมขอจากไปแต่ตัว แต่ความรักจะอยู่กับท่านตลอดไป” [5]
อ้างอิง
- ↑ สถาบันพระปกเกล้า, ฐานข้อมูลการเมืองการปกครองไทย ประธานสภาผู้แทนราษฎร
- ↑ หนังสือพิมพ์ผู้แทน, สุดยอดผู้แทนไทย. กรุงเทพฯ : ศิลปสนองการพิมพ์, 2530, หน้า 10 - 12.
- ↑ http//www.th.wikipedia.org (สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2552)
- ↑ http//www.cabinet.thaigov.go.th/cab_45.htm
- ↑ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สารประธานรัฐสภา พิชัย รัตตกุล. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2543, หน้า 42.
หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ
หนังสือพิมพ์ผู้แทน, สุดยอดผู้แทนไทย. กรุงเทพฯ : ศิลปสนองการพิมพ์, 2530.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สารประธานรัฐสภา พิชัย รัตตกุล กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2543.
บรรณานุกรม
หนังสือพิมพ์ผู้แทน, สุดยอดผู้แทนไทย. กรุงเทพฯ : ศิลปสนองการพิมพ์, 2530.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สารประธานรัฐสภา พิชัย รัตตกุล. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2543.
http//www.thaipolitiesgovernment.org.
http//www.th.wikipedia.org
http//www.cabinet.thaigov.go.th/cab_45.htm
http//www.ryt9.com/s/refb/175989
ดูเพิ่มเติม
• หนังสือพิมพ์ผู้แทน, สุดยอดผู้แทนไทย. กรุงเทพฯ : ศิลปสนองการพิมพ์, 2530.
• สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, สารประธานรัฐสภา พิชัย รัตตกุล. กรุงเทพฯ : กองการพิมพ์, 2543.
• http//www.thaipolitiesgovernment.org
• http//www.th.wikipedia.org
• http//www.cabinet.thaigov.go.th/cab_45.htm
• http//www.ryt9.com/s/refb/175989