ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 8 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
:'''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตริน ตันสุน และ รองศาสตราจารย์ ดร. นคิรนทร์ เมฆไตรรัีตน์ | |||
---- | ---- | ||
:''' | :'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร, รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต และ: ศาสตราจารย์ ดร. วิษณุ เครืองาม | ||
: | |||
---- | ---- | ||
<p>การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีขึ้นเนื่องจาก ดร.[[พิจิตต รัตตกุล]] ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครครบวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี จึงมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใหม่ โดยกำหนดให้วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2543 เป็นวันลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งจำนวน 23 คน มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งคิดเป็นร้อยละ 58.87 และผู้ที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 5 ที่มาจากการเลือกตั้ง คือ นายสมัคร สุนทรเวช โดยได้รับคะแนนเสียงจากผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งสูงถึง 1,016,096 คะแนน ซึ่งถือเป็นประวัติศาสตร์การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครที่มีผู้สมัครที่ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงถึงหนึ่งล้านคะแนนและแม้กระทั่งวันนี้ก็ยังไม่มีผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใดได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้งสูงอย่างเช่นนายสมัคร สุนทรเวช </p> | |||
<p>การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีขึ้นเนื่องจาก ดร.[[พิจิตต | |||
==ตารางแสดงคะแนนผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543 (เฉพาะ 5 อันดับแรก)== | ==ตารางแสดงคะแนนผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543 (เฉพาะ 5 อันดับแรก)== | ||
บรรทัดที่ 29: | บรรทัดที่ 19: | ||
|- | |- | ||
|align="center" |7 | |align="center" |7 | ||
|align="center" | | |align="center" |[[สมัคร สุนทรเวช|นายสมัคร สุนทรเวช]] | ||
|align="center" |[[พรรคประชากรไทย]] | |align="center" |[[ประชากรไทย|พรรคประชากรไทย]] | ||
|align="center" |1,016,096 | |align="center" |1,016,096 | ||
|align="center" |45.85 | |align="center" |45.85 | ||
|- | |- | ||
|align="center" |5 | |align="center" |5 | ||
|align="center" | | |align="center" |[[สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์|นางสุุดารัตน์ เกยุราพันธุ์]] | ||
|align="center" |[[พรรคไทยรักไทย]] | |align="center" |[[ไทยรักไทย|พรรคไทยรักไทย]] | ||
|align="center" |521,184 | |align="center" |521,184 | ||
|align="center" |23.52 | |align="center" |23.52 | ||
|- | |- | ||
|align="center" |13 | |align="center" |13 | ||
|align="center" | | |align="center" |[[ธวัชชัย สัจจกุล|นายธวัชชัย สัจจกุล]] | ||
|align="center" |[[พรรคประชาธิปัตย์]] | |align="center" |[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]] | ||
|align="center" |247,650 | |align="center" |247,650 | ||
|align="center" |11.17 | |align="center" |11.17 | ||
บรรทัดที่ 62: | บรรทัดที่ 52: | ||
<p>การเลือกตั้งครั้งนี้ มีความน่าสนใจพรรคการเมืองใหม่ที่เพิ่งก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมทางการเมืองไม่นานอย่างพรรคไทยรักไทย ได้มีมติส่งนางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เป็นผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แต่ไม่ได้รับชัยชนะ แต่หลังจากนั้นมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2544 ซึ่งถือเป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พรรคไทยรักไทยได้คะแนนเสียงจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพื้นที่กรุงเทพมหานครมากถึง 29 คน(เขต) จากจำนวนทั้งหมด 37 คน(เขต) ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ชื่อว่าเป็นพรรคของชนชั้นกลางและฐานเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ที่กรุงเทพมหานครได้รับเลือกตั้งเพียง 