ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุวิชช พันธุเศรษฐ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร ผู้ทรงคุณ..."
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----


'''สุวิชช พันธุเศรษฐ : ส.ส. ผู้ค้านรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489'''
'''สุวิชช พันธุเศรษฐ : ส.ส. ผู้ค้านรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489'''


          รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของประเทศไทย ถือกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีฉบับหนึ่งของแผ่นดิน ที่ได้เริ่มมาจากการคิดแก้ไขเพิ่มเติมโดย[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ที่มาจากการแต่งตั้งในสมัย[[ควง_อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี และมีการประกาศใช้ในสมัย[[ปรีดี_พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ในช่วงเวลาที่มีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนหนึ่ง คือ นายสุวิชช พันธุเศรษฐ ผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ได้คัดค้าน ดังปรากฏในเอกสารหนังสือที่ท่านได้เขียนถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 29 เมษายน ปี 2489 ซึ่งเป็นวันที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ในวาระ 2 และในวาระ 3 โดย นายสุวิชช อ้างเหตุผลอยู่ 5 ประการ แต่ขอยกเฉพาะที่เป็นตัวหลักมาให้พิจารณา ดังนี้
          รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของประเทศไทย ถือกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีฉบับหนึ่งของแผ่นดิน ที่ได้เริ่มมาจากการคิดแก้ไขเพิ่มเติมโดย[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร|สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ที่มาจากการแต่งตั้งในสมัย[[ควง_อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]] เป็นนายกรัฐมนตรี และมีการประกาศใช้ในสมัย[[ปรีดี_พนมยงค์|นายปรีดี พนมยงค์]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี|นายกรัฐมนตรี]] ในช่วงเวลาที่มีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนหนึ่ง คือ นายสุวิชช พันธุเศรษฐ ผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ได้คัดค้าน ดังปรากฏในเอกสารหนังสือที่ท่านได้เขียนถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 29 เมษายน ปี 2489 ซึ่งเป็นวันที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ในวาระ 2 และในวาระ 3 โดย นายสุวิชช อ้างเหตุผลอยู่ 5 ประการ แต่ขอยกเฉพาะที่เป็นตัวหลักมาให้พิจารณา ดังนี้


'''“''(1) ไม่มีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับถาวร 2475 ให้อำนาจยกเลิกรัฐธรรมนูญหรืองดใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวรพ.ศ. 2475 มาตราใดโดยใช้รัฐธรรมนูญใหม่แทน....'''''
'''“''(1) ไม่มีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับถาวร 2475 ให้อำนาจยกเลิกรัฐธรรมนูญหรืองดใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวรพ.ศ. 2475 มาตราใดโดยใช้รัฐธรรมนูญใหม่แทน....'''''


'''''(2) รัฐธรรมนูญปี 2475 เป็นรัฐธรรมนูญที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ โดยคณะราษฎร''<br/> เข้ายึดอำนาจการปกครอง จึงก่อให้เกิดสัญญาระหว่างราษฎรกับพระมหากษัตริย์....”'''
'''''(2) รัฐธรรมนูญปี 2475 เป็นรัฐธรรมนูญที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ โดย[[คณะราษฎร]]&nbsp;''เข้ายึดอำนาจการปกครอง จึงก่อให้เกิดสัญญาระหว่างราษฎรกับพระมหากษัตริย์....”'''


คุณสุวิชชระบุในหนังสือถึงประธานสภาผู้แทนราษฎรอีกว่า
คุณสุวิชชระบุในหนังสือถึงประธานสภาผู้แทนราษฎรอีกว่า
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 22:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สุวิชช พันธุเศรษฐ เป็นคนเมืองเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ปี 2550 มีชื่อเดิมว่า เล่งเสียน มีบิดาชื่อนายสุรพงษ์ ชุติมา มีมารดาชื่อนางคำมูล ชุติมา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 10 คน ตัวท่านเป็นคนที่ 9 และน้องชายคนที่ 10 ที่ใช้นามสกุลต่างกัน คือนายทองดี อิสราชีวิน ได้ลงเลือกตั้งที่เชียงใหม่ ในปี 2491 ตอนที่คุณสุวิชชไม่ลงเลือกตั้ง และนายทองดีก็ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ต่อมาถึงสี่สมัย ทางด้านการศึกษาประวัติระบุว่า “เรียนชั้นมูลและประถมโรงเรียนราษฎร์ ‘เจริญราษฎร์’ ต่อมาเข้าเรียนโรงเรียนจีน จนถึงมัธยมตอนปลายก็ถูกส่งไปเมืองจีน อยู่เพียงปีเดียวก็ต้องกลับเมืองไทย” และได้เรียนลัดโดยขอเข้าเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย แล้วไปต่อชั้นมัธยมปีที่ 8 ในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จากนั้นจึงเข้าเรียนกฎหมายที่โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แต่มาเรียนจบกฎหมายเมื่อปี 2476 ที่แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สุวิชช พันธุเศรษฐ เป็นคนเมืองเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ปี 2550 มีชื่อเดิมว่า เล่งเสียน มีบิดาชื่อนายสุรพงษ์ ชุติมา มีมารดาชื่อนางคำมูล ชุติมา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 10 คน ตัวท่านเป็นคนที่ 9 และน้องชายคนที่ 10 ที่ใช้นามสกุลต่างกัน คือนายทองดี อิสราชีวิน ได้ลงเลือกตั้งที่เชียงใหม่ ในปี 2491 ตอนที่คุณสุวิชชไม่ลงเลือกตั้ง และนายทองดีก็ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ต่อมาถึงสี่สมัย ทางด้านการศึกษาประวัติระบุว่า “เรียนชั้นมูลและประถมโรงเรียนราษฎร์ ‘เจริญราษฎร์’ ต่อมาเข้าเรียนโรงเรียนจีน จนถึงมัธยมตอนปลายก็ถูกส่งไปเมืองจีน อยู่เพียงปีเดียวก็ต้องกลับเมืองไทย” และได้เรียนลัดโดยขอเข้าเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย แล้วไปต่อชั้นมัธยมปีที่ 8 ในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จากนั้นจึงเข้าเรียนกฎหมายที่โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แต่มาเรียนจบกฎหมายเมื่อปี 2476 ที่แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินปี 2475 ได้มีกฎหมายเทศบาลเกิดขึ้นในปี 2476&nbsp; สุวิชชได้เข้าทำงานเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาการเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่&nbsp;และเมื่อมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สุวิชชตัดสินใจลงเลือกตั้งที่บ้านเกิดของตัวเองในการเลือกตั้งครั้งที่ 2 ในปี 2480 แล้วท่านก็ได้รับเลือกตั้ง เป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ขณะที่มีอายุ 30 ปี แต่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนสมัยแรกได้ไม่นาน เพราะนายกรัฐมนตรี[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]]ได้[[ยุบสภา]] และมีการเลือกตั้งใหม่ในปี 2481 ที่คุณสุวิชชก็กลับไปลงเลือกตั้งและชนะอีกเป็นครั้งที่สองที่จังหวัดเชียงใหม่ คราวนี้อยู่ได้นานถึง 7 ปีเพราะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จนสามารถขยายอายุสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ถึงสองครั้งเพราะบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงคราม สำหรับชีวิตครอบครัวนั้นท่านได้สมรสกับคุณสบสมัย ดวงหิรัญ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินปี 2475 ได้มีกฎหมายเทศบาลเกิดขึ้นในปี 2476&nbsp; สุวิชชได้เข้าทำงานเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาการเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่&nbsp;และเมื่อมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สุวิชชตัดสินใจลงเลือกตั้งที่บ้านเกิดของตัวเองในการเลือกตั้งครั้งที่ 2 ในปี 2480 แล้วท่านก็ได้รับเลือกตั้ง เป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ขณะที่มีอายุ 30 ปี แต่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนสมัยแรกได้ไม่นาน เพราะนายกรัฐมนตรี[[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พระยาพหลพลพยุหเสนา]]ได้[[ยุบสภา|ยุบสภา]] และมีการเลือกตั้งใหม่ในปี 2481 ที่คุณสุวิชชก็กลับไปลงเลือกตั้งและชนะอีกเป็นครั้งที่สองที่จังหวัดเชียงใหม่ คราวนี้อยู่ได้นานถึง 7 ปีเพราะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จนสามารถขยายอายุสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ถึงสองครั้งเพราะบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงคราม สำหรับชีวิตครอบครัวนั้นท่านได้สมรสกับคุณสบสมัย ดวงหิรัญ


