ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จฯ เลียบมณฑลภูเก็ต"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย 'หลังจากเสด็จพระราชดำเนินเลียบหัวเมืองฝ่ายเหนือ...'
 
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
หลังจากเสด็จพระราชดำเนินเลียบหัวเมืองฝ่ายเหนือ และมณฑลพายัพ ต่อมาใน พุทธศักราช ๒๔๗๑ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินเลียบมณฑลภูเก็ต ประกอบด้วยเมืองต่างๆ ได้แก่ เมืองภูเก็ต เมืองระนอง เมืองพังงา เมืองตะกั่วป่า เมืองกระบี่ เมืองตรัง และเมืองสตูล  เป็นมณฑลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของสยามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ดีบุก  
หลังจากเสด็จพระราชดำเนินเลียบ[[หัวเมืองฝ่ายเหนือ]] และ[[มณฑลพายัพ]] ต่อมาใน พุทธศักราช ๒๔๗๑ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้เสด็จพระราชดำเนินเลียบ[[มณฑลภูเก็ต]] ประกอบด้วยเมืองต่างๆ ได้แก่ เมืองภูเก็ต เมืองระนอง เมืองพังงา เมืองตะกั่วป่า เมืองกระบี่ เมืองตรัง และเมืองสตูล  เป็นมณฑลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของสยามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ดีบุก  


ครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรเหมืองแร่อันเป็นกิจการสำคัญที่สร้างรายได้แก่แผ่นดินอย่างเป็นล่ำเป็นสันในเวลานั้น
ครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรเหมืองแร่อันเป็นกิจการสำคัญที่สร้างรายได้แก่แผ่นดินอย่างเป็นล่ำเป็นสันในเวลานั้น
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
แม้ขณะนั้นมณฑลภูเก็ตอยู่ห่างไกลจากพระนคร ต้องใช้เวลาเดินทางด้วยความยากลำบาก แต่ก็ทรงมีพระราชหฤทัยอันแน่วแน่ที่จะเสด็จพระราชดำเนินไป ตลอด ๑๘ วัน ทรงใช้ราชพาหนะ ทั้งรถยนต์ รถไฟ และเรือพระที่นั่ง  โดยมีรับสั่งไว้ก่อนแล้วว่ามิต้องจัดที่ประทับแรมในที่สะดวกสบาย หากบางคืนจำเป็นต้องบรรทมในเรือตลอดคืนก็มิทรงขัดข้อง  
แม้ขณะนั้นมณฑลภูเก็ตอยู่ห่างไกลจากพระนคร ต้องใช้เวลาเดินทางด้วยความยากลำบาก แต่ก็ทรงมีพระราชหฤทัยอันแน่วแน่ที่จะเสด็จพระราชดำเนินไป ตลอด ๑๘ วัน ทรงใช้ราชพาหนะ ทั้งรถยนต์ รถไฟ และเรือพระที่นั่ง  โดยมีรับสั่งไว้ก่อนแล้วว่ามิต้องจัดที่ประทับแรมในที่สะดวกสบาย หากบางคืนจำเป็นต้องบรรทมในเรือตลอดคืนก็มิทรงขัดข้อง  


ครั้งนี้พระองค์ได้ทรงเยี่ยมเยือนราษฎรใน ๕ จังหวัดได้แก่ พัทลุง ตรัง ระนอง ภูเก็ต และ พังงา ตามลำดับ โดยมีพระราชประสงค์เพื่อทรงติดตามการบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนเพื่อทอดพระเนตรวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรด้วย
ครั้งนี้พระองค์ได้ทรงเยี่ยมเยือนราษฎรใน ๕ จังหวัดได้แก่ พัทลุง ตรัง ระนอง ภูเก็ต และ พังงา ตามลำดับ โดยมีพระราชประสงค์เพื่อทรงติดตาม[[การบริหารราชการแผ่นดิน]] ตลอดจนเพื่อทอดพระเนตรวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรด้วย
“อันความเจริญอันจะเกิดขึ้นแก่บ้านเมือง แม้อาศัยพระเดชพระคุณของพระเจ้าแผ่นดินเป็นสำคัญอย่างหนึ่งก็จริง แต่จำต้องอาศัยความประพฤติของพลเมืองเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งประกอบกัน”
“อันความเจริญอันจะเกิดขึ้นแก่บ้านเมือง แม้อาศัยพระเดชพระคุณของพระเจ้าแผ่นดินเป็นสำคัญอย่างหนึ่งก็จริง แต่จำต้องอาศัยความประพฤติของพลเมืองเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งประกอบกัน”


บรรทัดที่ 14: บรรทัดที่ 14:
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖


[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ]]
*[https://www.youtube.com/watch?v=b-MBOt1ucQs&index=29&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo  YOU TUBE : เสด็จฯ พระราชดำเนินทั่วถิ่นแดนสยาม : เสด็จฯ เลียบมณฑลภูเก็ต]
 
[[หมวดหมู่:พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ|ส]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:17, 22 มกราคม 2559

หลังจากเสด็จพระราชดำเนินเลียบหัวเมืองฝ่ายเหนือ และมณฑลพายัพ ต่อมาใน พุทธศักราช ๒๔๗๑ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินเลียบมณฑลภูเก็ต ประกอบด้วยเมืองต่างๆ ได้แก่ เมืองภูเก็ต เมืองระนอง เมืองพังงา เมืองตะกั่วป่า เมืองกระบี่ เมืองตรัง และเมืองสตูล เป็นมณฑลภาคใต้ฝั่งตะวันตกของสยามที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยแร่ดีบุก

ครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรเหมืองแร่อันเป็นกิจการสำคัญที่สร้างรายได้แก่แผ่นดินอย่างเป็นล่ำเป็นสันในเวลานั้น

“ถ้าเราได้มารู้เห็นถึงท้องที่ย่อมจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปกครองบ้านเมือง ให้ประชาชนทั้งหลายในมณฑลนี้มีความเจริญสุขยิ่งขึ้นสืบไป”

แม้ขณะนั้นมณฑลภูเก็ตอยู่ห่างไกลจากพระนคร ต้องใช้เวลาเดินทางด้วยความยากลำบาก แต่ก็ทรงมีพระราชหฤทัยอันแน่วแน่ที่จะเสด็จพระราชดำเนินไป ตลอด ๑๘ วัน ทรงใช้ราชพาหนะ ทั้งรถยนต์ รถไฟ และเรือพระที่นั่ง โดยมีรับสั่งไว้ก่อนแล้วว่ามิต้องจัดที่ประทับแรมในที่สะดวกสบาย หากบางคืนจำเป็นต้องบรรทมในเรือตลอดคืนก็มิทรงขัดข้อง

ครั้งนี้พระองค์ได้ทรงเยี่ยมเยือนราษฎรใน ๕ จังหวัดได้แก่ พัทลุง ตรัง ระนอง ภูเก็ต และ พังงา ตามลำดับ โดยมีพระราชประสงค์เพื่อทรงติดตามการบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนเพื่อทอดพระเนตรวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรด้วย “อันความเจริญอันจะเกิดขึ้นแก่บ้านเมือง แม้อาศัยพระเดชพระคุณของพระเจ้าแผ่นดินเป็นสำคัญอย่างหนึ่งก็จริง แต่จำต้องอาศัยความประพฤติของพลเมืองเป็นสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งประกอบกัน”

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