8 คน(เขต) เท่านั้น </p> | <p>การเลือกตั้งครั้งนี้ มีความน่าสนใจพรรคการเมืองใหม่ที่เพิ่งก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมทางการเมืองไม่นานอย่างพรรคไทยรักไทย ได้มีมติส่งนางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เป็นผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แต่ไม่ได้รับชัยชนะ แต่หลังจากนั้นมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2544 ซึ่งถือเป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พรรคไทยรักไทยได้คะแนนเสียงจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพื้นที่กรุงเทพมหานครมากถึง 29 คน(เขต) จากจำนวนทั้งหมด 37 คน(เขต) ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ชื่อว่าเป็นพรรคของชนชั้นกลางและฐานเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ที่กรุงเทพมหานครได้รับเลือกตั้งเพียง 8 คน(เขต) เท่านั้น </p> | ||
==ดูเพิ่มเติม== | ==ดูเพิ่มเติม== | ||
*[[การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547]] | |||
*[[:category:การเลือกตั้งในประเทศไทย|การเลือกตั้งอื่น ๆ ในประเทศไทย]] | |||
[[category: | [[category:การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร|ก2543การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:28, 19 เมษายน 2554
- ผู้เรียบเรียง ศาสตริน ตันสุน และ รองศาสตราจารย์ ดร. นคิรนทร์ เมฆไตรรัีตน์
- ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร, รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต และ: ศาสตราจารย์ ดร. วิษณุ เครืองาม
การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครครั้งนี้ มีขึ้นเนื่องจาก ดร.พิจิตต รัตตกุล ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครครบวาระการดำรงตำแหน่ง 4 ปี จึงมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใหม่ โดยกำหนดให้วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2543 เป็นวันลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งจำนวน 23 คน มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งคิดเป็นร้อยละ 58.87 และผู้ที่ได้รับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนที่ 5 ที่มาจากการเลือกตั้ง คือ นายสมัคร สุนทรเวช โดยได้รับคะแนนเสียงจากผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งสูงถึง 1,016,096 คะแนน ซึ่งถือเป็นประวัติศาสตร์การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครที่มีผู้สมัครที่ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนสูงถึงหนึ่งล้านคะแนนและแม้กระทั่งวันนี้ก็ยังไม่มีผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใดได้รับคะแนนเสียงเลือกตั้งสูงอย่างเช่นนายสมัคร สุนทรเวช
ตารางแสดงคะแนนผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2543 (เฉพาะ 5 อันดับแรก)
หมายเลข | รายชื่อผู้สมัคร | สังกัด | คะแนน | ร้อยละ |
---|---|---|---|---|
7 | นายสมัคร สุนทรเวช | พรรคประชากรไทย | 1,016,096 | 45.85 |
5 | นางสุุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ | พรรคไทยรักไทย | 521,184 | 23.52 |
13 | นายธวัชชัย สัจจกุล | พรรคประชาธิปัตย์ | 247,650 | 11.17 |
2 | พันเอก วินัย สมพงษ์ | ผู้สมัครอิสระ | 145,641 | 6.57 |
4 | คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช | ผู้สมัครอิสระ | 132,608 | 5.98 |
การเลือกตั้งครั้งนี้ มีความน่าสนใจพรรคการเมืองใหม่ที่เพิ่งก่อตั้งและดำเนินกิจกรรมทางการเมืองไม่นานอย่างพรรคไทยรักไทย ได้มีมติส่งนางสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ เป็นผู้สมัครผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร แต่ไม่ได้รับชัยชนะ แต่หลังจากนั้นมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ.2544 ซึ่งถือเป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 พรรคไทยรักไทยได้คะแนนเสียงจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในพื้นที่กรุงเทพมหานครมากถึง 29 คน(เขต) จากจำนวนทั้งหมด 37 คน(เขต) ขณะที่พรรคประชาธิปัตย์ที่ได้ชื่อว่าเป็นพรรคของชนชั้นกลางและฐานเสียงสนับสนุนหนาแน่นอยู่ที่กรุงเทพมหานครได้รับเลือกตั้งเพียง 8 คน(เขต) เท่านั้น