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สิ้นสุดสงครามแล้วนายกรัฐมนตรี [[เสนีย์_ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]]ได้ยุบสภา และมีการเลือกตั้งในวันที่ [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร_ครั้งที่_4_วันที่_6_มกราคม_2489|6 มกราคม ปี 2489]] สุวิชชก็ได้ลงเลือกตั้งที่จังหวัดเชียงใหม่และก็ชนะเลือกตั้งอีกเป็นครั้งที่ 3 ก่อนจะลงเลือกตั้งคราวนี้ สุวิชชได้ร่วมกับ [[คึกฤทธิ์_ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] ตั้งพรรคก้าวหน้าซึ่งถือว่าเป็นพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับฝ่ายผู้ก่อการฯ หลังการเลือกตั้งทั่วไปในต้นปี 2489 นายควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีได้กลับเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีและในรัฐบาลชุดนี้คุณสุวิชชก็ได้ร่วมรัฐบาลเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง แต่รัฐบาลชุดนี้ อยู่สั้นมากเพียงเดือนกว่าๆ นายกรัฐมนตรีก็ต้องลาออกเพราะแพ้เสียงในสภาฯ ดังนั้น เมื่อพวกสมาชิกสภาฯ ที่สนับสนุนนายควงได้ร่วมหารือตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้นมา คุณสุวิชชจึงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ด้วยคนหนึ่ง และในช่วงเวลาต่อมาเมื่อการดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม ปี 2475 ที่นำมาสู่การประกาศรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489 ที่คุณสุวิชชไม่เห็นด้วยดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สิ้นสุดสงครามแล้วนายกรัฐมนตรี [[เสนีย์_ปราโมช|ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช]]ได้ยุบสภา และมีการเลือกตั้งในวันที่ [[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร_ครั้งที่_4_วันที่_6_มกราคม_2489|6 มกราคม ปี 2489]] สุวิชชก็ได้ลงเลือกตั้งที่จังหวัดเชียงใหม่และก็ชนะเลือกตั้งอีกเป็นครั้งที่ 3 ก่อนจะลงเลือกตั้งคราวนี้ สุวิชชได้ร่วมกับ [[คึกฤทธิ์_ปราโมช|ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] ตั้งพรรคก้าวหน้าซึ่งถือว่าเป็นพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับฝ่ายผู้ก่อการฯ หลังการเลือกตั้งทั่วไปในต้นปี 2489 นายควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีได้กลับเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีและในรัฐบาลชุดนี้คุณสุวิชชก็ได้ร่วมรัฐบาลเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง แต่รัฐบาลชุดนี้ อยู่สั้นมากเพียงเดือนกว่าๆ นายกรัฐมนตรีก็ต้องลาออกเพราะแพ้เสียงในสภาฯ ดังนั้น เมื่อพวกสมาชิกสภาฯ ที่สนับสนุนนายควงได้ร่วมหารือตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้นมา คุณสุวิชชจึงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ด้วยคนหนึ่ง และในช่วงเวลาต่อมาเมื่อการดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม ปี 2475 ที่นำมาสู่การประกาศรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489 ที่คุณสุวิชชไม่เห็นด้วยดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในสมัยรัฐบาล[[หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]]&nbsp;[[ประชาธิปัตย์_(พ.ศ._2489–2494)|พรรคประชาธิปัตย์]]ได้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อไม่ไว้วางใจรัฐบาล คุณสุวิชชได้เป็นคนหนึ่งที่อภิปรายเล่นงานรัฐบาลอย่างรุนแรง จนมีข่าวว่าท่านถูกลอบยิงที่ถนนนครสวรรค์ บริเวณนางเลิ้ง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ในสมัยรัฐบาล[[หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์|หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์]]&nbsp;[[ประชาธิปัตย์_(พ.ศ._2489–2494)|พรรคประชาธิปัตย์]]ได้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อไม่ไว้วางใจรัฐบาล คุณสุวิชชได้เป็นคนหนึ่งที่อภิปรายเล่นงานรัฐบาลอย่างรุนแรง จนมีข่าวว่าท่านถูกลอบยิงที่ถนนนครสวรรค์ บริเวณนางเลิ้ง


