ผลต่างระหว่างรุ่นของ "12 มกราคม พ.ศ. 2519"
ล หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' ศ.นรนิต เศรษฐบุตร ---- '''ผู้ทรงคุณวุ...' |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' | '''ผู้เรียบเรียง''' ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร | ||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
---- | ---- | ||
วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 | วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 เป็นวันที่มีการ[[ยุบสภา]] ครั้งที่ 4 ในประเทศไทย ในสมัยที่ [[ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] และขณะนั้นใช้[[รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517]] รัฐบาลของ [[ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช]] นั้นเป็น[[รัฐบาลผสม]] ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะส่วนมากรัฐบาลที่มาจาก[[การเลือกตั้ง]]ของไทยเป็นรัฐบาลผสม เพราะไม่มี[[พรรคการเมือง]]พรรคใดพรรคหนึ่งได้เสียงในสภาเกินกว่าครึ่งหนึ่งจากการเลือกตั้ง แต่ที่แปลกก็คือ [[พรรคกิจสังคม]] ที่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็น[[หัวหน้าพรรค]]และเป็น[[พรรคแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล]] มีเสียงเพียง 18 เสียง น้อยกว่าพรรคอื่น ๆ ที่เข้าร่วมรัฐบาลอยู่หลายพรรค | ||
เมื่อบริหารประเทศมาได้ไม่นานก็มี[[ความขัดแย้ง]]ในพรรคการเมืองที่ร่วมรัฐบาล เรื่องมาเริ่มเห็นได้บ้างก็เมื่อถึงเดือนตุลาคมที่จะมีการพิจารณาพระราชบัญญัติงบประมาณ โดยมีเสียงว่าจะมี[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]ไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาล แต่เรื่องงบประมาณก็ผ่านมาได้และนายกรัฐมนตรีก็ปรับปรุง[[คณะรัฐมนตรี]]ของตัวเอง ในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยนายกรัฐมนตรีเองไปเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย]] และสับเปลี่ยนรัฐมนตรีอื่นๆ หลายตำแหน่ง | |||
แม้จะปรับปรุงคณะรัฐมนตรีแล้ว ปัญหาทางการเมืองก็มิได้ลดลง | แม้จะปรับปรุงคณะรัฐมนตรีแล้ว ปัญหาทางการเมืองก็มิได้ลดลง เพราะทาง[[พรรคประชาธิปัตย์]]ที่เป็น[[พรรคฝ่ายค้าน]]ได้ขอ[[เปิดประชุมวิสามัญ]]ได้และ[[ยื่นญัตติ]]ขอเปิด[[อภิปรายทั่วไปที่จะไม่ไว้วางใจรัฐบาล]]ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม บริหาร และการต่างประเทศ เมื่อเป็นเช่นนี้ทางนายกรัฐมนตรีอาจเห็นว่ารอให้เปิดอภิปราย ทาง[[พรรคร่วมรัฐบาล]]อาจข้ามไปหนุนทาง[[ฝ่ายค้าน]]ได้ จึงรอจนนำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้าเฝ้า[[ถวายสัตย์ปฏิญาณ]]เสร็จแล้วในตอนบ่าย วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 จึงได้[[ประกาศกฤษฎีกายุบสภา]]ในคืนวันเดียวกันเมื่อเวลา 20.00 น. และกำหนดให้มี[[การเลือกตั้งทั่วไป]]ครั้งใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 | ||
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. | [[หมวดหมู่:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2501-2519]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:30, 17 กันยายน 2556
ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 เป็นวันที่มีการยุบสภา ครั้งที่ 4 ในประเทศไทย ในสมัยที่ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี และขณะนั้นใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 รัฐบาลของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช นั้นเป็นรัฐบาลผสม ซึ่งก็ไม่ใช่เรื่องแปลก เพราะส่วนมากรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของไทยเป็นรัฐบาลผสม เพราะไม่มีพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่งได้เสียงในสภาเกินกว่าครึ่งหนึ่งจากการเลือกตั้ง แต่ที่แปลกก็คือ พรรคกิจสังคม ที่ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นหัวหน้าพรรคและเป็นพรรคแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล มีเสียงเพียง 18 เสียง น้อยกว่าพรรคอื่น ๆ ที่เข้าร่วมรัฐบาลอยู่หลายพรรค
เมื่อบริหารประเทศมาได้ไม่นานก็มีความขัดแย้งในพรรคการเมืองที่ร่วมรัฐบาล เรื่องมาเริ่มเห็นได้บ้างก็เมื่อถึงเดือนตุลาคมที่จะมีการพิจารณาพระราชบัญญัติงบประมาณ โดยมีเสียงว่าจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่ให้การสนับสนุนรัฐบาล แต่เรื่องงบประมาณก็ผ่านมาได้และนายกรัฐมนตรีก็ปรับปรุงคณะรัฐมนตรีของตัวเอง ในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2519 โดยนายกรัฐมนตรีเองไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และสับเปลี่ยนรัฐมนตรีอื่นๆ หลายตำแหน่ง
แม้จะปรับปรุงคณะรัฐมนตรีแล้ว ปัญหาทางการเมืองก็มิได้ลดลง เพราะทางพรรคประชาธิปัตย์ที่เป็นพรรคฝ่ายค้านได้ขอเปิดประชุมวิสามัญได้และยื่นญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไปที่จะไม่ไว้วางใจรัฐบาลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม บริหาร และการต่างประเทศ เมื่อเป็นเช่นนี้ทางนายกรัฐมนตรีอาจเห็นว่ารอให้เปิดอภิปราย ทางพรรคร่วมรัฐบาลอาจข้ามไปหนุนทางฝ่ายค้านได้ จึงรอจนนำคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้าเฝ้าถวายสัตย์ปฏิญาณเสร็จแล้วในตอนบ่าย วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2519 จึงได้ประกาศกฤษฎีกายุบสภาในคืนวันเดียวกันเมื่อเวลา 20.00 น. และกำหนดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งใหม่ในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519