ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาชนก้าวหน้า (พ.ศ. 2550)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''พรรคประชาชนก้าวหน้า''' พรรคประชาชนก้าวหน้าจดทะเบียนจั...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''พรรคประชาชนก้าวหน้า'''
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


พรรคประชาชนก้าวหน้าจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2550 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 77</ref> โดยมีนายทวีศักดิ์ บุญธรรม ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคและนายณรงค์เดช นวลมณี ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค <ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 103</ref>
----
 
 
== '''พรรคประชาชนก้าวหน้า''' ==
 
พรรคประชาชนก้าวหน้าจดทะเบียนจัดตั้ง[[พรรคการเมือง]]ขึ้นเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2550 <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 77</ref> โดยมีนายทวีศักดิ์ บุญธรรม ดำรงตำแหน่งเป็น[[หัวหน้าพรรค]]และนายณรงค์เดช นวลมณี ดำรงตำแหน่งเป็น[[เลขาธิการพรรค]] <ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 103</ref>


ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคนั้น เมื่อการเลือกตั้งในปี 2550 พรรคประชาชนก้าวหน้ามิได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลยแม้แต่ผู้เดียว
ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคนั้น เมื่อการเลือกตั้งในปี 2550 พรรคประชาชนก้าวหน้ามิได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลยแม้แต่ผู้เดียว
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 12:


รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ <ref>สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 77-84</ref>
รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ <ref>สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 77-84</ref>


'''ด้านความมั่นคงของรัฐ'''  
'''ด้านความมั่นคงของรัฐ'''  


1.ธำรงรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราชและบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ  
1.ธำรงรักษาไว้ซึ่งสถาบัน[[พระมหากษัตริย์]] เอกราชและบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ  


2.จัดให้มีกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
2.จัดให้มีกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
'''ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน'''  
'''ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน'''  


1.ให้จังหวัดเป็นตัวแทนของรัฐในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดโดยให้มีงบประมาณเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามแผนดังกล่าว
1.ให้[[จังหวัด]]เป็นตัวแทนของรัฐในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดโดยให้มีงบประมาณเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามแผนดังกล่าว


2.ส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.ส่งเสริมการ[[กระจายอำนาจ]]ให้แก่[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]


3.พัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่  
3.พัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่  
บรรทัดที่ 24: บรรทัดที่ 31:
4.จัดให้มีบริการสาธารณะที่จำเป็นแก่ประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน  
4.จัดให้มีบริการสาธารณะที่จำเป็นแก่ประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน  


5.จัดให้มีแผนพัฒนาการเมืองและจัดทำมาตรฐานคุณธรรมจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ
5.จัดให้มีแผนพัฒนาการเมืองและจัดทำมาตรฐาน[[คุณธรรมจริยธรรม]]ของ[[ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง]]และเจ้าหน้าที่ของรัฐ
'''ด้านศาสนา สังคม การศึกษาและวัฒนธรรม'''  
'''ด้านศาสนา สังคม การศึกษาและวัฒนธรรม'''  


1.ให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนา  
1.ให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนา  


2.สร้างความสมานฉันท์ในทุกศาสนา
2.สร้างความ[[สมานฉันท์]]ในทุกศาสนา


3.นำหลักธรรมของศาสนามาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต  
3.นำหลักธรรมของศาสนามาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต  


4.สร้างความเสมอภาคระหว่างชายหญิง
4.สร้าง[[ความเสมอภาค]]ระหว่างชายหญิง


5.ส่งเสริมสถาบันครอบครัว  
5.ส่งเสริมสถาบันครอบครัว  
บรรทัดที่ 44: บรรทัดที่ 52:
8.สนับสนุนการศึกษาวิจัยและเผยแพร่งานศิลปวิทยาการทุกแขนง
8.สนับสนุนการศึกษาวิจัยและเผยแพร่งานศิลปวิทยาการทุกแขนง
'''ด้านกฎหมายและการยุติธรรม'''
'''ด้านกฎหมายและการยุติธรรม'''


บรรทัดที่ 54: บรรทัดที่ 63:
4.ปรับปรุงหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมให้มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
4.ปรับปรุงหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมให้มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
'''ด้านการต่างประเทศ'''  
'''ด้านการต่างประเทศ'''  


บรรทัดที่ 63: บรรทัดที่ 73:


4.คุ้มครองและดูแลผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศ
4.คุ้มครองและดูแลผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศ


'''ด้านเศรษฐกิจ'''  
'''ด้านเศรษฐกิจ'''  


1.ส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
1.ส่งเสริมแนวคิด[[เศรษฐกิจพอเพียง]]


2.สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาด
2.สนับสนุนระบบ[[เศรษฐกิจแบบเสรี]]โดยอาศัยกลไกตลาด


3.ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน  
3.ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน  
บรรทัดที่ 81: บรรทัดที่ 92:


8.ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร  
8.ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร  


'''ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม'''  
'''ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม'''  
บรรทัดที่ 93: บรรทัดที่ 105:


