ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''พรรคชาติประชาชน (2522)''' ในปีพ.ศ. 2522 ได้มีการรวมตัวกันของกลุ...
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
----
'''พรรคชาติประชาชน (2522)'''
'''พรรคชาติประชาชน (2522)'''


ในปีพ.ศ. 2522 ได้มีการรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลที่ใช้ชื่อว่า “กลุ่มชาติประชาชน” เพื่อดำเนินกิจกรรมทางการเมือง แต่มิได้มีการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง เนื่องจากได้มีคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินซึ่งนำโดย พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่ ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 6 ตุลาคม พุทธศักราช 2519 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พุทธศักราช 2517 เป็นผลให้บรรดาพรรคการเมืองที่ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง และกำหนดห้ามมิให้ผู้ใดจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นอีก <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 93 ตอนที่  120, วันที่ 6 ตุลาคม 2519, หน้า 19.</ref>  
ในปีพ.ศ. 2522 ได้มีการรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลที่ใช้ชื่อว่า “กลุ่มชาติประชาชน” เพื่อดำเนิน[[กิจกรรมทางการเมือง]] แต่มิได้มีการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง เนื่องจากได้มีคำสั่งของ[[คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน]]ซึ่งนำโดย พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่ ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 6 ตุลาคม พุทธศักราช 2519 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พุทธศักราช 2517 เป็นผลให้บรรดาพรรคการเมืองที่ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง และกำหนดห้ามมิให้ผู้ใดจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นอีก <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 93 ตอนที่  120, วันที่ 6 ตุลาคม 2519, หน้า 19.</ref>  


กลุ่มชาติประชาชนมีเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ เป็นหัวหน้าพรรค และได้ส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 จำนวน 36 คน และมีผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งนี้ จำนวน 13 คน <ref> สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 342,353.</ref>
กลุ่มชาติประชาชนมีเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ เป็น[[หัวหน้าพรรค]] และได้ส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 จำนวน 36 คน และมีผู้ได้รับเลือกตั้งเป็น[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]จากการเลือกตั้งครั้งนี้ จำนวน 13 คน <ref> สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 342,353.</ref>


ภายหลังได้รับเลือกตั้ง กลุ่มชาติประชาชนได้ตัดสินใจเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ โดยเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522  <ref>สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 460-461.</ref>
ภายหลังได้รับเลือกตั้ง กลุ่มชาติประชาชนได้ตัดสินใจเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับรัฐบาลของ[[เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์|พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์]] โดยเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ได้รับ[[พระบรมราชโองการ]]โปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำ[[สำนักนายกรัฐมนตรี]] เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522  <ref>สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 460-461.</ref>


จากนั้น เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 นายกำเนิด ทองคำพงษ์ ได้ถูกแจ้งความดำเนินคดีพร้อมกับผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอีก 6 คน ในข้อหากระทำผิดพระราชบัญญัติการเลือกตั้ง พ.ศ. 2522 มาตรา 34 คือไม่ยื่นรายการค่าใช้จ่ายต่อผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 3 เดือน นับแต่วันเลือกตั้ง (22 เมษายน พ.ศ. 2522) ซึ่งครบกำหนดไปแล้วในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ที่ผ่านมา ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลได้มีคำสั่งให้เพิกถอนสิทธิการเลือกตั้งมีกำหนด 5 ปี <ref>สยามจดหมายเหตุ บัน่ทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 661.</ref>
จากนั้น เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 นายกำเนิด ทองคำพงษ์ ได้ถูกแจ้งความดำเนินคดีพร้อมกับผู้สมัครรับเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]อีก 6 คน ในข้อหากระทำผิดพระราชบัญญัติการเลือกตั้ง พ.ศ. 2522 มาตรา 34 คือไม่ยื่น[[รายการค่าใช้จ่าย]]ต่อผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 3 เดือน นับแต่วันเลือกตั้ง (22 เมษายน พ.ศ. 2522) ซึ่งครบกำหนดไปแล้วในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ที่ผ่านมา ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลได้มีคำสั่งให้เพิกถอนสิทธิการเลือกตั้งมีกำหนด 5 ปี <ref>สยามจดหมายเหตุ บัน่ทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 661.</ref>


