ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคชาติพัฒนากล้า (Chartpattanakla Party)"
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ ม..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 6: | บรรทัดที่ 6: | ||
| | ||
'''พรรคชาติพัฒนากล้า''' '''(ChartpattanaKLA Party)''' เป็นพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นจากการผนวกรวมกันระหว่างพรรคชาติพัฒนาและ[[พรรคกล้า]] โดยแรกเริ่มของการก่อตั้งพรรคชาติพัฒนามาจากการก่อตั้งโดยกลุ่มของ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ในปี พ.ศ. 2550 โดยมีการเปลี่ยนชื่อพรรคมาแล้วทั้งสิ้น 5 ครั้งคือ รวมชาติพัฒนา รวมใจไทยชาติพัฒนา ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน และ ชาติพัฒนา ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2565 นายกรณ์ จาติกวณิช ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคกล้าพร้อมด้วย นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ประธานยุทธศาสตร์พรรคกล้าได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[[#_ftn1|[1]]] เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 และได้เข้าร่วมงานกับชาติพัฒนา โดยในการประชุมใหญ่วิสามัญของพรรคชาติพัฒนา เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 ที่จังหวัดนครราชสีมา ได้มีมติใช้ชื่อ '''“พรรคชาติพัฒนากล้า”''' และในเวลาต่อมามีมติพรรคให้เลือกนายกรณ์เป็นหัวหน้าพรรค ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2565 โดยมีการแต่งตั้งรองหัวหน้าพรรค เช่น นายวัชรพล โตมรศักดิ์ นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี และพันตำรวจเอกพณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช เป็นต้น โดยมีนายเทวัญ ลิปตพัลลภ เป็นเลขาธิการพรรคชาติพัฒนากล้า ในขณะที่นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นประธานพรรคชาติพัฒนา รวมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารพรรค จำนวน 28 คน[[#_ftn2|[2]]] | '''พรรคชาติพัฒนากล้า''' '''(ChartpattanaKLA Party)''' เป็นพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นจากการผนวกรวมกันระหว่างพรรคชาติพัฒนาและ[[พรรคกล้า|พรรคกล้า]] โดยแรกเริ่มของการก่อตั้งพรรคชาติพัฒนามาจากการก่อตั้งโดยกลุ่มของ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ในปี พ.ศ. 2550 โดยมีการเปลี่ยนชื่อพรรคมาแล้วทั้งสิ้น 5 ครั้งคือ รวมชาติพัฒนา รวมใจไทยชาติพัฒนา ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน และ ชาติพัฒนา ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2565 นายกรณ์ จาติกวณิช ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคกล้าพร้อมด้วย นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ประธานยุทธศาสตร์พรรคกล้าได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[[#_ftn1|[1]]] เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 และได้เข้าร่วมงานกับชาติพัฒนา โดยในการประชุมใหญ่วิสามัญของพรรคชาติพัฒนา เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 ที่จังหวัดนครราชสีมา ได้มีมติใช้ชื่อ '''“พรรคชาติพัฒนากล้า”''' และในเวลาต่อมามีมติพรรคให้เลือกนายกรณ์เป็นหัวหน้าพรรค ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2565 โดยมีการแต่งตั้งรองหัวหน้าพรรค เช่น นายวัชรพล โตมรศักดิ์ นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี และพันตำรวจเอกพณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช เป็นต้น โดยมีนายเทวัญ ลิปตพัลลภ เป็นเลขาธิการพรรคชาติพัฒนากล้า ในขณะที่นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นประธานพรรคชาติพัฒนา รวมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารพรรค จำนวน 28 คน[[#_ftn2|[2]]] | ||
