ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แปลก พิบูลสงคราม"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้เรียบเรียง''' ชนิดา จรรโลงศิริชัย '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจ...
 
Panu (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
[[ภาพ:แปลก_พิบูลสงคราม.JPG]]
[[ภาพ:แปลก_พิบูลสงคราม.JPG]]


นายกรัฐมนตรีคนที่ ๓ ของประเทศไทยที่มีเวลาดำรงตำแหน่ง รวมกันมากที่สุดของประเทศไทย เป็นระยะเวลา ๑๔ ปี ๑๑ เดือน ๑๘ วัน รวม สมัย รวมทั้งมีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยะประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึก      รักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง   ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย รวมทั้งเป็นผู้เปลี่ยนชื่อจาก "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ท่านผู้นั้นคือ '''จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม''' หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า '''"จอมพล ป."''' ()  
[[นายกรัฐมนตรี]]คนที่ 3 ของประเทศไทยที่มีเวลาดำรงตำแหน่ง รวมกันมากที่สุดของประเทศไทย เป็นระยะเวลา 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย รวมทั้งมีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยะประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "[[รัฐนิยม]]" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย รวมทั้งเป็นผู้เปลี่ยนชื่อจาก "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ท่านผู้นั้นคือ '''จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม''' หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า '''"[[จอมพล ป.]]"'''<ref>'''จอมพล ป. พิบูลสงคราม,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 10.30 นาฬิกา
</ref>


==ประวัติ==
==ประวัติ==


จอมพล ป. พิบูลสงคราม เดิมชื่อ '''แปลก ขีตตะสังคะ''' เกิดเมื่อวันที่ ๑๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๔๐ ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๐๗ เป็นบุตรนายขีด และนางสำอางค์ ขีตตะสังคะ ภริยาคือ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี")
จอมพล ป. พิบูลสงคราม เดิมชื่อ '''แปลก ขีตตะสังคะ''' เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 เป็นบุตรนายขีด และนางสำอางค์ ขีตตะสังคะ ภริยาคือ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี")


จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนกลาโหมอุทิศ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่งสำเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๙ ขณะอายุ ๑๙ ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้าประจำการที่กองพลที่ จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้าโรงเรียนเสนาธิการได้เป็นที่ และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ประเทศฝรั่งเศส จนสำเร็จการศึกษา และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มีบรรดาศักดิ์และราชทินนาม ที่ '''"หลวงพิบูลสงคราม"'''
จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนกลาโหมอุทิศ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่งสำเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2459 ขณะอายุ 19 ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้าประจำการที่กองพลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้าโรงเรียนเสนาธิการได้เป็นที่ 1 และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ประเทศฝรั่งเศส จนสำเร็จการศึกษา และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มีบรรดาศักดิ์และราชทินนาม ที่ '''"หลวงพิบูลสงคราม"'''


เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕ พันตรี หลวงพิบูลสงครามได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร ในเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยได้เป็นกำลังสำคัญในสายทหาร และเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๗ ท่านได้เลื่อนยศเป็นพันเอก และดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารบก
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 พันตรี หลวงพิบูลสงครามได้เข้าร่วมกับ[[คณะราษฎร]] ในเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยได้เป็นกำลังสำคัญในสายทหาร และเมื่อปี พ.ศ. 2477 ท่านได้เลื่อนยศเป็นพันเอก และดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารบก


ครั้นเมื่อ วันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๘๑ ท่านได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อจากพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา โดยการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และในช่วงที่ดำรงตำแหน่งก็ได้เลื่อนยศเป็นพลตรี และเมื่อวันที่ ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๘๔ ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลตรีหลวงพิบูลสงคราม เป็นจอมพล แปลก พิบูลสงคราม (โดยได้ยกเลิกราชทินนามแบบเก่า) ()
ครั้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ท่านได้ดำรงตำแหน่ง[[นายกรัฐมนตรี]] ต่อจาก[[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา]] โดยการลงมติของสมาชิก[[สภาผู้แทนราษฎร]] และในช่วงที่ดำรงตำแหน่งก็ได้เลื่อนยศเป็นพลตรี และเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2484 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลตรีหลวงพิบูลสงคราม เป็นจอมพล แปลก พิบูลสงคราม (โดยได้ยกเลิกราชทินนามแบบเก่า)<ref>'''ราชกิจจานุเบกษา,''' พระบรมราชโองการ ประกาศ พระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ และจอมพลอากาศ (นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม), เล่ม 58, ตอน 0ก, 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2484, หน้า 981</ref>


==บทบาทในทางการเมือง()==
==บทบาทในทางการเมือง<ref>'''ชีวิตและบทบาททางการเมือง,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 11.30 นาฬิกา</ref>==


จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า แปลก เนื่องจากเป็นบุคคลที่มีหูทั้งสองข้างอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงถูกตั้งชื่อว่า แปลก นับตั้งแต่เกิด เมื่อขึ้นดำรงตำแหน่งสำคัญ ไม่ต้องการให้บุคคลอื่นเรียกชื่อตัวเองเช่นนั้น จึงใช้เป็นตัวอักษรย่อเป็น ป. นับตั้งแต่นั้น
จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า แปลก เนื่องจากเป็นบุคคลที่มีหูทั้งสองข้างอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงถูกตั้งชื่อว่า แปลก นับตั้งแต่เกิด เมื่อขึ้นดำรงตำแหน่งสำคัญ ไม่ต้องการให้บุคคลอื่นเรียกชื่อตัวเองเช่นนั้น จึงใช้เป็นตัวอักษรย่อเป็น ป. นับตั้งแต่นั้น


จอมพล ป. เป็นหนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ โดยเป็นนายทหารรุ่นน้อง พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก มีบทบาทสำคัญเริ่มจากเป็นแกนนำในการรัฐประหาร ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๖ และในการปราบกบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๖ จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อมา
จอมพล ป. เป็นหนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยเป็นนายทหารรุ่นน้อง พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา 2 ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก มีบทบาทสำคัญเริ่มจากเป็นแกนนำในการรัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 และในการปราบ[[กบฏบวรเดช]]เมื่อปี พ.ศ. 2476 จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อมา


