ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์ประชุม"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง :''' นางสาวฐานพร  ม่วงมณี


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' นายจเร พันธุ์เปรื่อง
'''ผู้เรียบเรียง :''' นางสาวฐานพร ม่วงมณี
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ :''' นายจเร พันธุ์เปรื่อง


----
----


ประเทศไทยมีการปกครอง[[ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข|ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] โดยใช้รูปแบบการปกครองระบบ[[รัฐสภา|รัฐสภา]] ซึ่ง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]เกือบทุกฉบับบัญญัติให้[[รัฐสภา|รัฐสภา]]ประกอบด้วย[[สภาผู้แทนราษฎร|สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[วุฒิสภา|วุฒิสภา]] เว้นแต่ในบางช่วงเวลาอันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางการเมืองหรือ[[การรัฐประหาร|การรัฐประหาร]]ที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรหรือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับชั่วคราวได้บัญญัติให้มี[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา ดังเช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พ.ศ.2557|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557]]


รัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาตินั้นนอกจากจะมีอำนาจหน้าที่ในด้านนิติบัญญัติแล้วยังมีหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบ [[การบริหารราชการ|การบริหารราชการ]]ของ[[ฝ่ายบริหาร|ฝ่ายบริหาร]]อีกด้วย รัฐธรรมนูญจึงบัญญัติให้มีการตั้ง[[คณะกรรมาธิการ|คณะกรรมาธิการ]] เพื่อกระทำกิจการ พิจารณา สอบสวน หรือศึกษาเรื่องใดๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภาเพื่อช่วยในการปฏิบัติหน้าที่ของสภาด้วย โดยในการทำหน้าที่ของสภาไม่ว่าจะเป็นรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รวมถึงคณะกรรมาธิการต่างๆ ย่อมจะต้องมีการประชุม และเงื่อนไขหนึ่งที่สำคัญของการประชุมคือ “องค์ประชุม” ซึ่งเป็นเงื่อนไขในการกำหนดว่าการประชุมในครั้งนั้นๆ จะดำเนินการประชุมได้หรือไม่ โดยองค์ประชุมของรัฐสภา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และ[[คณะกรรมาธิการ|คณะกรรมาธิการ]] เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และข้อบังคับการประชุมสภานั้นๆ
ประเทศไทยมีการปกครอง[[ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]] โดยใช้รูปแบบการปกครองระบบ[[รัฐสภา]] ซึ่ง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]]เกือบทุกฉบับบัญญัติให้[[รัฐสภา]]ประกอบด้วย[[สภาผู้แทนราษฎร]] และ[[วุฒิสภา]] เว้นแต่ในบางช่วงเวลาอันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางการเมืองหรือ[[การรัฐประหาร]]ที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรหรือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับชั่วคราวได้บัญญัติให้มี[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา ดังเช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557]]
รัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาตินั้นนอกจากจะมีอำนาจหน้าที่ในด้านนิติบัญญัติแล้วยังมีหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบ [[การบริหารราชการ]]ของ[[ฝ่ายบริหาร]]อีกด้วย รัฐธรรมนูญจึงบัญญัติให้มีการตั้ง[[คณะกรรมาธิการ]] เพื่อกระทำกิจการ พิจารณา สอบสวน หรือศึกษาเรื่องใดๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภาเพื่อช่วยในการปฏิบัติหน้าที่ของสภาด้วย โดยในการทำหน้าที่ของสภาไม่ว่าจะเป็นรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รวมถึงคณะกรรมาธิการต่างๆ ย่อมจะต้องมีการประชุม และเงื่อนไขหนึ่งที่สำคัญของการประชุมคือ “องค์ประชุม” ซึ่งเป็นเงื่อนไขในการกำหนดว่าการประชุมในครั้งนั้นๆ จะดำเนินการประชุมได้หรือไม่ โดยองค์ประชุมของรัฐสภา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และ[[คณะกรรมาธิการ]] เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และข้อบังคับการประชุมสภานั้นๆ
 


