ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์ประกอบและที่มาของการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 4 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{รอผู้ทรง}}
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร  
'''ผู้เรียบเรียง''' วัชรา ไชยสาร  


บรรทัดที่ 11: บรรทัดที่ 9:
== องค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ==
== องค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ==


เนื่องจากสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นองค์กรการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน ดังนั้น มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 กำหนดให้สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 99 คน ซึ่งได้รับเลือกจากบุคคลที่เป็นตัวแทนองค์กรของกลุ่มในภาคเศรษฐกิจ และกลุ่มในภาคสังคม ฐานทรัพยากร และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นกลุ่มตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543<ref>พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 มาตรา 5. </ref>  ดังนี้
เนื่องจาก[[สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]เป็นองค์กร[[การมีส่วนร่วมของประชาชน]]ทุกภาคส่วน ดังนั้น มาตรา 5 แห่ง[[พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543]] กำหนดให้สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 99 คน ซึ่งได้รับเลือกจากบุคคลที่เป็นตัวแทนองค์กรของกลุ่มในภาคเศรษฐกิจ และกลุ่มในภาคสังคม ฐานทรัพยากร และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นกลุ่มตาม[[แนวนโยบายพื้นฐาน]]แห่งรัฐตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540]] ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543<ref>พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 มาตรา 5. </ref>  ดังนี้


{| border="0" align="center"  
{| border="0" align="center"  
บรรทัดที่ 77: บรรทัดที่ 75:
|}
|}


ทั้งนี้ การกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทั้งในภาพรวม และในแต่ละกลุ่มนั้น ในการดำเนินการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ กฎหมายได้กำหนดให้ต้องคำนึงถึงการกระจายบุคคลซึ่งเป็นตัวแทนไปตามภาค อาชีพ เพศ และขนาดของกิจการ<ref>พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 มาตรา 6.</ref>  โดยในกลุ่มการผลิตด้านการเกษตรจะต้องให้ได้สมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากเกษตรกรรายย่อยไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ในกลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรมต้องคำนึงถึงการกระจายบุคคล ซึ่งเป็นสมาชิกจากอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และลูกจ้าง และในกลุ่มการผลิตด้านการบริการจะต้องให้ได้สมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากผู้ค้าอิสระหรือผู้ประกอบกิจการด้วยตนเองรายย่อยไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม เพื่อกระจายสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ให้ครอบคลุมกลุ่มต่างๆ ในขนาดที่เหมาะสม อันจะก่อให้เกิดความหลากหลายทางความคิด คำนึงถึงประสิทธิภาพสูงสุด และไม่ใหญ่โตเกินไป.
 
<center>[[ไฟล์:องค์ประกอบของสภาที่ปรึกษา.jpg]]</center>
 
<center>ภาพที่ 1 แสดงองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ</center>
 
==  ที่มาของการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ==
ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ปี พ.ศ. 2543 ได้ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ หลายครั้งและหลายรูปแบบ โดยหากพิจารณากันอย่างถ่องแท้แล้ว จะเห็นว่าอยู่ในโครงสร้างเดียวกันตั้งแต่ร่าง[[พระราชบัญญัติฯ]] “ฉบับต้นแบบ” และ “ฉบับพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ” โดยโครงสร้างการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ
 
มีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ 1) ภาคอาชีพและกิจกรรม 2) ภาคพื้นที่ และ 3) ภาคความรู้และภูมิปัญญา
 
ทั้งนี้ สาระสำคัญเกี่ยวกับการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ ของพระราชบัญญัติฯ “ฉบับต้นแบบ” และ “ฉบับพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ” สรุปได้ดังนี้
 
'''(1) ร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ “ฉบับต้นแบบ”'''
 
การพิจารณาองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ จากเจตนารมณ์ วิสัยทัศน์ และแนวความคิดที่สมาชิกมาจากองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ 1) ภาคอาชีพและกิจกรรม 2) ภาคพื้นที่ และ 3) ภาคความรู้และภูมิปัญญา จำนวน 100 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนสภาพความเห็นและความต้องการในการกำหนดนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมร่วมกับรัฐ และสะท้อนปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจาก 3 ส่วน คือ
 
1) จากผู้อยู่ในพื้นที่ซึ่งจะสะท้อนปัญหาเชิงทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และปัญหาทางสังคมอย่างชัดเจน
 
2) จากผู้อยู่ในอาชีพและกิจกรรม จะสะท้อนปัญหาทางเศรษฐกิจในเชิงปฏิบัติการ และ
 
3) จากกลุ่มผู้ทรงความรู้และภูมิปัญญา ซึ่งกลุ่มนี้จะทำให้การมองภาพในลักษณะแยกส่วนได้หันกลับมาพิจารณาอย่างเป็นองค์รวม
 
หลักในการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ ดังกล่าว มีความครบถ้วนตรงตามเจตนารมณ์ คือ หลากหลายและครอบคลุม สามารถสะท้อนความคิดเห็นและปัญหาได้ แต่หลังจากการหารือในแนวกว้างและลึก แล้วกลับมาวิเคราะห์อีกครั้ง สรุปได้ว่า แนวความคิดนี้ครอบคลุมแต่อาจไม่ครบถ้วน เพราะมีความซ้อนทับ (Over Lap) กันในระหว่าง 3 กลุ่ม กล่าวคือ การสรรหามาจาก 3 กลุ่มนี้ อาจจะได้บุคคลในอาชีพและประสบการณ์เดียว พื้นที่เดียวกันก็ได้ ซึ่งจะทำให้ความหลากหลายของการสะท้อนปัญหาลดลง และการกำหนดผู้แทนอาชีพยังไม่ได้ยึดหลักเกณฑ์สากลที่จะสามารถใช้อธิบายความหลากหลาย ครอบคลุม และครบถ้วน ทางเศรษฐกิจและสังคมได้ การปรับเปลี่ยนจึงเกิดขึ้นใน “ร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ ของรัฐบาล” และ “ร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ ฉบับ[[สภาผู้แทนราษฎร]]” ซึ่งอาชีพและกิจกรรมทางสังคมได้ปรากฎชัดเจนและลงลึก แต่ขาดการพิจาณาในเชิงภาคพื้นที่ และความรู้และภูมิปัญญา ซึ่งในการพิจารณาใน[[คณะกรรมาธิการ]]ของ[[วุฒิสภา]]ก็ได้ปรับปรุงเพื่อแก้ไขปัญหาความทับซ้อน
 
'''(2) พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ'''
 
พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ พ.ศ. 2543 ได้กำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ
 
ใน 2 ส่วน ไว้อย่างชัดเจน คือ ส่วนของภาคเศรษฐกิจ ซึ่งหมายถึงผู้แทนภาคการผลิต และผู้แทนภาค กลุ่มในภาคสังคม ฐานทรัพยากร และผู้ทรงความรู้และปัญญา โดยผู้แทนของทั้งสองภาคได้กำหนดให้ครอบคลุมเชิงพื้นที่อย่างหลวม ๆ ครอบคลุมเชิงลึกในภาคเศรษฐกิจ (ภาคการผลิต) คือ ทั้งในส่วนของแรงงานขนาดการผลิต เป็นต้น<ref>สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : เพชรรุ่งการพิมพ์ จำกัด, 2544. หน้า 46 – 47.</ref>  
 
ทั้งนี้ การกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทั้งในภาพรวม และในแต่ละกลุ่มนั้น ใน[[การดำเนินการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ]] กฎหมายได้กำหนดให้ต้องคำนึงถึงการกระจายบุคคลซึ่งเป็นตัวแทนไปตามภาค อาชีพ เพศ และขนาดของกิจการ โดยในกลุ่มการผลิตด้านการเกษตรจะต้องให้ได้สมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากเกษตรกรรายย่อยไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ในกลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรมต้องคำนึงถึงการกระจายบุคคล ซึ่งเป็นสมาชิกจากอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และลูกจ้าง และในกลุ่มการผลิตด้านการบริการจะต้องให้ได้สมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากผู้ค้าอิสระหรือผู้ประกอบกิจการด้วยตนเองรายย่อยไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม เพื่อกระจายสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ให้ครอบคลุมกลุ่มต่างๆ ในขนาดที่เหมาะสม อันจะก่อให้เกิดความหลากหลายทางความคิด คำนึงถึงประสิทธิภาพสูงสุด และไม่ใหญ่โตเกินไป


== ที่มา ==
== ที่มา ==
พรรณราย ขันธกิจ. การวางยุทธวิธี และกระบวนการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จนถึงการจัดทำร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เอกสารผลงานลำดับที่ 1 เพื่อเสนอพิจารณาให้ดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 10 (ชช.) ที่ปรึกษากลุ่มงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรุงเทพฯ 2543.
   
   
พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548
พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548
บรรทัดที่ 86: บรรทัดที่ 117:


สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : องค์กรสะท้อนปัญหา ... จากประชาสู่รัฐ. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด (มหาชน), 2552.
สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : องค์กรสะท้อนปัญหา ... จากประชาสู่รัฐ. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด (มหาชน), 2552.