5.จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยประชาชน ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  
5.จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยประชาชน ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  


'''ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญาและพลังงาน '''  
'''ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญาและพลังงาน '''  
บรรทัดที่ 104: บรรทัดที่ 117:
4.สนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติ
4.สนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติ
ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน  
 
'''ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน'''


1.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ  
1.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ  
บรรทัดที่ 110: บรรทัดที่ 124:
2.นำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง  
2.นำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง  


3.จัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง
3.จัดตั้งกองทุนพัฒนา[[การเมืองภาคพลเมือง]]


4.ส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
4.ส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้สิทธิเลือกตั้ง

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:46, 22 ตุลาคม 2553

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พรรคประชาชนก้าวหน้า

พรรคประชาชนก้าวหน้าจดทะเบียนจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นเมื่อวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2550 [1] โดยมีนายทวีศักดิ์ บุญธรรม ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าพรรคและนายณรงค์เดช นวลมณี ดำรงตำแหน่งเป็นเลขาธิการพรรค [2]

ในการมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างเป็นทางการของพรรคนั้น เมื่อการเลือกตั้งในปี 2550 พรรคประชาชนก้าวหน้ามิได้ส่งผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลยแม้แต่ผู้เดียว


รายละเอียดเกี่ยวกับนโยบายและการดำเนินการที่สำคัญมีดังต่อไปนี้คือ [3]


ด้านความมั่นคงของรัฐ

1.ธำรงรักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราชและบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ

2.จัดให้มีกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย


ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน

1.ให้จังหวัดเป็นตัวแทนของรัฐในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดโดยให้มีงบประมาณเพื่อดำเนินการให้เป็นไปตามแผนดังกล่าว

2.ส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3.พัฒนาจังหวัดที่มีความพร้อมให้เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่

4.จัดให้มีบริการสาธารณะที่จำเป็นแก่ประชาชนอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน

5.จัดให้มีแผนพัฒนาการเมืองและจัดทำมาตรฐานคุณธรรมจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ


ด้านศาสนา สังคม การศึกษาและวัฒนธรรม

1.ให้ความอุปถัมภ์และคุ้มครองทุกศาสนา

2.สร้างความสมานฉันท์ในทุกศาสนา

3.นำหลักธรรมของศาสนามาใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต

4.สร้างความเสมอภาคระหว่างชายหญิง

5.ส่งเสริมสถาบันครอบครัว

6.จัดให้มีการบริการทางด้านสาธารณะสุขอย่างทั่วถึงและมีมาตรฐาน

7.กระจายอำนาจการจัดการศึกษาเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน องค์การทางศาสนาและเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม

8.สนับสนุนการศึกษาวิจัยและเผยแพร่งานศิลปวิทยาการทุกแขนง


ด้านกฎหมายและการยุติธรรม

1.คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของบุคคล

2.สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการยุติธรรม

3.จัดตั้งองค์กรเพื่อการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมทางอาญาโดยดำเนินการอย่างเป็นอิสระ

4.ปรับปรุงหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรมให้มีความรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ


ด้านการต่างประเทศ

1.สร้างสัมพันธไมตรีและความร่วมมือกับทุกประเทศ

2.ปฏิบัติตามพันธกรณีที่ได้กระทำไว้กับต่างประเทศและองค์การระหว่างประเทศ

3.ส่งเสริมการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวกับต่างประเทศ

4.คุ้มครองและดูแลผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศ


ด้านเศรษฐกิจ

1.ส่งเสริมแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง

2.สนับสนุนระบบเศรษฐกิจแบบเสรีโดยอาศัยกลไกตลาด

3.ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

4.ปรับปรุงระบบการจัดเก็บภาษีอากร

5.ส่งเสริมการออม

6.ป้องกันการผูกขาด

7.ขยายโอกาสในการประกอบอาชีพของประชาชน

8.ส่งเสริมการรวมกลุ่มเกษตรกร


ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

1.กำหนดหลักเกณฑ์การใช้ที่ดินโดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของพื้นที่นั้น ๆ

2.ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกร

3.จัดให้มีการวางผังเมือง

4.จัดระบบการดูแลและการใช้ทรัพยากรน้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด

5.จัดให้มีแผนการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยประชาชน ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


ด้านวิทยาศาสตร์ ทรัพย์สินทางปัญญาและพลังงาน

1.ส่งเสริมการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ รักษาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น

2.ให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา

3.สนับสนุนให้ประชาชนใช้หลักด้านวิทยาศาสตร์ในการดำรงชีวิต

4.สนับสนุนการวิจัย พัฒนา และใช้ประโยชน์จากพลังงานทดแทนซึ่งได้จากธรรมชาติ


ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน

1.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายและวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ

2.นำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วนและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนก่อนการวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง

3.จัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง

4.ส่งเสริมให้ประชาชนได้ใช้สิทธิเลือกตั้ง

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 77
  2. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 103
  3. สรุปความจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนพิเศษ 162ง หน้า 77-84