== ความหมายและความสำคัญขององค์ประชุม ==


== ความหมายและความสำคัญขององค์ประชุม ==
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายคำว่า “องค์ประชุม” หมายถึง จำนวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งถึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. “องค์ประชุม”. http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (25 กรกฎาคม 2557) </ref>


จากความหมายดังกล่าว องค์ประชุมจึงเป็นเงื่อนไขในการกำหนดจำนวนต่ำสุดของสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมและสามารถดำเนินการประชุมต่อไปได้ ดังนั้น องค์ประชุมจึงมีความสำคัญต่อการประชุมเพราะหากมีสมาชิกเข้าประชุมไม่ถึงจำนวนที่กำหนดก็ไม่สามารถจะดำเนินการประชุมต่อไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประชุมรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งมีอำนาจหน้าที่ใน[[การตรากฎหมาย|การตรากฎหมาย]] และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ องค์ประชุมย่อมมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งดังที่ศาลรัฐธรรมนูญได้เคยวินิจฉัยสาระสำคัญของบทบัญญัติ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2550|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] มาตรา 126 ซึ่งบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประชุมของการประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาไว้ในคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 มีความอันเป็นสาระสำคัญว่า การกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาที่มีจำนวนมากเพียงพอที่จะมาร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแสดงเจตนาในลักษณะของมติที่ประชุมในการพิจารณาร่างกฎหมายและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ อันเป็นหลักการประชุมสภาที่ใช้อยู่ในนานาประเทศ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับตลอดมา ล้วนมีบทบัญญัติว่าด้วยองค์ประชุมของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญจึงจะเป็นองค์ประชุม การที่รัฐธรรมนูญทุกฉบับกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาที่ประกอบกันเป็นองค์ประชุมไว้ ก็เพื่อให้การประชุมพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ของสภาเป็นไปด้วยความรอบคอบ และมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในส่วนที่เกี่ยวกับการตรากฎหมายนั้น กฎหมายที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา เมื่อพระมหากษัตริย์ทรง[[ลงพระปรมาภิไธย|ลงพระปรมาภิไธย]]และประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา|ราชกิจจานุเบกษา]]แล้ว ย่อมมีผลใช้บังคับกับประชาชนทุกคนในประเทศจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบในการพิจารณาทุกวาระ และเมื่อรัฐธรรมนูญกำหนดองค์ประชุมไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาย่อมมีความหมายว่า [[การประชุมสภาผู้แทนราษฎร|การประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]และ[[การประชุมวุฒิสภา|การประชุมวุฒิสภา]]ที่มีจำนวนสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ประชุม จะถือว่าเป็นการใช้อำนาจนิติบัญญัติโดยองค์กรสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาไม่ได้ และหากมีการ[[ออกเสียงลงคะแนน|ออกเสียงลงคะแนน]]ในที่[[ประชุมสภาผู้แทนราษฎร|ประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]และ[[ที่ประชุมวุฒิสภา|ที่ประชุมวุฒิสภา]]ที่ไม่ครบองค์ประชุมจะถือว่าเป็นการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาที่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญไม่ได้<ref>คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ส่งความเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า ร่างพระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่</ref>
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายคำว่า “องค์ประชุม” หมายถึง จำนวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งถึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. “องค์ประชุม”. http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (25 กรกฎาคม 2557) </ref>
จากความหมายดังกล่าว องค์ประชุมจึงเป็นเงื่อนไขในการกำหนดจำนวนต่ำสุดของสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมและสามารถดำเนินการประชุมต่อไปได้ ดังนั้น องค์ประชุมจึงมีความสำคัญต่อการประชุมเพราะหากมีสมาชิกเข้าประชุมไม่ถึงจำนวนที่กำหนดก็ไม่สามารถจะดำเนินการประชุมต่อไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประชุมรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งมีอำนาจหน้าที่ใน[[การตรากฎหมาย]] และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ องค์ประชุมย่อมมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งดังที่ศาลรัฐธรรมนูญได้เคยวินิจฉัยสาระสำคัญของบทบัญญัติ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] มาตรา 126 ซึ่งบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประชุมของการประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาไว้ในคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 มีความอันเป็นสาระสำคัญว่า การกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาที่มีจำนวนมากเพียงพอที่จะมาร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแสดงเจตนาในลักษณะของมติที่ประชุมในการพิจารณาร่างกฎหมายและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ อันเป็นหลักการประชุมสภาที่ใช้อยู่ในนานาประเทศ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับตลอดมา ล้วนมีบทบัญญัติว่าด้วยองค์ประชุมของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญจึงจะเป็นองค์ประชุม การที่รัฐธรรมนูญทุกฉบับกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาที่ประกอบกันเป็นองค์ประชุมไว้ ก็เพื่อให้การประชุมพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ของสภาเป็นไปด้วยความรอบคอบ และมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในส่วนที่เกี่ยวกับการตรากฎหมายนั้น กฎหมายที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา เมื่อพระมหากษัตริย์ทรง[[ลงพระปรมาภิไธย]]และประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]แล้ว ย่อมมีผลใช้บังคับกับประชาชนทุกคนในประเทศจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบในการพิจารณาทุกวาระ และเมื่อรัฐธรรมนูญกำหนดองค์ประชุมไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาย่อมมีความหมายว่า [[การประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]และ[[การประชุมวุฒิสภา]]ที่มีจำนวนสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ประชุม จะถือว่าเป็นการใช้อำนาจนิติบัญญัติโดยองค์กรสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาไม่ได้ และหากมีการ[[ออกเสียงลงคะแนน]]ในที่[[ประชุมสภาผู้แทนราษฎร]]และ[[ที่ประชุมวุฒิสภา]]ที่ไม่ครบองค์ประชุมจะถือว่าเป็นการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาที่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญไม่ได้<ref>คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ส่งความเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า ร่างพระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่</ref>  