นับแต่จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในพ.ศ. ๒๔๘๑ ได้มีนโยบายในการสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมายคุ้มครอง อุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคำขวัญว่า "ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบางอย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะแตน และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักดิ์ และยศข้าราชการพลเรือน มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "สยาม" เป็น "ไทย" ในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒ และเปลี่ยนวันขึ้น ปีใหม่จากวันที่ เมษายน เป็นวันที่ มกราคมของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยเริ่มเปลี่ยนในปี พ.ศ. ๒๔๘๔ ทำให้ ปี พ.ศ. ๒๔๘๓ มีเพียง เดือน มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ เพื่อจัดระเบียบการดำเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยะประเทศ โดยประกาศ   รัฐนิยมจำนวน ๑๒ ฉบับ() และสั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า โดยมีคำขวัญในสมัยนั้นว่า "มาลานำไทยสู่มหาอำนาจ" หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตำรวจจับและปรับ และยังวางระเบียบการใช้คำแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน ท่าน เรา มีคำสั่งให้ข้าราชการกล่าวคำว่า "สวัสดี" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซ้ำกันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำมากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น
นับแต่จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในพ.ศ. 2481 ได้มีนโยบายในการสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมายคุ้มครอง อุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคำขวัญว่า "[[ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ]]" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบางอย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะแตน และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักดิ์ และยศข้าราชการพลเรือน มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "[[สยาม]]" เป็น "ไทย" ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และเปลี่ยนวันขึ้น ปีใหม่จากวันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยเริ่มเปลี่ยนในปี พ.ศ. 2484 ทำให้ ปี พ.ศ. 2483 มีเพียง 9 เดือน มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้ง[[สภาวัฒนธรรมแห่งชาติ]]ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อจัดระเบียบการดำเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยะประเทศ โดยประกาศ[[รัฐนิยม]]จำนวน 12 ฉบับ<ref>'''รัฐนิยม,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki/ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 เวลา 14.00 นาฬิกา</ref> และสั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า โดยมีคำขวัญในสมัยนั้นว่า "มาลานำไทยสู่มหาอำนาจ" หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตำรวจจับและปรับ และยังวางระเบียบการใช้คำแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน ท่าน เรา มีคำสั่งให้ข้าราชการกล่าวคำว่า "[[สวัสดี]]" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซ้ำกันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำมากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น


เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๒มีการก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในยุค จอมพล ป.พิบูลสงคราม ออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์คือ นายสิทธิเดช แสงหิรัญ ด้วยเหตุผลที่ว่า อนุสาวรีย์นี้เป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญทั้งมวล เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็นับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงตั้งพระราชหฤทัยจะทำให้ถนนราชดำเนินกลางเป็นที่เชิดชูยิ่ง มีพิธีเปิดเมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๓ โดยจอมพล ป.พิบูลสงครามกล่าวในพิธีเปิดอนุสาวรีย์ว่า "อนุสาวรีย์นี้จะเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญก้าวหน้าทั้งมวล เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมืองก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ถนนราชดำเนินซึ่งเป็นแนวของอนุสาวรีย์ ก็กำลังสร้างอาคารให้สง่างามเป็นที่เชิดชูเกียรติของประเทศ และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ที่ทรงตั้งพระราชหฤทัย จะทำให้ถนนนี้เป็นที่ เชิดชูยิ่ง"()
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 มีการก่อสร้าง[[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]]ในยุค จอมพล ป.พิบูลสงคราม ออกแบบโดย[[ปุ่ม มาลากุล|หม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล]] ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์คือ นายสิทธิเดช แสงหิรัญ ด้วยเหตุผลที่ว่า อนุสาวรีย์นี้เป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญทั้งมวล เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็นับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงตั้งพระราชหฤทัยจะทำให้ถนนราชดำเนินกลางเป็นที่เชิดชูยิ่ง มีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2483 โดยจอมพล ป.พิบูลสงครามกล่าวในพิธีเปิดอนุสาวรีย์ว่า "อนุสาวรีย์นี้จะเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญก้าวหน้าทั้งมวล เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมืองก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ถนนราชดำเนินซึ่งเป็นแนวของอนุสาวรีย์ ก็กำลังสร้างอาคารให้สง่างามเป็นที่เชิดชูเกียรติของประเทศ และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ที่ทรงตั้งพระราชหฤทัย จะทำให้ถนนนี้เป็นที่ เชิดชูยิ่ง"<ref>'''อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://elecpit.rmutl.ac.th/index.php?topic=852.0 วันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 เวลา 14.10 นาฬิกา</ref>
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จากปัญหาเรื่องการใช้แม่น้ำโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึ่งอยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตกลงเรื่องการใช้ร่องน้ำลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๓ ฝรั่งเศสส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับไทยจึงเริ่มขึ้น ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่งทหารไทยเข้าไปในอินโดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไปลงนามอนุสัญญาสันติภาพที่กรุงโตเกียว (Tokyo Convention) เมื่อวันที่ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๔ ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืน รวมทั้งทางใต้ตรงข้ามปากเซ คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๐ กลับคืนมาด้วย และในวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๔ พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ ปีต่อมา จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๕
 
ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จากปัญหาเรื่องการใช้แม่น้ำโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึ่งอยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตกลงเรื่องการใช้ร่องน้ำลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2483 ฝรั่งเศสส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับไทยจึงเริ่มขึ้น ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่งทหารไทยเข้าไปในอินโดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไปลงนามอนุสัญญาสันติภาพที่กรุงโตเกียว (Tokyo Convention) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืน รวมทั้งทางใต้ตรงข้ามปากเซ คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ. 2450 กลับคืนมาด้วย และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 [[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา]] ได้เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้าง[[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]] เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ 1 ปีต่อมา จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485


จอมพล ป. ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและหน่วยงานสำคัญ ๆ ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความเฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อำนาจยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระวงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสำคัญก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น
จอมพล ป. ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและหน่วยงานสำคัญ ๆ ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความเฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อำนาจยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระวงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสำคัญก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น


ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จอมพล ป. ในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการประคับประคองประเทศชาติ ให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้หลายประการ โดยเป็นจอมพลคนแรกของประเทศไทยอีกด้วย เมื่อขอพระราชทานยศให้กับตนเอง ทั้งนี้มีการบอกเล่ากันว่า เพราะท่านต้องการทำสงครามจิตวิทยากับทางกองทัพญี่ปุ่น และเมื่อหลังสงครามโลกแล้ว ท่านต้องติดคุกในฐานะอาชญากรสงคราม และยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด โดยกลับไปอยู่บ้านที่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โดยทำไร่ถั่วฝักยาว แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. ๒๔๙๑ ท่านก็ได้หวนกลับมาคืนสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทำรัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ซึ่งคราวนี้ดำรงตำแหน่งยาวนานถึง ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น กบฏเสนาธิการ, กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคยยึดอำนาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาว่า "นายกฯตลอดกาล"
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จอมพล ป. ในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการประคับประคองประเทศชาติ ให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้หลายประการ โดยเป็นจอมพลคนแรกของประเทศไทยอีกด้วย เมื่อขอพระราชทานยศให้กับตนเอง ทั้งนี้มีการบอกเล่ากันว่า เพราะท่านต้องการทำสงครามจิตวิทยากับทางกองทัพญี่ปุ่น และเมื่อหลังสงครามโลกแล้ว ท่านต้องติดคุกในฐานะอาชญากรสงคราม และยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด โดยกลับไปอยู่บ้านที่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โดยทำไร่ถั่วฝักยาว แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2491 ท่านก็ได้หวนกลับมาคืนสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทำรัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ซึ่งคราวนี้ดำรงตำแหน่งยาวนานถึง 9 ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น [[กบฏเสนาธิการ]], [[กบฏวังหลวง]], [[กบฏแมนฮัตตัน]] รวมทั้งยังเคยยึดอำนาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาว่า "[[นายกฯ ตลอดกาล]]"


จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับอีกฉายาว่า "จอมพลกระดูกเหล็ก" เพราะมีชีวิตทางการเมืองอย่างเหลือเชื่อ เคยถูกลอบสังหารมาแล้วถึง ครั้ง แต่ก็รอดชีวิตมาได้ทุกครั้ง แม้กระทั่งในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน ที่ท่านถูกจี้ลงเรือศรีอยุธยา ถูกทิ้งระเบิดผ่านเตียงที่ท่านเคยนอนอยู่อย่างเฉียดฉิว ทั้ง ๆ ที่เหตุการณ์ครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิตจำนวนมากนับร้อย จนกระทั่งถึงวาระสุดท้ายในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท่าน คือ ในเย็นวันที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๐๐ เมื่อถูกพลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายทหารรุ่นน้องอีกคนหนึ่งที่ท่านไว้ใจและมอบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกให้ กระทำการรัฐประหาร ซึ่งท่านได้หลบหนีไปด้วยรถยนต์ส่วนตัวกับผู้ติดตามเพียง คน โดยผ่านไปทางประเทศกัมพูชา ก่อนจะลี้ภัยทางการเมืองที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง ณ ที่นั่น ท่านและครอบครัวได้รับการต้อนรับอย่างดี ทั้งนี้เพราะทางญี่ปุ่นถือว่าเป็นท่านเป็นผู้ที่บุญคุณต่อญีปุ่น เพราะเป็นผู้ยินยอมให้ทหารญี่ปุ่นผ่านเข้าประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองด้วยดี ไม่ต้องมีการสู้รบยืดเยื้ออันรังแต่จะทำให้มีแต่ความสูญเสียด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซึ่งท่านก็ได้พำนักอยู่ที่นั่นจนตราบถึงแก่อนิจกรรม
จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับอีกฉายาว่า "จอมพลกระดูกเหล็ก" เพราะมีชีวิตทางการเมืองอย่างเหลือเชื่อ เคยถูกลอบสังหารมาแล้วถึง 3 ครั้ง แต่ก็รอดชีวิตมาได้ทุกครั้ง แม้กระทั่งในเหตุการณ์[[กบฏแมนฮัตตัน]] ที่ท่านถูกจี้ลงเรือศรีอยุธยา ถูกทิ้งระเบิดผ่านเตียงที่ท่านเคยนอนอยู่อย่างเฉียดฉิว ทั้ง ๆ ที่เหตุการณ์ครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิตจำนวนมากนับร้อย จนกระทั่งถึงวาระสุดท้ายในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท่าน คือ ในเย็นวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อถูก[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|พลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] นายทหารรุ่นน้องอีกคนหนึ่งที่ท่านไว้ใจและมอบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกให้กระทำการ[[รัฐประหาร]] ซึ่งท่านได้หลบหนีไปด้วยรถยนต์ส่วนตัวกับผู้ติดตามเพียง 2 คน โดยผ่านไปทางประเทศกัมพูชา ก่อนจะลี้ภัยทางการเมืองที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง ณ ที่นั่น ท่านและครอบครัวได้รับการต้อนรับอย่างดี ทั้งนี้เพราะทางญี่ปุ่นถือว่าเป็นท่านเป็นผู้ที่บุญคุณต่อญี่ปุ่น เพราะเป็นผู้ยินยอมให้ทหารญี่ปุ่นผ่านเข้าประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองด้วยดี ไม่ต้องมีการสู้รบยืดเยื้ออันรังแต่จะทำให้มีแต่ความสูญเสียด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซึ่งท่านก็ได้พำนักอยู่ที่นั่นจนตราบถึงแก่อนิจกรรม


==ตำแหน่งทางราชการที่สำคัญ ฯพณฯ เคยดำรงตำแหน่ง()==
==ตำแหน่งทางราชการที่สำคัญ ฯพณฯ เคยดำรงตำแหน่ง<ref>'''ตำแหน่งราชการที่สำคัญ,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.rta.mi.th/22140u/know/genplake.htm วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 15.00 นาฬิกา</ref>==


๒๕ กันยายน ๒๔๗๗ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
25 กันยายน 2477 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม


๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๔๗๗ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรองผู้บัญชาการทหารบก
12 กุมภาพันธ์ 2477 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรองผู้บัญชาการทหารบก