ทั้งนี้ ในการรวมและเปลี่ยนชื่อพรรคได้มีการแถลงว่าพรรคชาติพัฒนามีหลักนิยมเดียวกันกับอุดมการณ์ของการก่อตั้งพรรคกล้า คือ การลงมือทำงานให้สำเร็จและแก้ปัญหาให้ประชาชน โดยใช้ความกล้าซึ่งการเปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาต้องใช้ความกล้า ซึ่งการทำงานหลังจากนี้มีเป้าหมาย คือ ทำให้ประชาชนกินดีอยู่ดี โดยผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจและด้านต่าง ๆ มาร่วมงานด้วยกันที่พรรคชาติพัฒนากล้า[[#_ftn3|[3]]] ซึ่งเป้าหมายเพื่อร่วมมือกันในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2566[[#_ftn4|[4]]] | ทั้งนี้ ในการรวมและเปลี่ยนชื่อพรรคได้มีการแถลงว่าพรรคชาติพัฒนามีหลักนิยมเดียวกันกับอุดมการณ์ของการก่อตั้งพรรคกล้า คือ การลงมือทำงานให้สำเร็จและแก้ปัญหาให้ประชาชน โดยใช้ความกล้าซึ่งการเปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาต้องใช้ความกล้า ซึ่งการทำงานหลังจากนี้มีเป้าหมาย คือ ทำให้ประชาชนกินดีอยู่ดี โดยผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจและด้านต่าง ๆ มาร่วมงานด้วยกันที่พรรคชาติพัฒนากล้า[[#_ftn3|[3]]] ซึ่งเป้าหมายเพื่อร่วมมือกันในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2566[[#_ftn4|[4]]] | ||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สัญลักษณ์ของพรรคชาติพัฒนากล้า</p> | <p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' สัญลักษณ์ของพรรคชาติพัฒนากล้า</p> | ||
[[File:Chartpattanakla Party (1).png|center|300px]] | [[File:Chartpattanakla Party (1).png|center|300px|Chartpattanakla Party (1).png]] | ||
จากฐานข้อมูลพรรคการเมืองของคณะกรรมการการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2566 พบว่า พรรคชาติพัฒนากล้า มีสมาชิกทั้งหมด 15,263 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจำนวน 8,345 คน มีสาขาพรรคจำนวน 4 แห่ง กระจายไปยังทุกภูมิภาค ภาคละ 1 แห่ง และมีตัวแทนพรรคทั่วประเทศทั้งหมด 60 คน[[#_ftn5|[5]]] | จากฐานข้อมูลพรรคการเมืองของคณะกรรมการการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2566 พบว่า พรรคชาติพัฒนากล้า มีสมาชิกทั้งหมด 15,263 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจำนวน 8,345 คน มีสาขาพรรคจำนวน 4 แห่ง กระจายไปยังทุกภูมิภาค ภาคละ 1 แห่ง และมีตัวแทนพรรคทั่วประเทศทั้งหมด 60 คน[[#_ftn5|[5]]] | ||
บรรทัดที่ 20: | บรรทัดที่ 20: | ||
<span style="font-size:x-large;">'''พรรคชาติพัฒนากล้าในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566'''</span> | <span style="font-size:x-large;">'''พรรคชาติพัฒนากล้าในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566'''</span> | ||
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 พรรคชาติพัฒนากล้าได้ส่งผู้สมัครแบบแบ่งเขต จำนวน 105 คน และบัญชีรายชื่อ จำนวน 39 คน โดยได้เสนอชื่อแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี 3 คน ได้แก่ นายกรณ์ จาติกวณิช นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ และนายเทวัญ ลิปตพัลลภ พรรคชาติพัฒนากล้า ใช้สโลแกนในการหาเสียงว่า '''“กล้า Fight : ชาติพัฒนากล้า เราสู้เพื่อคุณ”''' สู่เป้าหมายให้คนไทย '''“งานดี มีเงิน ของไม่แพง”'''[[#_ftn6|[6]]] รวมทั้งพัฒนาเติบโตยั่งยืน ไม่เน้นประชานิยม โดยมีนโยบายที่ใช้ในการหาเสียงของพรรคชาติพัฒนากล้าที่มีความโดดเด่น ได้แก่ เศรษฐกิจสีรุ้ง (Rainbow Economy) เงินเดือน 40,000 บาทแรกไม่ต้องเสียภาษี จัดตั้งกองทุนสินเชื่อแห่งชาติเพื่อแก้ปัญหาเรื่องหนี้สิน เด็กไทยต้องได้ 3 ภาษา การหางานสำหรับกลุ่มผู้สูงวัย 500,000 ตำแหน่ง และ มอเตอร์เวย์ทั่วไทย 4 ทิศ 2,000 กิโลเมตร รวมทั้งนโยบายโคราชโนมิคสร้างโคราชและอีสานให้เป็นระเบียงเศรษฐกิจใหม่ของประเทศเป็นต้น | ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 พรรคชาติพัฒนากล้าได้ส่งผู้สมัครแบบแบ่งเขต จำนวน 105 คน และบัญชีรายชื่อ จำนวน 39 คน โดยได้เสนอชื่อแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี 3 คน ได้แก่ นายกรณ์ จาติกวณิช นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ และนายเทวัญ ลิปตพัลลภ พรรคชาติพัฒนากล้า ใช้สโลแกนในการหาเสียงว่า '''“กล้า Fight : ชาติพัฒนากล้า เราสู้เพื่อคุณ”''' สู่เป้าหมายให้คนไทย '''“งานดี มีเงิน ของไม่แพง”'''[[#_ftn6|[6]]] รวมทั้งพัฒนาเติบโตยั่งยืน ไม่เน้นประชานิยม โดยมีนโยบายที่ใช้ในการหาเสียงของพรรคชาติพัฒนากล้าที่มีความโดดเด่น ได้แก่ เศรษฐกิจสีรุ้ง (Rainbow Economy) เงินเดือน 40,000 บาทแรกไม่ต้องเสียภาษี จัดตั้งกองทุนสินเชื่อแห่งชาติเพื่อแก้ปัญหาเรื่องหนี้สิน เด็กไทยต้องได้ 3 ภาษา การหางานสำหรับกลุ่มผู้สูงวัย 500,000 ตำแหน่ง และ มอเตอร์เวย์ทั่วไทย 4 ทิศ 2,000 กิโลเมตร รวมทั้งนโยบายโคราชโนมิคสร้างโคราชและอีสานให้เป็นระเบียงเศรษฐกิจใหม่ของประเทศเป็นต้น | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' การหาเสียงและสื่อการหาเสียงของพรรคชาติพัฒนากล้า[[#_ftn7|[7]]]</p> | |||