== องค์ประชุมตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ==
== องค์ประชุมตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ ==


[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_(ฉบับชั่วคราว)_พุทธศักราช_2557|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งใช้บังคับเมื่อวันที่ [[22_กรกฎาคม_2557|22 กรกฎาคม 2557]]
[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งใช้บังคับเมื่อวันที่ [[22 กรกฎาคม 2557]]  
 
มาตรา 6 บัญญัติว่า “ให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวนไม่เกินสองร้อยยี่สิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ
มาตรา 6 บัญญัติว่า “ให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวนไม่เกินสองร้อยยี่สิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ
 
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา”
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา”
 
มาตรา 13 บัญญัติว่า “การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม  
มาตรา 13 บัญญัติว่า “การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
 
สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของ[[ประธานสภา]] [[รองประธานสภา]] และ[[กรรมาธิการ]] [[วิธีการประชุม]] การเสนอและการพิจารณาร่าง[[พระราชบัญญัติ]]และ[[ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]] [[การเสนอญัตติ]] [[การอภิปราย]] การ[[ลงมติ]] [[การตั้งกระทู้ถาม]] [[การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย]] และกิจการอื่นเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่”
สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของ[[ประธานสภา|ประธานสภา]] [[รองประธานสภา|รองประธานสภา]] และ[[กรรมาธิการ|กรรมาธิการ]] [[วิธีการประชุม|วิธีการประชุม]] การเสนอและการพิจารณาร่าง[[พระราชบัญญัติ|พระราชบัญญัติ]]และ[[ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ|ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]] [[การเสนอญัตติ|การเสนอญัตติ]] [[การอภิปราย|การอภิปราย]] การ[[ลงมติ|ลงมติ]] [[การตั้งกระทู้ถาม|การตั้งกระทู้ถาม]] [[การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย|การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย]] และกิจการอื่นเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่”
 
จากบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญดังกล่าว สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีสมาชิกจำนวน 220 คน ทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา โดยในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด ซึ่งก็คือสมาชิกจำนวน 110 คน มาเข้าร่วมประชุมจึงจะสามารถดำเนินการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยชอบด้วยกฎหมายได้ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบองค์ประชุมดังกล่าวกับการประชุมรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะบัญญัติจำนวนสมาชิกที่เป็นองค์ประชุมไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาเช่นเดียวกัน เช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] มาตรา 126 วรรคแรก บัญญัติว่า “การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระ[[กระทู้ถาม]]ตามมาตรา 156 และมาตรา 157 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาจะกำหนดเรื่ององค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่างอื่นก็ได้”
จากบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญดังกล่าว สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีสมาชิกจำนวน 220 คน ทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา โดยในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด ซึ่งก็คือสมาชิกจำนวน 110 คน มาเข้าร่วมประชุมจึงจะสามารถดำเนินการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยชอบด้วยกฎหมายได้ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบองค์ประชุมดังกล่าวกับการประชุมรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะบัญญัติจำนวนสมาชิกที่เป็นองค์ประชุมไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาเช่นเดียวกัน เช่น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_2550|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] มาตรา 126 วรรคแรก บัญญัติว่า “การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระ[[กระทู้ถาม|กระทู้ถาม]]ตามมาตรา 156 และมาตรา 157 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาจะกำหนดเรื่ององค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่างอื่นก็ได้”


== องค์ประชุมตามข้อบังคับการประชุม ==
== องค์ประชุมตามข้อบังคับการประชุม ==


รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 13 วรรคสอง บัญญัติว่า “สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา และกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติและร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การอภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และกิจการอื่นเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่” อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็มีบทบัญญัติที่ให้อำนาจสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในการตั้งคณะกรรมาธิการ และให้มีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับเรื่องหรือกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของ[[คณะกรรมาธิการสามัญ|คณะกรรมาธิการสามัญ]] การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการได้ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาก็ได้ตราข้อบังคับการประชุมซึ่งมีข้อกำหนดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับองค์ประชุมของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะกรรมาธิการ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 13 วรรคสอง บัญญัติว่า “สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา และกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติและร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การอภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และกิจการอื่นเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่” อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็มีบทบัญญัติที่ให้อำนาจสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในการตั้งคณะกรรมาธิการ และให้มีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับเรื่องหรือกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของ[[คณะกรรมาธิการสามัญ]] การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการได้ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาก็ได้ตราข้อบังคับการประชุมซึ่งมีข้อกำหนดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับองค์ประชุมของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะกรรมาธิการ ดังนี้  
 
1. [[ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร_พ.ศ._2551|ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551]] ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 134 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
1. [[ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551]] ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 134 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550  
 
ข้อ 18 วรรคสอง กำหนดว่า “เมื่อมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา 156 และมาตรา 157 ของรัฐธรรมนูญ ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ก็ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมพิจารณาได้”
ข้อ 18 วรรคสอง กำหนดว่า “เมื่อมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา 156 และมาตรา 157 ของรัฐธรรมนูญ ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ก็ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมพิจารณาได้”
 
ข้อ 84 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในการประชุมคณะกรรมาธิการที่จะมีการลงมติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่”
ข้อ 84 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในการประชุมคณะกรรมาธิการที่จะมีการลงมติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่”
 
2. [[ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551]] ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 134 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
2. [[ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา_พ.ศ._2551|ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551]] ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 134 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 
ข้อ 19 วรรคสอง กำหนดว่า “เมื่อมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถาม ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ก็ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมพิจารณาได้”
ข้อ 19 วรรคสอง กำหนดว่า “เมื่อมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถาม ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ก็ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมพิจารณาได้”
 
ข้อ 84 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำข้อบังคับนี้เฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมวุฒิสภามาใช้บังคับโดยอนุโลม”
ข้อ 84 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำข้อบังคับนี้เฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมวุฒิสภามาใช้บังคับโดยอนุโลม”
 