มกราคม ๒๔๘๑ เป็นผู้บัญชาการทหารบก
4 มกราคม 2481 เป็นผู้บัญชาการทหารบก


๑๖ ธันวาคม ๒๔๘๑ เป็นนายกรัฐมนตรี
16 ธันวาคม 2481 เป็นนายกรัฐมนตรี


๒๐ ธันวาคม ๒๔๘๑ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
20 ธันวาคม 2481 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย


๑๔ กรกฎาคม ๒๔๘๒ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ
14 กรกฎาคม 2482 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ


๑๓ พฤศจิกายน ๒๔๘๓ เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารบก
13 พฤศจิกายน 2483 เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารบก


๒๗ สิงหาคม ๒๔๘๔ เป็นผู้บัญชาการทหารเรือพิเศษ และผู้บัญชาการทหารอากาศพิเศษ
27 สิงหาคม 2484 เป็นผู้บัญชาการทหารเรือพิเศษ และผู้บัญชาการทหารอากาศพิเศษ


๑๘ พฤศจิกายน ๒๔๘๔ เป็นผู้บัญชาการทหารบก
18 พฤศจิกายน 2484 เป็นผู้บัญชาการทหารบก


๑๕ ธันวาคม ๒๔๘๔ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
15 ธันวาคม 2484 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ


๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๕ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
16 กุมภาพันธ์ 2485 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ


มีนาคม ๒๔๘๕ เป็นนายกรัฐมนตรี
7 มีนาคม 2485 เป็นนายกรัฐมนตรี


๑๐ มีนาคม ๒๔๘๕ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
10 มีนาคม 2485 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ


๒๕ พฤศจิกายน ๒๔๙๐ เป็นผู้บัญชาการทหารบก
25 พฤศจิกายน 2490 เป็นผู้บัญชาการทหารบก


เมษายน ๒๔๙๑ เป็นนายกรัฐมนตรี
8 เมษายน 2491 เป็นนายกรัฐมนตรี


๑๕ เมษายน ๒๔๙๑ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
15 เมษายน 2491 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย


๒๕ มิถุนายน ๒๔๙๒ เป็นนายกรัฐมนตรี
25 มิถุนายน 2492 เป็นนายกรัฐมนตรี


๒๘ มิถุนายน ๒๔๙๒ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
28 มิถุนายน 2492 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ


๑๓ ตุลาคม ๒๔๙๒ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
13 ตุลาคม 2492 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ


๒๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๔ เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ชั่วคราว
29 พฤศจิกายน 2494 เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ชั่วคราว


ธันวาคม ๒๔๙๔ เป็นนายกรัฐมนตรี
6 ธันวาคม 2494 เป็นนายกรัฐมนตรี


ธันวาคม ๒๔๙๔ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
9 ธันวาคม 2494 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม


๒๔ มีนาคม ๒๔๙๕ เป็นนายกรัฐมนตรี
24 มีนาคม 2495 เป็นนายกรัฐมนตรี


๒๘ มีนาคม ๒๔๙๕ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
28 มีนาคม 2495 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม


กุมภาพันธ์ ๒๔๙๗ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ
4 กุมภาพันธ์ 2497 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ


๒๐ มีนาคม ๒๕๐๐ เป็นนายกรัฐมนตรี
20 มีนาคม 2500 เป็นนายกรัฐมนตรี


๑๒ กันยายน ๒๕๐๐ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
12 กันยายน 2500 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


==ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี()==
==ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี<ref>'''ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/pm_03.htm วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 14.20 นาฬิกา</ref>==


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ : ๑๖ ธันวาคม ๒๔๘๑ - มีนาคม ๒๔๘๕
สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 : 16 ธันวาคม 2481 - 6 มีนาคม 2485


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๑๐ : มีนาคม ๒๔๘๕ - สิงหาคม ๒๔๘๗
สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 10 : 7 มีนาคม 2485 - 1 สิงหาคม 2487


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๑ : เมษายน ๒๔๙๑ - ๒๔ มิถุนายน ๒๔๙๒
สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 21 : 8 เมษายน 2491 - 24 มิถุนายน 2492


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๒ : ๒๕ มิถุนายน ๒๔๙๒ - ๒๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๔
สมัยที่ 4 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 22 : 25 มิถุนายน 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๓ : ๒๙ พฤศจิกายน ๒๔๙๔ - ธันวาคม ๒๔๙๔
สมัยที่ 5 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 23 : 29 พฤศจิกายน 2494 - 6 ธันวาคม 2494


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๔ : ธันวาคม ๒๔๙๔ - ๒๓ มีนาคม ๒๔๙๕
สมัยที่ 6 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 24 : 6 ธันวาคม 2494 - 23 มีนาคม 2495


สมัยที่ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๕ : ๒๔ มีนาคม ๒๔๙๕ - ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๐
สมัยที่ 7 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 25 : 24 มีนาคม 2495 - 26 กุมภาพันธ์ 2500
 
สมัยที่ 8 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 26 : 21 มีนาคม 2500 - 16 กันยายน 2500


สมัยที่ ๘ : คณะรัฐมนตรี คณะที่ ๒๖ : ๒๑ มีนาคม ๒๕๐๐ - ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐
   
==ผลงานทางด้านการเมือง==
==ผลงานทางด้านการเมือง==


      จอมพลป. พิบูลสงครามเป็นหนึ่งในคณะราษฎร์ที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  เมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๔ และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆ คือ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีรวม ๘ สมัย นับว่า ฯพณฯ เป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งได้ยาวนานที่สุด และเป็นผู้ที่ได้ทำคุณประโยชน์ไว้ให้ประเทศชาติอย่างมาก()   อาทิ  
จอมพลป. พิบูลสงครามเป็นหนึ่งใน[[คณะราษฎร]]ที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2474 และเคยดำรงตำแหน่ง[[รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงต่างๆ คือ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]รวม 8 สมัย นับว่า ฯพณฯ เป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งได้ยาวนานที่สุด และเป็นผู้ที่ได้ทำคุณประโยชน์ไว้ให้ประเทศชาติอย่างมาก<ref>'''ผลงานด้านการเมือง,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.pbps.ac.th/tem/jompol33.htmlวันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 14.30 นาฬิกา</ref> อาทิ  


• เปลี่ยนชื่อ จากประเทศสยาม มาเป็น ประเทศไทย
• เปลี่ยนชื่อ จากประเทศสยาม มาเป็น ประเทศไทย
จัดตั้งหน่วยยุวชนทหาร และให้มีทหารหญิง
 