'''ภาพ''' ''':''' การหาเสียงและสื่อการหาเสียงของพรรคชาติพัฒนากล้า[[#_ftn7|[7]]] | |||
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 500px;" | {| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 500px;" | ||
|- | |- | ||
| [[File:Chartpattanakla Party (2).jpg|center| | | [[File:Chartpattanakla Party (2).jpg|center|500px|Chartpattanakla Party (2).jpg]] | ||
| [[File:Chartpattanakla Party (3).jpg|center| | | [[File:Chartpattanakla Party (3).jpg|center|350px|Chartpattanakla Party (3).jpg]] | ||
|} | |} | ||
บรรทัดที่ 38: | บรรทัดที่ 36: | ||
| | ||
<span style="font-size:x-large;">'''#มีกรณ์ไม่มีกู : ความล้มเหลวในการจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคชาติพัฒนากล้า'''</span> | <span style="font-size:x-large;">'''#มีกรณ์ไม่มีกู : ความล้มเหลวในการจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคชาติพัฒนากล้า'''</span> | ||
ภายหลังการประกาศผลการเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่นำโดยพรรคก้าวไกลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเดิม นอกจากนี้ยังได้มีการเจรจากับพรรคอื่น ๆ เพื่อรวบรวมการสนับสนุนในการลงคะแนนให้ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคก้าวไกลได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยพรรคชาติพัฒนากล้าได้ยืนยันจุดยืนของพรรคชาติพัฒนากล้าในการสนับสนุนพรรคที่ประชาชนเลือกมาเป็นอันดับหนึ่ง เพื่อให้ประเทศชาติเดินหน้าไปได้[[#_ftn9|[9]]] โดยได้ตกลงเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับพรรคก้าวไกล ทำให้สามารถรวมเสียงสนับสนุนได้ 316 เสียง ในเวลานั้น ผลจากการประกาศร่วมมือในการจัดตั้งกับพรรคชาติพัฒนากล้าส่งผลให้ผู้สนับสนุนพรรคก้าวไกลจำนวนมากไม่พอใจ และวิจารณ์ว่าพรรคก้าวไกลผิดจุดยืนที่เคยประกาศว่า '''“จะไม่จับมือตั้งรัฐบาลกับทุกพรรคการเมืองที่สืบทอดอำนาจเผด็จการ”''' เนื่องจากนายกรณ์ จาติกวณิช เคยร่วมชุมนุมกับคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ([[กปปส.]]) ซึ่งเป็นเหตุการณ์นำมาสู่การรัฐประหารปี พ.ศ. 2557 อีกทั้งนายกรณ์ยังเป็นหนึ่งใน ส.ส. [[พรรคประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]] ที่ลงมติสนับสนุนให้ พล.อ.[[ประยุทธ์_จันทร์โอชา]] เป็นนายกรัฐมนตรี หลังการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 จนนำไปสู่การแสดงความคิดเห็นและสร้างแฮชแท็ก '''"#มีกรณ์ไม่มีกู"''' จากผู้ใช้อินเตอร์เนทได้ขึ้นสู่ความนิยมในทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นอันดับ 1 | ภายหลังการประกาศผลการเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่นำโดยพรรคก้าวไกลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเดิม นอกจากนี้ยังได้มีการเจรจากับพรรคอื่น ๆ เพื่อรวบรวมการสนับสนุนในการลงคะแนนให้ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคก้าวไกลได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยพรรคชาติพัฒนากล้าได้ยืนยันจุดยืนของพรรคชาติพัฒนากล้าในการสนับสนุนพรรคที่ประชาชนเลือกมาเป็นอันดับหนึ่ง เพื่อให้ประเทศชาติเดินหน้าไปได้[[#_ftn9|[9]]] โดยได้ตกลงเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับพรรคก้าวไกล ทำให้สามารถรวมเสียงสนับสนุนได้ 316 เสียง ในเวลานั้น ผลจากการประกาศร่วมมือในการจัดตั้งกับพรรคชาติพัฒนากล้าส่งผลให้ผู้สนับสนุนพรรคก้าวไกลจำนวนมากไม่พอใจ และวิจารณ์ว่าพรรคก้าวไกลผิดจุดยืนที่เคยประกาศว่า '''“จะไม่จับมือตั้งรัฐบาลกับทุกพรรคการเมืองที่สืบทอดอำนาจเผด็จการ”''' เนื่องจากนายกรณ์ จาติกวณิช เคยร่วมชุมนุมกับคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ([[กปปส.|กปปส.]]) ซึ่งเป็นเหตุการณ์นำมาสู่การรัฐประหารปี พ.ศ. 2557 อีกทั้งนายกรณ์ยังเป็นหนึ่งใน ส.ส. [[พรรคประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]] ที่ลงมติสนับสนุนให้ พล.อ.[[ประยุทธ์_จันทร์โอชา|ประยุทธ์_จันทร์โอชา]] เป็นนายกรัฐมนตรี หลังการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 จนนำไปสู่การแสดงความคิดเห็นและสร้างแฮชแท็ก '''"#มีกรณ์ไม่มีกู"''' จากผู้ใช้อินเตอร์เนทได้ขึ้นสู่ความนิยมในทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นอันดับ 1 | ||