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการรัฐประหาร ปี 2490 มีการเลือกตั้งตอนต้นปี 2491 คุณสุวิชช มาลงเลือกตั้งที่กรุงเทพฯ และท่านก็แพ้เลือกตั้ง แต่ต่อมาในวันที่ 7 กรกฎาคม ปีเดียวกันนี้ท่านก็ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภา ร่างรัฐธรรมนูญในฐานะอดีต ส.ส ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ออกมาประกาศใช้ในปี 2492&nbsp; ถึงปี 2494 หลังการยึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คุณสุวิชชก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯ อยู่สืบต่อมาจนพ้นจากตำแหน่งเมื่อ[[จอมพล_สฤษดิ์_ธนะรัชต์]] ยึดอำนาจในวันที่ [[16_กันยายน_พ.ศ._2500|16 กันยายน ปี 2500]] ชีวิตทางการเมืองของท่านเว้น ไปเกือบ 15 ปี ปลายปี 2515 ท่านก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นตำแหน่งสุดท้าย
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; หลังการรัฐประหาร ปี 2490 มีการเลือกตั้งตอนต้นปี 2491 คุณสุวิชช มาลงเลือกตั้งที่กรุงเทพฯ และท่านก็แพ้เลือกตั้ง แต่ต่อมาในวันที่ 7 กรกฎาคม ปีเดียวกันนี้ท่านก็ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภา ร่างรัฐธรรมนูญในฐานะอดีต ส.ส ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ออกมาประกาศใช้ในปี 2492&nbsp; ถึงปี 2494 หลังการยึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คุณสุวิชชก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯ อยู่สืบต่อมาจนพ้นจากตำแหน่งเมื่อ[[จอมพล_สฤษดิ์_ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ยึดอำนาจในวันที่ [[16_กันยายน_พ.ศ._2500|16 กันยายน ปี 2500]] ชีวิตทางการเมืองของท่านเว้น ไปเกือบ 15 ปี ปลายปี 2515 ท่านก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นตำแหน่งสุดท้าย


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สุวิชช พันธุเศรษฐ ได้อยู่นอกวงการเมืองมาจนถึงแก่กรรม ในวันที่ 22 สิงหาคม ปี 2525
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; สุวิชช พันธุเศรษฐ ได้อยู่นอกวงการเมืองมาจนถึงแก่กรรม ในวันที่ 22 สิงหาคม ปี 2525


[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:04, 13 พฤศจิกายน 2562

ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


สุวิชช พันธุเศรษฐ : ส.ส. ผู้ค้านรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489

          รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 3 ของประเทศไทย ถือกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ดีฉบับหนึ่งของแผ่นดิน ที่ได้เริ่มมาจากการคิดแก้ไขเพิ่มเติมโดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการแต่งตั้งในสมัยนายควง อภัยวงศ์ เป็นนายกรัฐมนตรี และมีการประกาศใช้ในสมัยนายปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี ในช่วงเวลาที่มีการพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนหนึ่ง คือ นายสุวิชช พันธุเศรษฐ ผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ได้คัดค้าน ดังปรากฏในเอกสารหนังสือที่ท่านได้เขียนถึงประธานสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 29 เมษายน ปี 2489 ซึ่งเป็นวันที่สภาผู้แทนราษฎรกำหนดพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ในวาระ 2 และในวาระ 3 โดย นายสุวิชช อ้างเหตุผลอยู่ 5 ประการ แต่ขอยกเฉพาะที่เป็นตัวหลักมาให้พิจารณา ดังนี้

