ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้มีอิทธิพล"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
---- | ---- | ||
'''ผู้มีอิทธิพล''' หมายถึง ผู้มีอำนาจในด้านที่ไม่เป็นทางการและเป็นผู้ที่มีความสามารถให้ผู้อื่นปฏิบัติตามโดยการโน้มน้าวชักจูง เช่น อำนาจบารมีที่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน ด้วยพฤติกรรมความเชื่อ หรือบุคลิกภาพทางสังคมที่สอดรับกับวัฒนธรรมของแต่ละสังคม เช่น ความเป็นนักเลง ใจถึงพึ่งได้ พูดจริงทำใจริง กล้าใช้ความรุนแรง มีฐานะทางเศรษฐกิจในระดับแนวหน้าของชุมชน และมีสายสัมพันธ์ที่ดีกับกลไกภายนอกชุมชน เช่น ข้าราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ ผู้มีอิทธิพลจะสามารถเป็นที่พึ่งของชุมชนได้ทั้งในแง่สังคม เศรษฐกิจ จิตวิญญาณ | '''ผู้มีอิทธิพล''' หมายถึง ผู้มีอำนาจในด้านที่ไม่เป็นทางการและเป็นผู้ที่มีความสามารถให้ผู้อื่นปฏิบัติตามโดยการโน้มน้าวชักจูง เช่น อำนาจบารมีที่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน ด้วยพฤติกรรมความเชื่อ หรือบุคลิกภาพทางสังคมที่สอดรับกับวัฒนธรรมของแต่ละสังคม เช่น ความเป็นนักเลง ใจถึงพึ่งได้ พูดจริงทำใจริง กล้าใช้ความรุนแรง มีฐานะทางเศรษฐกิจในระดับแนวหน้าของชุมชน และมีสายสัมพันธ์ที่ดีกับกลไกภายนอกชุมชน เช่น ข้าราชการ [[นักการเมือง]] นักธุรกิจ ผู้มีอิทธิพลจะสามารถเป็นที่พึ่งของชุมชนได้ทั้งในแง่สังคม เศรษฐกิจ จิตวิญญาณ และมี[[บทบาททางการเมือง]]สูงในระดับชุมชน | ||
อำนาจที่ไม่เป็นทางการของผู้มีอิทธิพลจะมีพื้นที่ขอบเขตอำนาจในปริมณฑลหนึ่ง ๆ เท่านั้น พฤติกรรมการใช้อำนาจของผู้มีอิทธิพล มักจะกระทำการใด ๆ | อำนาจที่ไม่เป็นทางการของผู้มีอิทธิพลจะมีพื้นที่ขอบเขตอำนาจในปริมณฑลหนึ่ง ๆ เท่านั้น พฤติกรรมการใช้อำนาจของผู้มีอิทธิพล มักจะกระทำการใด ๆ ที่ผิด[[กฎหมาย]]หรืออยู่เหนือกฎหมายเพื่อประโยชน์ของตนเองทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง โดยอาศัยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อยู่ภายใต้[[ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ]]ที่ไม่เท่าเทียมให้การกระทำการแทนหรือใช้จ้างงาน สนับสนุน | ||
ในบางกรณีพฤติกรรมการใช้อำนาจในด้านไม่เป็นทางการของผู้มีอิทธิพล ยังมีอำนาจเหนืออำนาจที่เป็นทางการได้ด้วย เช่น | ในบางกรณีพฤติกรรมการใช้อำนาจในด้านไม่เป็นทางการของผู้มีอิทธิพล ยังมีอำนาจเหนืออำนาจที่เป็นทางการได้ด้วย เช่น ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในระดับ[[จังหวัด]]ซึ่งถือว่าเป็นผู้มีอำนาจที่เป็นทาง ก่อนที่จะเข้าบริหารราชในจังหวัดการจะต้องเข้าไปพบปะแนะนำตัวต่อผู้มีอิทธิพล หรือในฤดูกาลเลือกตั้งบรรดา[[พรรคการเมือง]]ที่จะส่งตัวแทนลงสมัครรับเลือกตั้งจะขอความช่วยเหลือผู้มีอิทธิพลให้เป็น[[หัวคะแนน]] หรือเชิญชวนให้ผู้มีอิทธิพลสงสัมครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมือง หรือขอให้ผู้มีอิทธิพลสนับสนุนบุคคลในเครือข่าย เช่น ภรรยา ลูกหลาน ญาติ คนใกล้ชิด ลงสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมือง เนื่องจากโอกาสและหลักประกันที่จะได้รับการเลือกตั้งมีสูงถ้าได้รับการสนับสนุนจากผู้มีอิทธิพล | ||