อย่างไรก็ตามเมื่อพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ได้รับความไว้วางใจจากรัฐสภาไทยให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 <ref>สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 5, พ.ศ. 2523, หน้า  212.</ref> พรรคประชาชาติก็ได้เข้าร่วมรัฐบาลกับรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ ก็ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบดูแลคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, คณะกรรมการปราบปรามยาเสพติดให้โทษ, คณะกรรมการส่งเสริมเยาวชน, สำนักงานสถิติแห่งชาติ และคณะกรรมการส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2523 <ref>สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 5, พ.ศ. 2523, หน้า 220,224-225.</ref>
อย่างไรก็ตามเมื่อพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และ[[เปรม ติณสูลานนท์|พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] ได้รับความไว้วางใจจาก[[รัฐสภา]]ไทยให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 <ref>สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 5, พ.ศ. 2523, หน้า  212.</ref> พรรคประชาชาติก็ได้เข้าร่วมรัฐบาลกับรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ ก็ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบดูแลคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, คณะกรรมการปราบปรามยาเสพติดให้โทษ, คณะกรรมการส่งเสริมเยาวชน, สำนักงานสถิติแห่งชาติ และคณะกรรมการส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2523 <ref>สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 5, พ.ศ. 2523, หน้า 220,224-225.</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:48, 16 ตุลาคม 2557

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พรรคชาติประชาชน (2522)

ในปีพ.ศ. 2522 ได้มีการรวมตัวกันของกลุ่มบุคคลที่ใช้ชื่อว่า “กลุ่มชาติประชาชน” เพื่อดำเนินกิจกรรมทางการเมือง แต่มิได้มีการจดทะเบียนจัดตั้งเป็นพรรคการเมือง เนื่องจากได้มีคำสั่งของคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดินซึ่งนำโดย พลเรือเอกสงัด ชะลออยู่ ฉบับที่ 6 ลงวันที่ 6 ตุลาคม พุทธศักราช 2519 ให้ยกเลิกพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พุทธศักราช 2517 เป็นผลให้บรรดาพรรคการเมืองที่ได้จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติดังกล่าวเป็นอันสิ้นสุดลง และกำหนดห้ามมิให้ผู้ใดจัดตั้งพรรคการเมืองขึ้นอีก [1]

กลุ่มชาติประชาชนมีเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ เป็นหัวหน้าพรรค และได้ส่งตัวแทนพรรคลงสมัครรับเลือกตั้งในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2522 จำนวน 36 คน และมีผู้ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งนี้ จำนวน 13 คน [2]

ภายหลังได้รับเลือกตั้ง กลุ่มชาติประชาชนได้ตัดสินใจเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับรัฐบาลของพลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ โดยเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 [3]

จากนั้น เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 นายกำเนิด ทองคำพงษ์ ได้ถูกแจ้งความดำเนินคดีพร้อมกับผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอีก 6 คน ในข้อหากระทำผิดพระราชบัญญัติการเลือกตั้ง พ.ศ. 2522 มาตรา 34 คือไม่ยื่นรายการค่าใช้จ่ายต่อผู้ว่าราชการจังหวัดภายใน 3 เดือน นับแต่วันเลือกตั้ง (22 เมษายน พ.ศ. 2522) ซึ่งครบกำหนดไปแล้วในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ที่ผ่านมา ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน5,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และศาลได้มีคำสั่งให้เพิกถอนสิทธิการเลือกตั้งมีกำหนด 5 ปี [4]

อย่างไรก็ตามเมื่อพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ได้รับความไว้วางใจจากรัฐสภาไทยให้ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีและได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2523 [5] พรรคประชาชาติก็ได้เข้าร่วมรัฐบาลกับรัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ และเรืออากาศตรีบุญยงค์ วัฒนพงศ์ ก็ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รับผิดชอบดูแลคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, คณะกรรมการปราบปรามยาเสพติดให้โทษ, คณะกรรมการส่งเสริมเยาวชน, สำนักงานสถิติแห่งชาติ และคณะกรรมการส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2523 [6]

อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 93 ตอนที่ 120, วันที่ 6 ตุลาคม 2519, หน้า 19.
  2. สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 342,353.
  3. สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 460-461.
  4. สยามจดหมายเหตุ บัน่ทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 4, พ.ศ. 2522, หน้า 661.
  5. สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 5, พ.ศ. 2523, หน้า 212.
  6. สยามจดหมายเหตุ บันทึกข่าวสารและเหตุการณ์ ปีที่ 5, พ.ศ. 2523, หน้า 220,224-225.