(1) ไม่มีบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับถาวร 2475 ให้อำนาจยกเลิกรัฐธรรมนูญหรืองดใช้รัฐธรรมนูญฉบับถาวรพ.ศ. 2475 มาตราใดโดยใช้รัฐธรรมนูญใหม่แทน....

(2) รัฐธรรมนูญปี 2475 เป็นรัฐธรรมนูญที่ได้รับพระราชทานจากพระมหากษัตริย์ โดยคณะราษฎร เข้ายึดอำนาจการปกครอง จึงก่อให้เกิดสัญญาระหว่างราษฎรกับพระมหากษัตริย์....”

คุณสุวิชชระบุในหนังสือถึงประธานสภาผู้แทนราษฎรอีกว่า

“ข้าพเจ้าได้อภิปรายทักท้วงรัฐธรรมนูญนี้ในสภาแล้วตามหลักที่ได้เรียนมา หากไม่บังเกิดผล ...”

          จากเรื่องนี้จึงทำให้น่าจะมารู้จักนักการเมืองจากเชียงใหม่ ที่มีชื่อว่าสุวิชช พันธุเศรษฐ กันบ้าง ท่านไม่ใช่นักการเมืองหน้าใหม่ในตอนนั้น หากเป็นผู้ที่ชนะการเลือกตั้งมาแล้วถึง 3 ครั้ง และเป็นนักการเมืองที่สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ซึ่งเป็นพรรคฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลเมื่อครั้งที่มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญด้วย

          สุวิชช พันธุเศรษฐ เป็นคนเมืองเชียงใหม่ เกิดเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม ปี 2550 มีชื่อเดิมว่า เล่งเสียน มีบิดาชื่อนายสุรพงษ์ ชุติมา มีมารดาชื่อนางคำมูล ชุติมา ท่านมีพี่น้องร่วมบิดามารดา 10 คน ตัวท่านเป็นคนที่ 9 และน้องชายคนที่ 10 ที่ใช้นามสกุลต่างกัน คือนายทองดี อิสราชีวิน ได้ลงเลือกตั้งที่เชียงใหม่ ในปี 2491 ตอนที่คุณสุวิชชไม่ลงเลือกตั้ง และนายทองดีก็ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ต่อมาถึงสี่สมัย ทางด้านการศึกษาประวัติระบุว่า “เรียนชั้นมูลและประถมโรงเรียนราษฎร์ ‘เจริญราษฎร์’ ต่อมาเข้าเรียนโรงเรียนจีน จนถึงมัธยมตอนปลายก็ถูกส่งไปเมืองจีน อยู่เพียงปีเดียวก็ต้องกลับเมืองไทย” และได้เรียนลัดโดยขอเข้าเรียนชั้นมัธยมปีที่ 6 ที่โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย แล้วไปต่อชั้นมัธยมปีที่ 8 ในกรุงเทพฯ ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จากนั้นจึงเข้าเรียนกฎหมายที่โรงเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรม แต่มาเรียนจบกฎหมายเมื่อปี 2476 ที่แผนกนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

          หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินปี 2475 ได้มีกฎหมายเทศบาลเกิดขึ้นในปี 2476  สุวิชชได้เข้าทำงานเป็นหัวหน้าที่ปรึกษาการเทศบาลจังหวัดเชียงใหม่ และเมื่อมีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สุวิชชตัดสินใจลงเลือกตั้งที่บ้านเกิดของตัวเองในการเลือกตั้งครั้งที่ 2 ในปี 2480 แล้วท่านก็ได้รับเลือกตั้ง เป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ ขณะที่มีอายุ 30 ปี แต่ได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนสมัยแรกได้ไม่นาน เพราะนายกรัฐมนตรีพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ยุบสภา และมีการเลือกตั้งใหม่ในปี 2481 ที่คุณสุวิชชก็กลับไปลงเลือกตั้งและชนะอีกเป็นครั้งที่สองที่จังหวัดเชียงใหม่ คราวนี้อยู่ได้นานถึง 7 ปีเพราะมีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ จนสามารถขยายอายุสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ถึงสองครั้งเพราะบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงคราม สำหรับชีวิตครอบครัวนั้นท่านได้สมรสกับคุณสบสมัย ดวงหิรัญ

          สิ้นสุดสงครามแล้วนายกรัฐมนตรี ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมชได้ยุบสภา และมีการเลือกตั้งในวันที่ 6 มกราคม ปี 2489 สุวิชชก็ได้ลงเลือกตั้งที่จังหวัดเชียงใหม่และก็ชนะเลือกตั้งอีกเป็นครั้งที่ 3 ก่อนจะลงเลือกตั้งคราวนี้ สุวิชชได้ร่วมกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ตั้งพรรคก้าวหน้าซึ่งถือว่าเป็นพรรคที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามกับฝ่ายผู้ก่อการฯ หลังการเลือกตั้งทั่วไปในต้นปี 2489 นายควง อภัยวงศ์ อดีตนายกรัฐมนตรีได้กลับเข้ามาเป็นนายกรัฐมนตรีและในรัฐบาลชุดนี้คุณสุวิชชก็ได้ร่วมรัฐบาลเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง แต่รัฐบาลชุดนี้ อยู่สั้นมากเพียงเดือนกว่าๆ นายกรัฐมนตรีก็ต้องลาออกเพราะแพ้เสียงในสภาฯ ดังนั้น เมื่อพวกสมาชิกสภาฯ ที่สนับสนุนนายควงได้ร่วมหารือตั้งพรรคประชาธิปัตย์ขึ้นมา คุณสุวิชชจึงเป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคประชาธิปัตย์ด้วยคนหนึ่ง และในช่วงเวลาต่อมาเมื่อการดำเนินการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม ปี 2475 ที่นำมาสู่การประกาศรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2489 ที่คุณสุวิชชไม่เห็นด้วยดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว

          ในสมัยรัฐบาลหลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ พรรคประชาธิปัตย์ได้เปิดอภิปรายทั่วไปเพื่อไม่ไว้วางใจรัฐบาล คุณสุวิชชได้เป็นคนหนึ่งที่อภิปรายเล่นงานรัฐบาลอย่างรุนแรง จนมีข่าวว่าท่านถูกลอบยิงที่ถนนนครสวรรค์ บริเวณนางเลิ้ง

          หลังการรัฐประหาร ปี 2490 มีการเลือกตั้งตอนต้นปี 2491 คุณสุวิชช มาลงเลือกตั้งที่กรุงเทพฯ และท่านก็แพ้เลือกตั้ง แต่ต่อมาในวันที่ 7 กรกฎาคม ปีเดียวกันนี้ท่านก็ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภา ร่างรัฐธรรมนูญในฐานะอดีต ส.ส ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ออกมาประกาศใช้ในปี 2492  ถึงปี 2494 หลังการยึดอำนาจล้มรัฐธรรมนูญฉบับนี้ คุณสุวิชชก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯ อยู่สืบต่อมาจนพ้นจากตำแหน่งเมื่อจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ยึดอำนาจในวันที่ 16 กันยายน ปี 2500 ชีวิตทางการเมืองของท่านเว้น ไปเกือบ 15 ปี ปลายปี 2515 ท่านก็ได้รับแต่งตั้งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติเป็นตำแหน่งสุดท้าย

          สุวิชช พันธุเศรษฐ ได้อยู่นอกวงการเมืองมาจนถึงแก่กรรม ในวันที่ 22 สิงหาคม ปี 2525