== ดูเพิ่มเติม ==
== ดูเพิ่มเติม ==
บรรทัดที่ 95: บรรทัดที่ 125:
<references/>
<references/>
[[หมวดหมู่:องค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]
[[หมวดหมู่:องค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]
[[หมวดหมู่:วัชรา ไชยสาร]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:49, 5 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง วัชรา ไชยสาร


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ พรรณราย ขันธกิจ


องค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

เนื่องจากสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็นองค์กรการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วน ดังนั้น มาตรา 5 แห่งพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 กำหนดให้สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ประกอบด้วย สมาชิกจำนวน 99 คน ซึ่งได้รับเลือกจากบุคคลที่เป็นตัวแทนองค์กรของกลุ่มในภาคเศรษฐกิจ และกลุ่มในภาคสังคม ฐานทรัพยากร และผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งเป็นกลุ่มตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 ตามจำนวนที่กำหนดไว้ในบัญชีท้ายพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543[1] ดังนี้

1. กลุ่มในภาคเศรษฐกิจ จำนวน 50 คน
ประกอบด้วยผู้แทนจากภาคการผลิตหลักของประเทศ ได้แก่
     1. การผลิตด้านการเกษตร จำนวน 16 คน
     2. การผลิตด้านการอุตสาหกรรม จำนวน 17 คน
     3. การผลิตด้านการบริการ จำนวน 17 คน
2. กลุ่มในภาคสังคม ฐานทรัพยากร และผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 49 คน
      กลุ่มในภาคสังคม จำนวน 19 คน
     (1) การพัฒนาชุมชน จำนวน 2 คน
     (2) การสาธารณสุข จำนวน 2 คน
     (3) การศึกษา ศิลปะ วัฒนธรรมและศาสนา จำนวน 4 คน
     (4) การพัฒนาและสงเคราะห์คนพิการ จำนวน 2 คน
     (5) การพัฒนาเด็ก เยาวชน สตรีและผู้สูงอายุ จำนวน 4 คน
     (6) การพัฒนาแรงงาน จำนวน 4 คน
     (7) การคุ้มครองผู้บริโภค จำนวน 1 คน
     กลุ่มในภาคฐานทรัพยากร จำนวน 16 คน
     (8) ฐานทรัพยากร เช่น ที่ดิน ป่าไม้ แหล่งน้ำ ลุ่มน้ำทะเล อากาศ หรือความหลากหลายทางชีวภาพ จำนวน 10 คน
     (9) การพัฒนาระบบการเกษตร จำนวน 4 คน
     (10) การพัฒนาระบบการอุตสาหกรรม จำนวน 1 คน
     (11) การพัฒนาระบบการบริการ จำนวน 1 คน
     กลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 14 คน


ภาพที่ 1 แสดงองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ที่มาของการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ปี พ.ศ. 2543 ได้ปรับเปลี่ยนองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ หลายครั้งและหลายรูปแบบ โดยหากพิจารณากันอย่างถ่องแท้แล้ว จะเห็นว่าอยู่ในโครงสร้างเดียวกันตั้งแต่ร่างพระราชบัญญัติฯ “ฉบับต้นแบบ” และ “ฉบับพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ” โดยโครงสร้างการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ

มีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ 1) ภาคอาชีพและกิจกรรม 2) ภาคพื้นที่ และ 3) ภาคความรู้และภูมิปัญญา

ทั้งนี้ สาระสำคัญเกี่ยวกับการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ ของพระราชบัญญัติฯ “ฉบับต้นแบบ” และ “ฉบับพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ” สรุปได้ดังนี้

(1) ร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ “ฉบับต้นแบบ”

การพิจารณาองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ จากเจตนารมณ์ วิสัยทัศน์ และแนวความคิดที่สมาชิกมาจากองค์ประกอบหลัก 3 ส่วน คือ 1) ภาคอาชีพและกิจกรรม 2) ภาคพื้นที่ และ 3) ภาคความรู้และภูมิปัญญา จำนวน 100 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสะท้อนสภาพความเห็นและความต้องการในการกำหนดนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมร่วมกับรัฐ และสะท้อนปัญหาเศรษฐกิจและสังคมจาก 3 ส่วน คือ

1) จากผู้อยู่ในพื้นที่ซึ่งจะสะท้อนปัญหาเชิงทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และปัญหาทางสังคมอย่างชัดเจน

2) จากผู้อยู่ในอาชีพและกิจกรรม จะสะท้อนปัญหาทางเศรษฐกิจในเชิงปฏิบัติการ และ

3) จากกลุ่มผู้ทรงความรู้และภูมิปัญญา ซึ่งกลุ่มนี้จะทำให้การมองภาพในลักษณะแยกส่วนได้หันกลับมาพิจารณาอย่างเป็นองค์รวม

หลักในการกำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ ดังกล่าว มีความครบถ้วนตรงตามเจตนารมณ์ คือ หลากหลายและครอบคลุม สามารถสะท้อนความคิดเห็นและปัญหาได้ แต่หลังจากการหารือในแนวกว้างและลึก แล้วกลับมาวิเคราะห์อีกครั้ง สรุปได้ว่า แนวความคิดนี้ครอบคลุมแต่อาจไม่ครบถ้วน เพราะมีความซ้อนทับ (Over Lap) กันในระหว่าง 3 กลุ่ม กล่าวคือ การสรรหามาจาก 3 กลุ่มนี้ อาจจะได้บุคคลในอาชีพและประสบการณ์เดียว พื้นที่เดียวกันก็ได้ ซึ่งจะทำให้ความหลากหลายของการสะท้อนปัญหาลดลง และการกำหนดผู้แทนอาชีพยังไม่ได้ยึดหลักเกณฑ์สากลที่จะสามารถใช้อธิบายความหลากหลาย ครอบคลุม และครบถ้วน ทางเศรษฐกิจและสังคมได้ การปรับเปลี่ยนจึงเกิดขึ้นใน “ร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ ของรัฐบาล” และ “ร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ ฉบับสภาผู้แทนราษฎร” ซึ่งอาชีพและกิจกรรมทางสังคมได้ปรากฎชัดเจนและลงลึก แต่ขาดการพิจาณาในเชิงภาคพื้นที่ และความรู้และภูมิปัญญา ซึ่งในการพิจารณาในคณะกรรมาธิการของวุฒิสภาก็ได้ปรับปรุงเพื่อแก้ไขปัญหาความทับซ้อน

(2) พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาฯ พ.ศ. 2543 ได้กำหนดองค์ประกอบของสภาที่ปรึกษาฯ

ใน 2 ส่วน ไว้อย่างชัดเจน คือ ส่วนของภาคเศรษฐกิจ ซึ่งหมายถึงผู้แทนภาคการผลิต และผู้แทนภาค กลุ่มในภาคสังคม ฐานทรัพยากร และผู้ทรงความรู้และปัญญา โดยผู้แทนของทั้งสองภาคได้กำหนดให้ครอบคลุมเชิงพื้นที่อย่างหลวม ๆ ครอบคลุมเชิงลึกในภาคเศรษฐกิจ (ภาคการผลิต) คือ ทั้งในส่วนของแรงงานขนาดการผลิต เป็นต้น[2]

ทั้งนี้ การกำหนดจำนวนของสมาชิกสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติทั้งในภาพรวม และในแต่ละกลุ่มนั้น ในการดำเนินการสรรหาสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ กฎหมายได้กำหนดให้ต้องคำนึงถึงการกระจายบุคคลซึ่งเป็นตัวแทนไปตามภาค อาชีพ เพศ และขนาดของกิจการ โดยในกลุ่มการผลิตด้านการเกษตรจะต้องให้ได้สมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากเกษตรกรรายย่อยไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ในกลุ่มการผลิตด้านการอุตสาหกรรมต้องคำนึงถึงการกระจายบุคคล ซึ่งเป็นสมาชิกจากอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ อุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม และลูกจ้าง และในกลุ่มการผลิตด้านการบริการจะต้องให้ได้สมาชิกซึ่งเป็นตัวแทนจากผู้ค้าอิสระหรือผู้ประกอบกิจการด้วยตนเองรายย่อยไม่น้อยกว่าหนึ่งในสาม เพื่อกระจายสมาชิกสภาที่ปรึกษาฯ ให้ครอบคลุมกลุ่มต่างๆ ในขนาดที่เหมาะสม อันจะก่อให้เกิดความหลากหลายทางความคิด คำนึงถึงประสิทธิภาพสูงสุด และไม่ใหญ่โตเกินไป

ที่มา

พรรณราย ขันธกิจ. การวางยุทธวิธี และกระบวนการจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จนถึงการจัดทำร่างพระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เอกสารผลงานลำดับที่ 1 เพื่อเสนอพิจารณาให้ดำรงตำแหน่ง เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 10 (ชช.) ที่ปรึกษากลุ่มงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรุงเทพฯ 2543.

พรรณราย ขันธกิจ. บทบาทและหน้าที่ขององค์กรสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า, 2548

พรรณราย ขันธกิจ. สารานุกรมสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. นนทบุรี : สถาบัน พระปกเกล้า , 2552.

สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : องค์กรสะท้อนปัญหา ... จากประชาสู่รัฐ. กรุงเทพฯ : บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด (มหาชน), 2552.

ดูเพิ่มเติม

www.nesac.go.th/

อ้างอิง

  1. พระราชบัญญัติสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2543 มาตรา 5.
  2. สำนักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. กรุงเทพฯ : เพชรรุ่งการพิมพ์ จำกัด, 2544. หน้า 46 – 47.