3. [[ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553]] ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 136 (8) และมาตรา 137 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
3. [[ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา_พ.ศ._2553|ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553]] ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 136 (8) และมาตรา 137 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
 
ข้อ 16 วรรคแรก กำหนดว่า “ก่อนเข้าประชุมทุกครั้งให้สมาชิกรัฐสภาผู้มาประชุมลงชื่อในสมุดที่จัดไว้ หรือแสดงตนตามระเบียบที่ประธานรัฐสภากำหนด เมื่อมีสมาชิกรัฐสภาลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม”
ข้อ 16 วรรคแรก กำหนดว่า “ก่อนเข้าประชุมทุกครั้งให้สมาชิกรัฐสภาผู้มาประชุมลงชื่อในสมุดที่จัดไว้ หรือแสดงตนตามระเบียบที่ประธานรัฐสภากำหนด เมื่อมีสมาชิกรัฐสภาลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม”
 
ข้อ 63 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม”
ข้อ 63 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม”


== อ้างอิง ==


 
<references />
== อ้างอิง ==
<references/>


== บรรณานุกรม ==
== บรรณานุกรม ==
บรรทัดที่ 79: บรรทัดที่ 72:
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.


ราชบัณฑิตยสถาน. “องค์ประชุม”. http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (25 กรกฎาคม 2557).
ราชบัณฑิตยสถาน. “องค์ประชุม”. [http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp] (25 กรกฎาคม 2557).


สุธรรม แสงประทุม.(2539). “ปัญหาประสิทธิภาพในการดำเนินการประชุมของสภาผู้แทนราษฎร ศึกษากรณี การตรวจสอบองค์ประชุม และการนับคะแนนใหม่” เอกสารวิจัยส่วนบุคคล สถาบันพระปกเกล้า.
สุธรรม แสงประทุม.(2539). “ปัญหาประสิทธิภาพในการดำเนินการประชุมของสภาผู้แทนราษฎร ศึกษากรณี การตรวจสอบองค์ประชุม และการนับคะแนนใหม่” เอกสารวิจัยส่วนบุคคล สถาบันพระปกเกล้า.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.(2555). “ระบบงานรัฐสภา 2555”กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.(2555). “ระบบงานรัฐสภา 2555”กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
[[Category:รัฐสภา]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:41, 20 มีนาคม 2560

ผู้เรียบเรียง : นางสาวฐานพร ม่วงมณี

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : นายจเร พันธุ์เปรื่อง


ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยใช้รูปแบบการปกครองระบบรัฐสภา ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเกือบทุกฉบับบัญญัติให้รัฐสภาประกอบด้วยสภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา เว้นแต่ในบางช่วงเวลาอันเนื่องมาจากสถานการณ์ทางการเมืองหรือการรัฐประหารที่มีการประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองแห่งราชอาณาจักรหรือรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับชั่วคราวได้บัญญัติให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา ดังเช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ.2557

รัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาตินั้นนอกจากจะมีอำนาจหน้าที่ในด้านนิติบัญญัติแล้วยังมีหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบ การบริหารราชการของฝ่ายบริหารอีกด้วย รัฐธรรมนูญจึงบัญญัติให้มีการตั้งคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณา สอบสวน หรือศึกษาเรื่องใดๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภาเพื่อช่วยในการปฏิบัติหน้าที่ของสภาด้วย โดยในการทำหน้าที่ของสภาไม่ว่าจะเป็นรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รวมถึงคณะกรรมาธิการต่างๆ ย่อมจะต้องมีการประชุม และเงื่อนไขหนึ่งที่สำคัญของการประชุมคือ “องค์ประชุม” ซึ่งเป็นเงื่อนไขในการกำหนดว่าการประชุมในครั้งนั้นๆ จะดำเนินการประชุมได้หรือไม่ โดยองค์ประชุมของรัฐสภา สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะกรรมาธิการ เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ และข้อบังคับการประชุมสภานั้นๆ