จากกระแสความไม่พอใจที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ผู้บริหารของพรรคก้าวไกลออกแถลงการณ์อย่างเป็นทางการยุติการเจรจาร่วมรัฐบาลกับชาติพัฒนากล้าและชี้แจงว่าการพูดคุยกับพรรคชาติพัฒนากล้า เป็นไปบนหลักการว่าพรรคชาติพัฒนากล้าจะโหวตให้ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ เพื่อให้จัดตั้งรัฐบาลตามฉันทามติของประชาชนได้ ส่วนการร่วมรัฐบาลจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในข้อตกลงร่วม หรือ MOU ซึ่งนโยบายและจุดยืนของพรรคก้าวไกลจะเป็นเงื่อนไขหลักในฐานะแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยกรรมการบริหารพรรคจะไม่ร่วมรัฐบาลกับพรรคชาติพัฒนากล้า[[#_ftn10|[10]]] ในขณะที่ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ประธานพรรคชาติพัฒนากล้า ได้ชี้แจงว่าได้รับการติดต่อจากพรรคก้าวไกลและตอบรับในหลักการเพื่อเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล แต่ยังไม่ได้ตอบรับอย่างเป็นทางการและได้แถลงขอบคุณพรรคก้าวไกลที่ส่งเชิญให้ร่วมรัฐบาล และไม่ติดใจต่อการยุติการเจรจาร่วมรัฐบาล ซึ่งในเวลาต่อมา นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลได้เผยแพร่ข้อความบนทวิตเตอร์ส่วนตัวเพื่อยืนยันจุดยืนและอุดมการณ์ของพรรคก้าวไกลที่พรรคใหญ่กว่าคนประชาชนใหญ่กว่าพรรค[[#_ftn11|[11]]] | จากกระแสความไม่พอใจที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ผู้บริหารของพรรคก้าวไกลออกแถลงการณ์อย่างเป็นทางการยุติการเจรจาร่วมรัฐบาลกับชาติพัฒนากล้าและชี้แจงว่าการพูดคุยกับพรรคชาติพัฒนากล้า เป็นไปบนหลักการว่าพรรคชาติพัฒนากล้าจะโหวตให้ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ เพื่อให้จัดตั้งรัฐบาลตามฉันทามติของประชาชนได้ ส่วนการร่วมรัฐบาลจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในข้อตกลงร่วม หรือ MOU ซึ่งนโยบายและจุดยืนของพรรคก้าวไกลจะเป็นเงื่อนไขหลักในฐานะแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยกรรมการบริหารพรรคจะไม่ร่วมรัฐบาลกับพรรคชาติพัฒนากล้า[[#_ftn10|[10]]] ในขณะที่ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ประธานพรรคชาติพัฒนากล้า ได้ชี้แจงว่าได้รับการติดต่อจากพรรคก้าวไกลและตอบรับในหลักการเพื่อเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล แต่ยังไม่ได้ตอบรับอย่างเป็นทางการและได้แถลงขอบคุณพรรคก้าวไกลที่ส่งเชิญให้ร่วมรัฐบาล และไม่ติดใจต่อการยุติการเจรจาร่วมรัฐบาล ซึ่งในเวลาต่อมา นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลได้เผยแพร่ข้อความบนทวิตเตอร์ส่วนตัวเพื่อยืนยันจุดยืนและอุดมการณ์ของพรรคก้าวไกลที่พรรคใหญ่กว่าคนประชาชนใหญ่กว่าพรรค[[#_ftn11|[11]]] | ||
| | ||
<p style="text-align: center;">'''ภาพ''' ''':''' การนำเสนอของสื่อเกี่ยวกับการเข้าร่วมรัฐบาลผสมของพรรคชาติพัฒนากล้า [[#_ftn12|[12]]]</p> | |||
'''ภาพ''' ''':''' การนำเสนอของสื่อเกี่ยวกับการเข้าร่วมรัฐบาลผสมของพรรคชาติพัฒนากล้า [[#_ftn12|[12]]] | {| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: 700px;" | ||
{| align="center" border="1" cellpadding="1" cellspacing="1" style="width: | |||
|- | |- | ||
| [[File:Chartpattanakla Party (4).jpg|center| | | [[File:Chartpattanakla Party (4).jpg|center|700px|Chartpattanakla Party (4).jpg]] | ||
| [[File:Chartpattanakla Party (5).jpg|center| | | [[File:Chartpattanakla Party (5).jpg|center|400px|Chartpattanakla Party (5).jpg]] | ||
| [[File:Chartpattanakla Party (6).jpg|center| | | [[File:Chartpattanakla Party (6).jpg|center|400px|Chartpattanakla Party (6).jpg]] | ||
|} | |} | ||
บรรทัดที่ 63: | บรรทัดที่ 59: | ||
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span> | <span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span> | ||
<div><div id="ftn1"> | <div><div id="ftn1"> | ||
[[#_ftnref1|[1]]] “กรณ์' หิ้ว 'กอร์ปศักดิ์' ซบพรรคสุวัจน์ 'อรรถวิชช์' ลังเลเทพรรคกล้า”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/hi-light/214530/ (31 สิงหาคม 2566). | [[#_ftnref1|[1]]] “กรณ์' หิ้ว 'กอร์ปศักดิ์' ซบพรรคสุวัจน์ 'อรรถวิชช์' ลังเลเทพรรคกล้า”, สืบค้นจาก [https://www.thaipost.net/hi-light/214530/ https://www.thaipost.net/hi-light/214530/] (31 สิงหาคม 2566). | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
[[#_ftnref2|[2]]] “พรรคชาติพัฒนากล้า (ชพก.)”, สืบค้นจาก https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref2|[2]]] “พรรคชาติพัฒนากล้า (ชพก.)”, สืบค้นจาก [https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15 https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15] มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] “'สุวัจน์' มั่นใจรีแบรนด์ 'ชาติพัฒนากล้า' เพิ่มความเข้มแข็ง ยังไม่เปลี่ยนหัวหน้าพรรค”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/ politics-news/ 229953/ (15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref3|[3]]] “'สุวัจน์' มั่นใจรีแบรนด์ 'ชาติพัฒนากล้า' เพิ่มความเข้มแข็ง ยังไม่เปลี่ยนหัวหน้าพรรค”, สืบค้นจาก [https://www.thaipost.net/ https://www.thaipost.net/] politics-news/ 229953/ (15 มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https:// thestandard.co/election2566-party/พรรคชาติพัฒนากล้า/ (15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref4|[4]]] “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https:// thestandard.co/election2566-party/พรรคชาติพัฒนากล้า/ (15 มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn5"> | </div> <div id="ftn5"> | ||
[[#_ftnref5|[5]]] “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref5|[5]]] “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก [https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15 https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15] มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn6"> | </div> <div id="ftn6"> | ||
[[#_ftnref6|[6]]] “เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ 33 คน เต็มอัตราศึก!”, สืบค้นจาก https://www.chartpattanakla.org/post/เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ-33-คน-เต็มอัตราศึก (15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref6|[6]]] “เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ 33 คน เต็มอัตราศึก!”, สืบค้นจาก [https://www.chartpattanakla.org/post/เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ-33-คน-เต็มอัตราศึก https://www.chartpattanakla.org/post/เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ-33-คน-เต็มอัตราศึก] (15 มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] “เลือกตั้ง’66: “กรณ์” ขึ้นรถแห่ทั่วกรุงฯ วันสุดท้าย ย้ำสโลแกน “เศรษฐกิจต้องเรา”, สืบค้นจาก https://www.infoquest. co.th/2023/300582 และ “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https://twitter.com/ChartpattanaKLA(15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref7|[7]]] “เลือกตั้ง’66: “กรณ์” ขึ้นรถแห่ทั่วกรุงฯ วันสุดท้าย ย้ำสโลแกน “เศรษฐกิจต้องเรา”, สืบค้นจาก [https://www.infoquest https://www.infoquest]. co.th/2023/300582 และ “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก [https://twitter.com/ChartpattanaKLA(15 https://twitter.com/ChartpattanaKLA(15] มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn8"> | </div> <div id="ftn8"> | ||
[[#_ftnref8|[8]]] “รายงานผลการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ.2566 อย่างเป็นทางการ”, สืบค้นจาก https://official.ectreport.com/by-party(15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref8|[8]]] “รายงานผลการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ.2566 อย่างเป็นทางการ”, สืบค้นจาก [https://official.ectreport.com/by-party(15 https://official.ectreport.com/by-party(15] มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn9"> | </div> <div id="ftn9"> | ||
[[#_ftnref9|[9]]] “คอนเฟิร์ม! 'ชาติพัฒนากล้า' ร่วมรัฐบาลก้าวไกล 'สุวัจน์' นัดแถลงพรุ่งนี้ที่โคราช”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/form-a-government/381562/(15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref9|[9]]] “คอนเฟิร์ม! 'ชาติพัฒนากล้า' ร่วมรัฐบาลก้าวไกล 'สุวัจน์' นัดแถลงพรุ่งนี้ที่โคราช”, สืบค้นจาก [https://www.thaipost.net/form-a-government/381562/(15 https://www.thaipost.net/form-a-government/381562/(15] มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn10"> | </div> <div id="ftn10"> | ||