จัดตั้งหน่วย[[ยุวชนทหาร]] และให้มี[[ทหารหญิง]]


• ส่งเสริมให้คนไทยแต่งตัวแบบสากลนิยม
• ส่งเสริมให้คนไทยแต่งตัวแบบสากลนิยม
บรรทัดที่ 121: บรรทัดที่ 124:
• สร้างอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
• สร้างอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ


• การเรียกร้องดินแดนทางด้านอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส()
[[การเรียกร้องดินแดนทางด้านอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส]]<ref>'''ผลงานด้านการเมือง,''' (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.tsu.ac.th/coop/files/ptpopibul170607.doc วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 15.30 นาฬิกา</ref>


การปลูกฝังความนิยมไทย และการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยบางอย่าง เช่น การให้สตรีเลิกนุ่งโจงกระเบนแล้วหันมาสวมกระโปรงแทน สวมหมวกและรองเท้าก่อนออกจากบ้าน
การปลูกฝังความ[[นิยมไทย]] และการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยบางอย่าง เช่น การให้สตรีเลิกนุ่งโจงกระเบนแล้วหันมาสวมกระโปรงแทน สวมหมวกและรองเท้าก่อนออกจากบ้าน


• การตั้งชื่อผู้ชายให้มีลักษณะเข้มแข็ง ผู้หญิงให้แสดงถึงความอ่อนหวาน
• การตั้งชื่อผู้ชายให้มีลักษณะเข้มแข็ง ผู้หญิงให้แสดงถึงความอ่อนหวาน


การเชิญชวนให้ประชาชนเลิกกินหมากพลู โดยออกประกาศเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๒ มีการชี้โทษของการกินหมาก เช่นบอกว่าฟันดำเป็นสิ่งไม่เจริญตา ไม่ได้เพิ่มความงามให้แก่ใบหน้า และกลับทำให้ดูแก่เกินอายุอีกด้วย
การเชิญชวนให้ประชาชนเลิก[[กินหมากพลู]] โดยออกประกาศเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2482 มีการชี้โทษของการกินหมาก เช่นบอกว่าฟันดำเป็นสิ่งไม่เจริญตา ไม่ได้เพิ่มความงามให้แก่ใบหน้า และกลับทำให้ดูแก่เกินอายุอีกด้วย


• การมีละครและเพลงปลุกใจทั้งหลาย เช่นเพลงตื่นเถิดชาวไทย หรือต้นตระกูลไทย ที่หลวงวิจิตรวาทการเป็นผู้แต่ง
• การมีละครและเพลงปลุกใจทั้งหลาย เช่นเพลงตื่นเถิดชาวไทย หรือต้นตระกูลไทย ที่หลวงวิจิตรวาทการเป็นผู้แต่ง


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
บรรทัดที่ 137: บรรทัดที่ 140:
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==


อดุลย์ กอวัฒนา, การลาออกของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๕๗. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๘, ๑๘๖ หน้า.
อดุลย์ กอวัฒนา, '''การลาออกของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อ 24 กรกฎาคม 2457.''' กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518, 186 หน้า.


ถนอมจิต มีชื่น, จอมพล ป. พิบูลสงครามกับงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ (พ.ศ.๒๔๙๕ -๒๕๐๐) กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๑, ๑๖๖ หน้า.
ถนอมจิต มีชื่น, '''จอมพล ป. พิบูลสงครามกับงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2495 - 2500)''' กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2531, 166 หน้า.


==บรรณานุกรม==
==บรรณานุกรม==


อดุลย์ กอวัฒนา, การลาออกของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อ ๒๔ กรกฎาคม ๒๔๕๗. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๘, ๑๘๖ หน้า.
อดุลย์ กอวัฒนา, '''การลาออกของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อ 24 กรกฎาคม 2457.''' กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518, 186 หน้า.


ถนอมจิต มีชื่น, จอมพล ป. พิบูลสงครามกับงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ (พ.ศ.๒๔๙๕ -๒๕๐๐) กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๑, ๑๖๖ หน้า.
ถนอมจิต มีชื่น, '''จอมพล ป. พิบูลสงครามกับงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2495 - 2500)''' กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2531, 166 หน้า.


[[category:นายกรัฐมนตรี]]
[[category:นายกรัฐมนตรี|ปแปลก พิบูลสงคราม]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:00, 11 มกราคม 2553

ผู้เรียบเรียง ชนิดา จรรโลงศิริชัย

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร จเร พันธุ์เปรื่อง


นายกรัฐมนตรีคนที่ 3 ของประเทศไทยที่มีเวลาดำรงตำแหน่ง รวมกันมากที่สุดของประเทศไทย เป็นระยะเวลา 14 ปี 11 เดือน 18 วัน รวม 8 สมัย รวมทั้งมีนโยบายที่สำคัญคือ การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยะประเทศ มีการปลุกระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย "รัฐนิยม" หลายอย่าง ซึ่งบางอย่างได้ประกาศเป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ เช่น การรำวง ก๋วยเตี๋ยวผัดไทย รวมทั้งเป็นผู้เปลี่ยนชื่อจาก "ประเทศสยาม" เป็น "ประเทศไทย" และเป็นผู้เปลี่ยน "เพลงชาติไทย" มาเป็นเพลงที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน ท่านผู้นั้นคือ จอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ แปลก พิบูลสงคราม หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "จอมพล ป."[1]

ประวัติ

จอมพล ป. พิบูลสงคราม เดิมชื่อ แปลก ขีตตะสังคะ เกิดเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2440 ถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2507 เป็นบุตรนายขีด และนางสำอางค์ ขีตตะสังคะ ภริยาคือ ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม (เดิมนามสกุล "พันธุ์กระวี")