ความหมายและความสำคัญขององค์ประชุม

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายคำว่า “องค์ประชุม” หมายถึง จำนวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งถึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม[1]

จากความหมายดังกล่าว องค์ประชุมจึงเป็นเงื่อนไขในการกำหนดจำนวนต่ำสุดของสมาชิกที่เข้าร่วมประชุมและสามารถดำเนินการประชุมต่อไปได้ ดังนั้น องค์ประชุมจึงมีความสำคัญต่อการประชุมเพราะหากมีสมาชิกเข้าประชุมไม่ถึงจำนวนที่กำหนดก็ไม่สามารถจะดำเนินการประชุมต่อไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการประชุมรัฐสภาหรือสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งมีอำนาจหน้าที่ในการตรากฎหมาย และปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ องค์ประชุมย่อมมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งดังที่ศาลรัฐธรรมนูญได้เคยวินิจฉัยสาระสำคัญของบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 126 ซึ่งบัญญัติเกี่ยวกับองค์ประชุมของการประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาไว้ในคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 มีความอันเป็นสาระสำคัญว่า การกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาที่มีจำนวนมากเพียงพอที่จะมาร่วมกันแสดงความคิดเห็นและแสดงเจตนาในลักษณะของมติที่ประชุมในการพิจารณาร่างกฎหมายและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ อันเป็นหลักการประชุมสภาที่ใช้อยู่ในนานาประเทศ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับต่าง ๆ ที่ใช้บังคับตลอดมา ล้วนมีบทบัญญัติว่าด้วยองค์ประชุมของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาตามจำนวนที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญจึงจะเป็นองค์ประชุม การที่รัฐธรรมนูญทุกฉบับกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาที่ประกอบกันเป็นองค์ประชุมไว้ ก็เพื่อให้การประชุมพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ของสภาเป็นไปด้วยความรอบคอบ และมีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการปฏิบัติหน้าที่ของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในส่วนที่เกี่ยวกับการตรากฎหมายนั้น กฎหมายที่ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ย่อมมีผลใช้บังคับกับประชาชนทุกคนในประเทศจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบในการพิจารณาทุกวาระ และเมื่อรัฐธรรมนูญกำหนดองค์ประชุมไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาย่อมมีความหมายว่า การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาที่มีจำนวนสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่ครบองค์ประชุม จะถือว่าเป็นการใช้อำนาจนิติบัญญัติโดยองค์กรสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาไม่ได้ และหากมีการออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรและที่ประชุมวุฒิสภาที่ไม่ครบองค์ประชุมจะถือว่าเป็นการออกเสียงลงคะแนนของสมาชิกในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาที่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญไม่ได้[2]

องค์ประชุมตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ซึ่งใช้บังคับเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2557

มาตรา 6 บัญญัติว่า “ให้มีสภานิติบัญญัติแห่งชาติประกอบด้วยสมาชิกจำนวนไม่เกินสองร้อยยี่สิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากผู้มีสัญชาติไทยโดยการเกิดและมีอายุไม่ต่ำกว่าสี่สิบปี ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคำแนะนำ

ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา”

มาตรา 13 บัญญัติว่า “การประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม

สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา และกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติและร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การอภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และกิจการอื่นเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่”

จากบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญดังกล่าว สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีสมาชิกจำนวน 220 คน ทำหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา โดยในการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติต้องมีสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติจำนวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด ซึ่งก็คือสมาชิกจำนวน 110 คน มาเข้าร่วมประชุมจึงจะสามารถดำเนินการประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติโดยชอบด้วยกฎหมายได้ ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบองค์ประชุมดังกล่าวกับการประชุมรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะบัญญัติจำนวนสมาชิกที่เป็นองค์ประชุมไว้ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภาเช่นเดียวกัน เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 126 วรรคแรก บัญญัติว่า “การประชุมสภาผู้แทนราษฎรและการประชุมวุฒิสภาต้องมีสมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของแต่ละสภา จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีการพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา 156 และมาตรา 157 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาจะกำหนดเรื่ององค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่างอื่นก็ได้”