[[#_ftnref10|[10]]] “สรุปดราม่า #มีกรณ์ไม่มีกู ขึ้นเทรนด์อันดับ 1 บนทวิตเตอร์ชั่วข้ามคืน”, สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/ news/ politics/549368 (15 มิถุนายน 2566) ,“เลือกตั้ง 2566 : ก้าวไกลผิดจุดยืนหรือไม่ จับมือชาติพัฒนากล้า จนสังคมกดดัน “มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก https://www. bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo (15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref10|[10]]] “สรุปดราม่า #มีกรณ์ไม่มีกู ขึ้นเทรนด์อันดับ 1 บนทวิตเตอร์ชั่วข้ามคืน”, สืบค้นจาก [https://www.komchadluek.net/ https://www.komchadluek.net/] news/ politics/549368 (15 มิถุนายน 2566) ,“เลือกตั้ง 2566 : ก้าวไกลผิดจุดยืนหรือไม่ จับมือชาติพัฒนากล้า จนสังคมกดดัน “มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก [https://www https://www]. bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo (15 มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn11"> | </div> <div id="ftn11"> | ||
[[#_ftnref11|[11]]] “ขอโทษ "มีกรณ์ไม่มีกู" ก้าวไกลชิงล้มดีล ชพก.ติ่งส้มเดือดเคยเป็น กปปส.”, สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/ news/politic/ 2695559 (15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref11|[11]]] “ขอโทษ "มีกรณ์ไม่มีกู" ก้าวไกลชิงล้มดีล ชพก.ติ่งส้มเดือดเคยเป็น กปปส.”, สืบค้นจาก [https://www.thairath.co.th/ https://www.thairath.co.th/] news/politic/ 2695559 (15 มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn12"> | </div> <div id="ftn12"> | ||
[[#_ftnref12|[12]]] “กระแสข่าวเดือด! ที่ว่า "ก้าวไกล" จับมือ "ชาติพัฒนากล้า" #มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/ watch?v= nfaQXFkTRYo (15 มิถุนายน 2566), “เลือกตั้ง 2566 : ก้าวไกลผิดจุดยืนหรือไม่ จับมือชาติพัฒนากล้า จนสังคมกดดัน “มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo(15 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref12|[12]]] “กระแสข่าวเดือด! ที่ว่า "ก้าวไกล" จับมือ "ชาติพัฒนากล้า" #มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก [https://www.youtube.com/ https://www.youtube.com/] watch?v= nfaQXFkTRYo (15 มิถุนายน 2566), “เลือกตั้ง 2566 : ก้าวไกลผิดจุดยืนหรือไม่ จับมือชาติพัฒนากล้า จนสังคมกดดัน “มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก [https://www.bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo(15 https://www.bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo(15] มิถุนายน 2566). | ||
</div> <div id="ftn13"> | </div> <div id="ftn13"> | ||
[[#_ftnref13|[13]]] “'กรณ์ จาติกวณิช' ลาออกหัวหน้าพรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/hi-light/403193/(26 มิถุนายน 2566). | [[#_ftnref13|[13]]] “'กรณ์ จาติกวณิช' ลาออกหัวหน้าพรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก [https://www.thaipost.net/hi-light/403193/(26 https://www.thaipost.net/hi-light/403193/(26] มิถุนายน 2566). | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:พรรคการเมือง]][[Category:หัวหน้าพรรคการเมือง]][[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:การเลือกตั้ง]][[Category:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]] | | ||
[[Category:พรรคการเมือง]][[Category:หัวหน้าพรรคการเมือง]][[Category:พรรคการเมืองและการเลือกตั้ง]][[Category:การเลือกตั้ง]][[Category:การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]][[Category:นักการเมือง]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:56, 19 กันยายน 2566
ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศุทธิกานต์ มีจั่น
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