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เข้าศึกษาขั้นต้นที่โรงเรียนกลาโหมอุทิศ โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จังหวัดนนทบุรี จากนั้นได้เข้าเรียนในโรงเรียนนายร้อยทหารบก กระทั่งสำเร็จการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2459 ขณะอายุ 19 ปี โดยได้รับยศร้อยตรี และเข้าประจำการที่กองพลที่ 7 จังหวัดพิษณุโลก จากนั้นไม่นานได้สอบเข้าโรงเรียนเสนาธิการได้เป็นที่ 1 และเดินทางไปศึกษาต่อที่โรงเรียนเสนาธิการทหารบก ประเทศฝรั่งเศส จนสำเร็จการศึกษา และกลับมารับราชการต่อไป กระทั่งได้ยศพันตรี มีบรรดาศักดิ์และราชทินนาม ที่ "หลวงพิบูลสงคราม"

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 พันตรี หลวงพิบูลสงครามได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร ในเปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยได้เป็นกำลังสำคัญในสายทหาร และเมื่อปี พ.ศ. 2477 ท่านได้เลื่อนยศเป็นพันเอก และดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการทหารบก

ครั้นเมื่อ วันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 ท่านได้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ต่อจากพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา โดยการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และในช่วงที่ดำรงตำแหน่งก็ได้เลื่อนยศเป็นพลตรี และเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2484 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพลตรีหลวงพิบูลสงคราม เป็นจอมพล แปลก พิบูลสงคราม (โดยได้ยกเลิกราชทินนามแบบเก่า)[2]

บทบาทในทางการเมือง[3]

จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีชื่อจริงว่า แปลก เนื่องจากเป็นบุคคลที่มีหูทั้งสองข้างอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำกว่าตา ผิดไปจากบุคคลธรรมดา จึงถูกตั้งชื่อว่า แปลก นับตั้งแต่เกิด เมื่อขึ้นดำรงตำแหน่งสำคัญ ไม่ต้องการให้บุคคลอื่นเรียกชื่อตัวเองเช่นนั้น จึงใช้เป็นตัวอักษรย่อเป็น ป. นับตั้งแต่นั้น

จอมพล ป. เป็นหนึ่งในคณะนายทหารผู้ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยเป็นนายทหารรุ่นน้อง พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา 2 ปี ที่โรงเรียนนายร้อยทหารบก มีบทบาทสำคัญเริ่มจากเป็นแกนนำในการรัฐประหาร 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 และในการปราบกบฏบวรเดชเมื่อปี พ.ศ. 2476 จนได้รับความไว้วางใจ ให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อมา

นับแต่จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในพ.ศ. 2481 ได้มีนโยบายในการสร้างชาติ ซึ่งมีแนวโน้มเป็นลัทธิชาตินิยม เช่น ออกกฎหมายคุ้มครอง อุตสาหกรรมภายในประเทศ มีการสงวนอาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย และปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคำขวัญว่า "ไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ" รัฐบาลจอมพล ป. ได้เปลี่ยนแปลงประเพณีและวัฒนธรรมบางอย่าง เพื่อให้สอดคล้องกับการการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และให้เกิดความทันสมัย เช่น ประกาศให้ข้าราชการเลิกนุ่งผ้าม่วง เลิกสวมเสื้อราชปะแตน และให้นุ่งกางเกงขายาวแทน มีการยกเลิกบรรดาศักดิ์ และยศข้าราชการพลเรือน มีการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก "สยาม" เป็น "ไทย" ในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 และเปลี่ยนวันขึ้น ปีใหม่จากวันที่ 1 เมษายน เป็นวันที่ 1 มกราคมของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักสากล โดยเริ่มเปลี่ยนในปี พ.ศ. 2484 ทำให้ ปี พ.ศ. 2483 มีเพียง 9 เดือน มีการสร้างชาติด้วยวัฒนธรรมใหม่ โดยจัดตั้งสภาวัฒนธรรมแห่งชาติขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2485 เพื่อจัดระเบียบการดำเนินชีวิตของคนไทยให้เป็นแบบอารยะประเทศ โดยประกาศรัฐนิยมจำนวน 12 ฉบับ[4] และสั่งห้ามประชาชนกินหมากโดยเด็ดขาด ให้ผู้หญิงเลิกนุ่งโจงกระเบน เปลี่ยนมานุ่งผ้าถุงแทน ให้สวมหมวก สวมรองเท้า โดยมีคำขวัญในสมัยนั้นว่า "มาลานำไทยสู่มหาอำนาจ" หากผู้หญิงคนใดไม่ใส่หมวกจะถูกตำรวจจับและปรับ และยังวางระเบียบการใช้คำแทนชื่อเป็นมาตรฐาน เช่น ฉัน ท่าน เรา มีคำสั่งให้ข้าราชการกล่าวคำว่า "สวัสดี" ในโอกาสแรกที่พบกัน และมีการตัดตัวอักษรที่ออกเสียงซ้ำกันจึงมีการเปลี่ยนแปลงการสะกดคำมากมาย เช่น กระทรวงศึกษาธิการ เขียนเป็น กระซวงสึกสาธิการ เป็นต้น

เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 มีการก่อสร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตยในยุค จอมพล ป.พิบูลสงคราม ออกแบบโดยหม่อมหลวงปุ่ม มาลากุล ควบคุมการก่อสร้างจนแล้วเสร็จโดยศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ศิลปินผู้ปั้นอนุสาวรีย์คือ นายสิทธิเดช แสงหิรัญ ด้วยเหตุผลที่ว่า อนุสาวรีย์นี้เป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญทั้งมวล เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมือง ก็นับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงตั้งพระราชหฤทัยจะทำให้ถนนราชดำเนินกลางเป็นที่เชิดชูยิ่ง มีพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2483 โดยจอมพล ป.พิบูลสงครามกล่าวในพิธีเปิดอนุสาวรีย์ว่า "อนุสาวรีย์นี้จะเป็นศูนย์กลางแห่งความเจริญก้าวหน้าทั้งมวล เป็นต้นว่า ถนนสายต่างๆ ที่จะออกจากกรุงเทพฯ ไปยังหัวเมืองก็จะนับต้นทางจากอนุสาวรีย์นี้ ถนนราชดำเนินซึ่งเป็นแนวของอนุสาวรีย์ ก็กำลังสร้างอาคารให้สง่างามเป็นที่เชิดชูเกียรติของประเทศ และเป็นการสนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ที่ทรงตั้งพระราชหฤทัย จะทำให้ถนนนี้เป็นที่ เชิดชูยิ่ง"[5]

ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดสงครามอินโดจีนระหว่างไทยกับฝรั่งเศส จากปัญหาเรื่องการใช้แม่น้ำโขงเป็นเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างไทยกับอินโดจีน ซึ่งอยู่ในครอบครองฝรั่งเศสมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 โดยฝรั่งเศสไม่ยอมตกลงเรื่องการใช้ร่องน้ำลึกเป็นเส้นเขตแดน ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2483 ฝรั่งเศสส่งเครื่องบินมาทิ้งระเบิดเมืองนครพนม การรบระหว่างฝรั่งเศสกับไทยจึงเริ่มขึ้น ฝรั่งเศสโจมตีไทยทางอรัญประเทศ รัฐบาล จอมพล ป. ส่งทหารไทยเข้าไปในอินโดจีนทางด้านเขมร แต่ในที่สุดญี่ปุ่นเสนอตัวเข้าไกล่เกลี่ย จนมีการส่งผู้แทนไปลงนามอนุสัญญาสันติภาพที่กรุงโตเกียว (Tokyo Convention) เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 ในครั้งนั้นไทยได้ดินแดนฝั่งขวาแม่น้ำโขงคืน รวมทั้งทางใต้ตรงข้ามปากเซ คือ แขวงจัมปาศักดิ์ และดินแดนในเขมรที่เสียให้ฝรั่งเศสไปเมื่อปี พ.ศ. 2450 กลับคืนมาด้วย และในวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2484 พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา ได้เป็นผู้วางศิลาฤกษ์ก่อสร้างอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานระลึกถึงชัยชนะของไทยต่อฝรั่งเศส และ 1 ปีต่อมา จอมพล ป.พิบูลสงคราม เป็นผู้กระทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2485

จอมพล ป. ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ริเริ่มองค์กรและหน่วยงานสำคัญ ๆ ของประเทศหลายองค์กร ที่พัฒนาและเจริญรุ่งเรืองมาจนปัจจุบัน ซึ่งล้วนแต่เป็นหน่วยงานที่มีความเฉพาะของแต่ละวิชาชีพ เช่น รัฐวิสาหกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร รวมทั้งเป็นผู้ที่ใช้อำนาจยึดสถานที่ต่าง ๆ ที่เคยเป็นที่ประทับของเชื้อพระวงศ์ และที่อยู่ของบุคคลสำคัญก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาใช้เป็นสถานที่ราชการ เช่น วังบางขุนพรหม, บ้านมนังคศิลา, บ้านพิษณุโลก, บ้านนรสิงห์ เป็นต้น

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง จอมพล ป. ในฐานะนายกรัฐมนตรีของไทย ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการประคับประคองประเทศชาติ ให้ผ่านพ้นวิกฤตไปได้หลายประการ โดยเป็นจอมพลคนแรกของประเทศไทยอีกด้วย เมื่อขอพระราชทานยศให้กับตนเอง ทั้งนี้มีการบอกเล่ากันว่า เพราะท่านต้องการทำสงครามจิตวิทยากับทางกองทัพญี่ปุ่น และเมื่อหลังสงครามโลกแล้ว ท่านต้องติดคุกในฐานะอาชญากรสงคราม และยุติบทบาททางการเมืองทั้งหมด โดยกลับไปอยู่บ้านที่ อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี โดยทำไร่ถั่วฝักยาว แต่แล้วด้วยความผกผันทางการเมือง ในปี พ.ศ. 2491 ท่านก็ได้หวนกลับมาคืนสู่ตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีกครั้งจากการทำรัฐประหารของกลุ่มนายทหารที่นับถือท่านอยู่ ซึ่งคราวนี้ดำรงตำแหน่งยาวนานถึง 9 ปี ผ่านวิกฤตและเหตุการณ์กบฏจนเกือบจะเอาชีวิตไม่รอดหลายครั้ง เช่น กบฏเสนาธิการ, กบฏวังหลวง, กบฏแมนฮัตตัน รวมทั้งยังเคยยึดอำนาจตัวเองด้วย จึงได้รับฉายาว่า "นายกฯ ตลอดกาล"

จอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้รับอีกฉายาว่า "จอมพลกระดูกเหล็ก" เพราะมีชีวิตทางการเมืองอย่างเหลือเชื่อ เคยถูกลอบสังหารมาแล้วถึง 3 ครั้ง แต่ก็รอดชีวิตมาได้ทุกครั้ง แม้กระทั่งในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน ที่ท่านถูกจี้ลงเรือศรีอยุธยา ถูกทิ้งระเบิดผ่านเตียงที่ท่านเคยนอนอยู่อย่างเฉียดฉิว ทั้ง ๆ ที่เหตุการณ์ครั้งนั้นมีผู้เสียชีวิตจำนวนมากนับร้อย จนกระทั่งถึงวาระสุดท้ายในการดำรงตำแหน่งทางการเมืองของท่าน คือ ในเย็นวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 เมื่อถูกพลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ นายทหารรุ่นน้องอีกคนหนึ่งที่ท่านไว้ใจและมอบตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกให้กระทำการรัฐประหาร ซึ่งท่านได้หลบหนีไปด้วยรถยนต์ส่วนตัวกับผู้ติดตามเพียง 2 คน โดยผ่านไปทางประเทศกัมพูชา ก่อนจะลี้ภัยทางการเมืองที่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง ณ ที่นั่น ท่านและครอบครัวได้รับการต้อนรับอย่างดี ทั้งนี้เพราะทางญี่ปุ่นถือว่าเป็นท่านเป็นผู้ที่บุญคุณต่อญี่ปุ่น เพราะเป็นผู้ยินยอมให้ทหารญี่ปุ่นผ่านเข้าประเทศไทยในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองด้วยดี ไม่ต้องมีการสู้รบยืดเยื้ออันรังแต่จะทำให้มีแต่ความสูญเสียด้วยกันทั้งสองฝ่าย ซึ่งท่านก็ได้พำนักอยู่ที่นั่นจนตราบถึงแก่อนิจกรรม

ตำแหน่งทางราชการที่สำคัญ ฯพณฯ เคยดำรงตำแหน่ง[6]

• 25 กันยายน 2477 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

• 12 กุมภาพันธ์ 2477 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรองผู้บัญชาการทหารบก