องค์ประชุมตามข้อบังคับการประชุม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 มาตรา 13 วรรคสอง บัญญัติว่า “สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีอำนาจตราข้อบังคับเกี่ยวกับการเลือกและการปฏิบัติหน้าที่ของประธานสภา รองประธานสภา และกรรมาธิการ วิธีการประชุม การเสนอและการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติและร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ การเสนอญัตติ การอภิปราย การลงมติ การตั้งกระทู้ถาม การรักษาระเบียบและความเรียบร้อย และกิจการอื่นเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่” อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ก็มีบทบัญญัติที่ให้อำนาจสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในการตั้งคณะกรรมาธิการ และให้มีอำนาจตราข้อบังคับการประชุมเกี่ยวกับเรื่องหรือกิจการอันเป็นอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการสามัญ การปฏิบัติหน้าที่และองค์ประชุมของคณะกรรมาธิการได้ ซึ่งสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาก็ได้ตราข้อบังคับการประชุมซึ่งมีข้อกำหนดในส่วนที่เกี่ยวข้องกับองค์ประชุมของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะกรรมาธิการ ดังนี้

1. ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551 ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 134 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ข้อ 18 วรรคสอง กำหนดว่า “เมื่อมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถามตามมาตรา 156 และมาตรา 157 ของรัฐธรรมนูญ ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ก็ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมพิจารณาได้”

ข้อ 84 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในการประชุมคณะกรรมาธิการที่จะมีการลงมติในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่”

2. ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551 ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 134 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ข้อ 19 วรรคสอง กำหนดว่า “เมื่อมีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีพิจารณาระเบียบวาระกระทู้ถาม ถ้ามีสมาชิกลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ก็ให้ถือว่าเป็นองค์ประชุมพิจารณาได้”

ข้อ 84 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม และให้นำข้อบังคับนี้เฉพาะที่เกี่ยวกับการประชุมวุฒิสภามาใช้บังคับโดยอนุโลม”

3. ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553 ซึ่งตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 136 (8) และมาตรา 137 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

ข้อ 16 วรรคแรก กำหนดว่า “ก่อนเข้าประชุมทุกครั้งให้สมาชิกรัฐสภาผู้มาประชุมลงชื่อในสมุดที่จัดไว้ หรือแสดงตนตามระเบียบที่ประธานรัฐสภากำหนด เมื่อมีสมาชิกรัฐสภาลงชื่อมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกรัฐสภาทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม”

ข้อ 63 กำหนดว่า “การประชุมคณะกรรมาธิการต้องมีกรรมาธิการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมาธิการทั้งหมดเท่าที่มีอยู่จึงจะเป็นองค์ประชุม”

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน. “องค์ประชุม”. http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (25 กรกฎาคม 2557)
  2. คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ส่งความเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า ร่างพระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่

บรรณานุกรม

ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2551.

ข้อบังคับการประชุมวุฒิสภา พ.ศ. 2551.

ข้อบังคับการประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2553.

คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 16/2551 ลงวันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 เรื่อง ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ส่งความเห็นของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยว่า ร่างพระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตราขึ้นโดยถูกต้องตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และมีข้อความขัดหรือ

แย้งต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.

ราชบัณฑิตยสถาน. “องค์ประชุม”. http://rirs3.royin.go.th/new-search/word-search-all-x.asp (25 กรกฎาคม 2557).

สุธรรม แสงประทุม.(2539). “ปัญหาประสิทธิภาพในการดำเนินการประชุมของสภาผู้แทนราษฎร ศึกษากรณี การตรวจสอบองค์ประชุม และการนับคะแนนใหม่” เอกสารวิจัยส่วนบุคคล สถาบันพระปกเกล้า.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.(2555). “ระบบงานรัฐสภา 2555”กรุงเทพฯ: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.