พรรคชาติพัฒนากล้า (ChartpattanaKLA Party) เป็นพรรคการเมืองที่เกิดขึ้นจากการผนวกรวมกันระหว่างพรรคชาติพัฒนาและพรรคกล้า โดยแรกเริ่มของการก่อตั้งพรรคชาติพัฒนามาจากการก่อตั้งโดยกลุ่มของ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ในปี พ.ศ. 2550 โดยมีการเปลี่ยนชื่อพรรคมาแล้วทั้งสิ้น 5 ครั้งคือ รวมชาติพัฒนา รวมใจไทยชาติพัฒนา ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน และ ชาติพัฒนา ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2565 นายกรณ์ จาติกวณิช ผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคกล้าพร้อมด้วย นายกอร์ปศักดิ์ สภาวสุ ประธานยุทธศาสตร์พรรคกล้าได้ลาออกจากการเป็นสมาชิกพรรค[1] เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2565 และได้เข้าร่วมงานกับชาติพัฒนา โดยในการประชุมใหญ่วิสามัญของพรรคชาติพัฒนา เมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2565 ที่จังหวัดนครราชสีมา ได้มีมติใช้ชื่อ “พรรคชาติพัฒนากล้า” และในเวลาต่อมามีมติพรรคให้เลือกนายกรณ์เป็นหัวหน้าพรรค ตั้งแต่วันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2565 โดยมีการแต่งตั้งรองหัวหน้าพรรค เช่น นายวัชรพล โตมรศักดิ์ นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี และพันตำรวจเอกพณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช เป็นต้น โดยมีนายเทวัญ ลิปตพัลลภ เป็นเลขาธิการพรรคชาติพัฒนากล้า ในขณะที่นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นประธานพรรคชาติพัฒนา รวมทั้งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารพรรค จำนวน 28 คน[2]
ทั้งนี้ ในการรวมและเปลี่ยนชื่อพรรคได้มีการแถลงว่าพรรคชาติพัฒนามีหลักนิยมเดียวกันกับอุดมการณ์ของการก่อตั้งพรรคกล้า คือ การลงมือทำงานให้สำเร็จและแก้ปัญหาให้ประชาชน โดยใช้ความกล้าซึ่งการเปลี่ยนชื่อพรรคการเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาต้องใช้ความกล้า ซึ่งการทำงานหลังจากนี้มีเป้าหมาย คือ ทำให้ประชาชนกินดีอยู่ดี โดยผู้มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจและด้านต่าง ๆ มาร่วมงานด้วยกันที่พรรคชาติพัฒนากล้า[3] ซึ่งเป้าหมายเพื่อร่วมมือกันในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในปี พ.ศ. 2566[4]
ภาพ : สัญลักษณ์ของพรรคชาติพัฒนากล้า

จากฐานข้อมูลพรรคการเมืองของคณะกรรมการการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2566 พบว่า พรรคชาติพัฒนากล้า มีสมาชิกทั้งหมด 15,263 คน โดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นจำนวน 8,345 คน มีสาขาพรรคจำนวน 4 แห่ง กระจายไปยังทุกภูมิภาค ภาคละ 1 แห่ง และมีตัวแทนพรรคทั่วประเทศทั้งหมด 60 คน[5]
พรรคชาติพัฒนากล้าในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566
ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2566 พรรคชาติพัฒนากล้าได้ส่งผู้สมัครแบบแบ่งเขต จำนวน 105 คน และบัญชีรายชื่อ จำนวน 39 คน โดยได้เสนอชื่อแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี 3 คน ได้แก่ นายกรณ์ จาติกวณิช นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ และนายเทวัญ ลิปตพัลลภ พรรคชาติพัฒนากล้า ใช้สโลแกนในการหาเสียงว่า “กล้า Fight : ชาติพัฒนากล้า เราสู้เพื่อคุณ” สู่เป้าหมายให้คนไทย “งานดี มีเงิน ของไม่แพง”[6] รวมทั้งพัฒนาเติบโตยั่งยืน ไม่เน้นประชานิยม โดยมีนโยบายที่ใช้ในการหาเสียงของพรรคชาติพัฒนากล้าที่มีความโดดเด่น ได้แก่ เศรษฐกิจสีรุ้ง (Rainbow Economy) เงินเดือน 40,000 บาทแรกไม่ต้องเสียภาษี จัดตั้งกองทุนสินเชื่อแห่งชาติเพื่อแก้ปัญหาเรื่องหนี้สิน เด็กไทยต้องได้ 3 ภาษา การหางานสำหรับกลุ่มผู้สูงวัย 500,000 ตำแหน่ง และ มอเตอร์เวย์ทั่วไทย 4 ทิศ 2,000 กิโลเมตร รวมทั้งนโยบายโคราชโนมิคสร้างโคราชและอีสานให้เป็นระเบียงเศรษฐกิจใหม่ของประเทศเป็นต้น
ภาพ : การหาเสียงและสื่อการหาเสียงของพรรคชาติพัฒนากล้า[7]
![]() |
![]() |
ด้านผลการเลือกตั้ง พรรคชาติพัฒนากล้า ได้คะแนนเสียงทั้งหมด 212,676 คะแนน โดยได้รับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต จำนวน 1 ที่นั่ง ได้แก่ นายประสาท ตันประเสริฐ รองหัวหน้าพรรคชาติพัฒนากล้า และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์ เขต 6 ซึ่งได้รับคะแนน 24,089 คะแนนในเขตเลือกตั้ง และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จำนวน 1 ที่นั่ง ได้แก่ นายแพทย์วรรณรัตน์ ชาญนุกูล[8] ประธานที่ปรึกษาพรรคชาติพัฒนากล้าทำให้พรรคชาติพัฒนากล้า ได้กลายเป็นพรรคการเมืองขนาดเล็ก
#มีกรณ์ไม่มีกู : ความล้มเหลวในการจัดตั้งรัฐบาลผสมร่วมกับพรรคชาติพัฒนากล้า