• 4 มกราคม 2481 เป็นผู้บัญชาการทหารบก

• 16 ธันวาคม 2481 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 20 ธันวาคม 2481 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

• 14 กรกฎาคม 2482 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ

• 13 พฤศจิกายน 2483 เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารบก

• 27 สิงหาคม 2484 เป็นผู้บัญชาการทหารเรือพิเศษ และผู้บัญชาการทหารอากาศพิเศษ

• 18 พฤศจิกายน 2484 เป็นผู้บัญชาการทหารบก

• 15 ธันวาคม 2484 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

• 16 กุมภาพันธ์ 2485 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ

• 7 มีนาคม 2485 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 10 มีนาคม 2485 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

• 25 พฤศจิกายน 2490 เป็นผู้บัญชาการทหารบก

• 8 เมษายน 2491 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 15 เมษายน 2491 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

• 25 มิถุนายน 2492 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 28 มิถุนายน 2492 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

• 13 ตุลาคม 2492 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

• 29 พฤศจิกายน 2494 เป็นนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ชั่วคราว

• 6 ธันวาคม 2494 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 9 ธันวาคม 2494 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม

• 24 มีนาคม 2495 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 28 มีนาคม 2495 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม

• 4 กุมภาพันธ์ 2497 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ

• 20 มีนาคม 2500 เป็นนายกรัฐมนตรี

• 12 กันยายน 2500 เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[7]

สมัยที่ 1 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 9 : 16 ธันวาคม 2481 - 6 มีนาคม 2485

สมัยที่ 2 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 10 : 7 มีนาคม 2485 - 1 สิงหาคม 2487

สมัยที่ 3 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 21 : 8 เมษายน 2491 - 24 มิถุนายน 2492

สมัยที่ 4 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 22 : 25 มิถุนายน 2492 - 29 พฤศจิกายน 2494

สมัยที่ 5 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 23 : 29 พฤศจิกายน 2494 - 6 ธันวาคม 2494

สมัยที่ 6 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 24 : 6 ธันวาคม 2494 - 23 มีนาคม 2495

สมัยที่ 7 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 25 : 24 มีนาคม 2495 - 26 กุมภาพันธ์ 2500

สมัยที่ 8 : คณะรัฐมนตรี คณะที่ 26 : 21 มีนาคม 2500 - 16 กันยายน 2500

ผลงานทางด้านการเมือง

จอมพลป. พิบูลสงครามเป็นหนึ่งในคณะราษฎรที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2474 และเคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างๆ คือ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงสหกรณ์ และดำรงตำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีรวม 8 สมัย นับว่า ฯพณฯ เป็นนายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งได้ยาวนานที่สุด และเป็นผู้ที่ได้ทำคุณประโยชน์ไว้ให้ประเทศชาติอย่างมาก[8] อาทิ

• เปลี่ยนชื่อ จากประเทศสยาม มาเป็น ประเทศไทย

• จัดตั้งหน่วยยุวชนทหาร และให้มีทหารหญิง

• ส่งเสริมให้คนไทยแต่งตัวแบบสากลนิยม

• สร้างอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ

การเรียกร้องดินแดนทางด้านอินโดจีนคืนจากฝรั่งเศส[9]

• การปลูกฝังความนิยมไทย และการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทยบางอย่าง เช่น การให้สตรีเลิกนุ่งโจงกระเบนแล้วหันมาสวมกระโปรงแทน สวมหมวกและรองเท้าก่อนออกจากบ้าน

• การตั้งชื่อผู้ชายให้มีลักษณะเข้มแข็ง ผู้หญิงให้แสดงถึงความอ่อนหวาน

• การเชิญชวนให้ประชาชนเลิกกินหมากพลู โดยออกประกาศเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2482 มีการชี้โทษของการกินหมาก เช่นบอกว่าฟันดำเป็นสิ่งไม่เจริญตา ไม่ได้เพิ่มความงามให้แก่ใบหน้า และกลับทำให้ดูแก่เกินอายุอีกด้วย

• การมีละครและเพลงปลุกใจทั้งหลาย เช่นเพลงตื่นเถิดชาวไทย หรือต้นตระกูลไทย ที่หลวงวิจิตรวาทการเป็นผู้แต่ง

อ้างอิง

  1. จอมพล ป. พิบูลสงคราม, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 10.30 นาฬิกา
  2. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ พระราชทานยศจอมพล จอมพลเรือ และจอมพลอากาศ (นายพลตรี หลวงพิบูลสงคราม), เล่ม 58, ตอน 0ก, 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2484, หน้า 981
  3. ชีวิตและบทบาททางการเมือง, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 11.30 นาฬิกา
  4. รัฐนิยม, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://th.wikipedia.org/wiki/ วันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 เวลา 14.00 นาฬิกา
  5. อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://elecpit.rmutl.ac.th/index.php?topic=852.0 วันที่ 4 พฤศจิกายน 2552 เวลา 14.10 นาฬิกา
  6. ตำแหน่งราชการที่สำคัญ, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.rta.mi.th/22140u/know/genplake.htm วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 15.00 นาฬิกา
  7. ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.cabinet.thaigov.go.th/pm_03.htm วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 14.20 นาฬิกา
  8. ผลงานด้านการเมือง, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.pbps.ac.th/tem/jompol33.htmlวันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 14.30 นาฬิกา
  9. ผลงานด้านการเมือง, (ข้อมูลออนไลน์) สืบค้นจาก http://www.tsu.ac.th/coop/files/ptpopibul170607.doc วันที่ 5 ตุลาคม 2552 เวลา 15.30 นาฬิกา

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

อดุลย์ กอวัฒนา, การลาออกของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อ 24 กรกฎาคม 2457. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518, 186 หน้า.

ถนอมจิต มีชื่น, จอมพล ป. พิบูลสงครามกับงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2495 - 2500) กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2531, 166 หน้า.

บรรณานุกรม

อดุลย์ กอวัฒนา, การลาออกของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม เมื่อ 24 กรกฎาคม 2457. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518, 186 หน้า.

ถนอมจิต มีชื่น, จอมพล ป. พิบูลสงครามกับงานฉลอง 25 พุทธศตวรรษ (พ.ศ. 2495 - 2500) กรุงเทพฯ : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2531, 166 หน้า.