พฤติกรรมการใช้อำนาจที่ไม่เป็นทางการดังกล่าวมักถูกมองว่าเป็นอุปสรรคและบ่อนทำลายระบอบ[[ประชาธิปไตย]] เนื่องจากอำนาจทางการเมืองที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของผู้มีอิทธิพลไม่ได้ดำเนินการตามเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง | |||
[[category:กิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]] | [[category:กิจกรรมทางการเมืองที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตั้ง]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:50, 6 กันยายน 2553
ผู้เรียบเรียง โอฬาร ถิ่นบางเตียว และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ผู้มีอิทธิพล หมายถึง ผู้มีอำนาจในด้านที่ไม่เป็นทางการและเป็นผู้ที่มีความสามารถให้ผู้อื่นปฏิบัติตามโดยการโน้มน้าวชักจูง เช่น อำนาจบารมีที่ได้รับการยอมรับจากคนในชุมชน ด้วยพฤติกรรมความเชื่อ หรือบุคลิกภาพทางสังคมที่สอดรับกับวัฒนธรรมของแต่ละสังคม เช่น ความเป็นนักเลง ใจถึงพึ่งได้ พูดจริงทำใจริง กล้าใช้ความรุนแรง มีฐานะทางเศรษฐกิจในระดับแนวหน้าของชุมชน และมีสายสัมพันธ์ที่ดีกับกลไกภายนอกชุมชน เช่น ข้าราชการ นักการเมือง นักธุรกิจ ผู้มีอิทธิพลจะสามารถเป็นที่พึ่งของชุมชนได้ทั้งในแง่สังคม เศรษฐกิจ จิตวิญญาณ และมีบทบาททางการเมืองสูงในระดับชุมชน
อำนาจที่ไม่เป็นทางการของผู้มีอิทธิพลจะมีพื้นที่ขอบเขตอำนาจในปริมณฑลหนึ่ง ๆ เท่านั้น พฤติกรรมการใช้อำนาจของผู้มีอิทธิพล มักจะกระทำการใด ๆ ที่ผิดกฎหมายหรืออยู่เหนือกฎหมายเพื่อประโยชน์ของตนเองทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง โดยอาศัยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อยู่ภายใต้ความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ไม่เท่าเทียมให้การกระทำการแทนหรือใช้จ้างงาน สนับสนุน
ในบางกรณีพฤติกรรมการใช้อำนาจในด้านไม่เป็นทางการของผู้มีอิทธิพล ยังมีอำนาจเหนืออำนาจที่เป็นทางการได้ด้วย เช่น ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในระดับจังหวัดซึ่งถือว่าเป็นผู้มีอำนาจที่เป็นทาง ก่อนที่จะเข้าบริหารราชในจังหวัดการจะต้องเข้าไปพบปะแนะนำตัวต่อผู้มีอิทธิพล หรือในฤดูกาลเลือกตั้งบรรดาพรรคการเมืองที่จะส่งตัวแทนลงสมัครรับเลือกตั้งจะขอความช่วยเหลือผู้มีอิทธิพลให้เป็นหัวคะแนน หรือเชิญชวนให้ผู้มีอิทธิพลสงสัมครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมือง หรือขอให้ผู้มีอิทธิพลสนับสนุนบุคคลในเครือข่าย เช่น ภรรยา ลูกหลาน ญาติ คนใกล้ชิด ลงสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมือง เนื่องจากโอกาสและหลักประกันที่จะได้รับการเลือกตั้งมีสูงถ้าได้รับการสนับสนุนจากผู้มีอิทธิพล
พฤติกรรมการใช้อำนาจที่ไม่เป็นทางการดังกล่าวมักถูกมองว่าเป็นอุปสรรคและบ่อนทำลายระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากอำนาจทางการเมืองที่อยู่ภายใต้อิทธิพลของผู้มีอิทธิพลไม่ได้ดำเนินการตามเจตนารมณ์และความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง