ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในเขตพื้นที่ชายแดน"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:


3. สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. “การจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ: ศึกษากรณีจังหวัดภูเก็ต”, รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย, 2541. เป็นงานหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการจัดรูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษของจังหวัดภูเก็ต โดยได้เสนอแนะโครงสร้างเกี่ยวกับการบริหารเมืองภูเก็ตโดยละเอียด
3. สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. “การจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ: ศึกษากรณีจังหวัดภูเก็ต”, รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย, 2541. เป็นงานหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการจัดรูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษของจังหวัดภูเก็ต โดยได้เสนอแนะโครงสร้างเกี่ยวกับการบริหารเมืองภูเก็ตโดยละเอียด
[[หมวดหมู่:การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ]]
[[หมวดหมู่:การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ]]
[[หมวดหมู่:ศาสตราจารย์ ดร. สมคิด เลิศไพฑูรย์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:32, 5 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์ วุฒิสาร ตันไชย และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรทัย ก๊กผล


การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในเขตพื้นที่ชายแดน

แนวคิดในการจัดรูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษในบริเวณพื้นที่ชายแดนนั้นมีขึ้นในภาคเหนือ ตัวอย่างเช่น จังหวัดเชียงราย สืบเนื่องจากบริเวณชายแดนจังหวัดเชียงรายนั้น มีนักท่องเที่ยวเข้าไปเป็นจำนวนมาก หน่วยงานราชการซึ่งโดยมากมักตั้งสำนักงานอยู่ในอำเภอเมืองจึงเกิดการบริหารงานที่ไม่คล่องตัว ประกอบกับบริเวณพื้นที่ชายแดนก็มีองค์กรท้องถิ่นที่รับผิดชอบอยู่ ทำให้เกิดแนวความคิดในการให้บริเวณนี้เป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน ก็ได้มีการตั้งพื้นที่พิเศษ เช่น เขตปลอดศุลกากร เป็นต้น ซึ่งจังหวัดเชียงรายมีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแลอยู่

เอกสารอ่านเพิ่มเติม

1. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ และคณะ. ทิศทางการปกครองท้องถิ่นของไทยและต่างประเทศเปรียบเทียบ. กรุงเทพมหานคร: วิญญูชน, 2546.

2. สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. “การศึกษาสภาพปัญหาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการบริหารและแนวทางการพัฒนาพื้นที่เกาะสมุย”, รายงานการวิจัยเสนอต่อกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2546. รายงานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการบริหารจัดการพื้นที่เกาะสมุย โดยได้ศึกษาเกี่ยวกับสภาพพื้นที่โดยละเอียด ไม่ว่าจะเป็นสภาพปัญหาภายใน หน่วยงานที่จัดทำบริการหรือรับผิดชอบในด้านต่าง ๆ ซึ่งทำให้เห็นภาพรวมการบริหารจัดการในพื้นที่เกาะสมุยได้เป็นอย่างดี รวมถึงคณะผู้วิจัยได้จัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารของเกาะสมุยอีกด้วย

3. สมคิด เลิศไพฑูรย์ และคณะ. “การจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ: ศึกษากรณีจังหวัดภูเก็ต”, รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: ศูนย์ศึกษาการพัฒนาประชาธิปไตย, 2541. เป็นงานหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความเป็นไปได้ในการจัดรูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษของจังหวัดภูเก็ต โดยได้เสนอแนะโครงสร้างเกี่ยวกับการบริหารเมืองภูเก็ตโดยละเอียด