ภายหลังการประกาศผลการเลือกตั้งและการจัดตั้งรัฐบาลผสมที่นำโดยพรรคก้าวไกลและพรรคร่วมฝ่ายค้านเดิม นอกจากนี้ยังได้มีการเจรจากับพรรคอื่น ๆ เพื่อรวบรวมการสนับสนุนในการลงคะแนนให้ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีของพรรคก้าวไกลได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยพรรคชาติพัฒนากล้าได้ยืนยันจุดยืนของพรรคชาติพัฒนากล้าในการสนับสนุนพรรคที่ประชาชนเลือกมาเป็นอันดับหนึ่ง เพื่อให้ประเทศชาติเดินหน้าไปได้[9] โดยได้ตกลงเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาลกับพรรคก้าวไกล ทำให้สามารถรวมเสียงสนับสนุนได้ 316 เสียง ในเวลานั้น ผลจากการประกาศร่วมมือในการจัดตั้งกับพรรคชาติพัฒนากล้าส่งผลให้ผู้สนับสนุนพรรคก้าวไกลจำนวนมากไม่พอใจ และวิจารณ์ว่าพรรคก้าวไกลผิดจุดยืนที่เคยประกาศว่า “จะไม่จับมือตั้งรัฐบาลกับทุกพรรคการเมืองที่สืบทอดอำนาจเผด็จการ” เนื่องจากนายกรณ์ จาติกวณิช เคยร่วมชุมนุมกับคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงปฏิรูปประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์แบบอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ซึ่งเป็นเหตุการณ์นำมาสู่การรัฐประหารปี พ.ศ. 2557 อีกทั้งนายกรณ์ยังเป็นหนึ่งใน ส.ส. พรรคประชาธิปัตย์ ที่ลงมติสนับสนุนให้ พล.อ.ประยุทธ์_จันทร์โอชา เป็นนายกรัฐมนตรี หลังการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2562 จนนำไปสู่การแสดงความคิดเห็นและสร้างแฮชแท็ก "#มีกรณ์ไม่มีกู" จากผู้ใช้อินเตอร์เนทได้ขึ้นสู่ความนิยมในทวิตเตอร์ (Twitter) เป็นอันดับ 1
จากกระแสความไม่พอใจที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ผู้บริหารของพรรคก้าวไกลออกแถลงการณ์อย่างเป็นทางการยุติการเจรจาร่วมรัฐบาลกับชาติพัฒนากล้าและชี้แจงว่าการพูดคุยกับพรรคชาติพัฒนากล้า เป็นไปบนหลักการว่าพรรคชาติพัฒนากล้าจะโหวตให้ นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ เพื่อให้จัดตั้งรัฐบาลตามฉันทามติของประชาชนได้ ส่วนการร่วมรัฐบาลจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดในข้อตกลงร่วม หรือ MOU ซึ่งนโยบายและจุดยืนของพรรคก้าวไกลจะเป็นเงื่อนไขหลักในฐานะแกนนำจัดตั้งรัฐบาล โดยกรรมการบริหารพรรคจะไม่ร่วมรัฐบาลกับพรรคชาติพัฒนากล้า[10] ในขณะที่ นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ประธานพรรคชาติพัฒนากล้า ได้ชี้แจงว่าได้รับการติดต่อจากพรรคก้าวไกลและตอบรับในหลักการเพื่อเข้าร่วมจัดตั้งรัฐบาล แต่ยังไม่ได้ตอบรับอย่างเป็นทางการและได้แถลงขอบคุณพรรคก้าวไกลที่ส่งเชิญให้ร่วมรัฐบาล และไม่ติดใจต่อการยุติการเจรจาร่วมรัฐบาล ซึ่งในเวลาต่อมา นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ หัวหน้าพรรคก้าวไกลได้เผยแพร่ข้อความบนทวิตเตอร์ส่วนตัวเพื่อยืนยันจุดยืนและอุดมการณ์ของพรรคก้าวไกลที่พรรคใหญ่กว่าคนประชาชนใหญ่กว่าพรรค[11]
ภาพ : การนำเสนอของสื่อเกี่ยวกับการเข้าร่วมรัฐบาลผสมของพรรคชาติพัฒนากล้า [12]
![]() |
![]() |
![]() |
อย่างไรก็ดี ในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2566 นายกรณ์ จาติกวณิช ได้ยื่นจดหมายถึงประธานพรรค นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เพื่อขอบคุณในความไว้วางใจในการให้ปฏิบัติหน้าที่และประกาศลาออกหัวหน้าพรรคชาติพัฒนากล้า รวมทั้งฝากถึงปัญหาอีกมากมายของประเทศที่ยังรอการแก้ไข รวมทั้งเป็นกำลังใจให้เพื่อนนักการเมืองจากทุกพรรค[13]
อ้างอิง
[1] “กรณ์' หิ้ว 'กอร์ปศักดิ์' ซบพรรคสุวัจน์ 'อรรถวิชช์' ลังเลเทพรรคกล้า”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/hi-light/214530/ (31 สิงหาคม 2566).
[2] “พรรคชาติพัฒนากล้า (ชพก.)”, สืบค้นจาก https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15 มิถุนายน 2566).
[3] “'สุวัจน์' มั่นใจรีแบรนด์ 'ชาติพัฒนากล้า' เพิ่มความเข้มแข็ง ยังไม่เปลี่ยนหัวหน้าพรรค”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/ politics-news/ 229953/ (15 มิถุนายน 2566).
[4] “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https:// thestandard.co/election2566-party/พรรคชาติพัฒนากล้า/ (15 มิถุนายน 2566).
[5] “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https://party.ect.go.th/dataparty-detail/10(15 มิถุนายน 2566).
[6] “เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ 33 คน เต็มอัตราศึก!”, สืบค้นจาก https://www.chartpattanakla.org/post/เปิดตัวผู้สมัครนักสู้กรุงเทพฯ-33-คน-เต็มอัตราศึก (15 มิถุนายน 2566).
[7] “เลือกตั้ง’66: “กรณ์” ขึ้นรถแห่ทั่วกรุงฯ วันสุดท้าย ย้ำสโลแกน “เศรษฐกิจต้องเรา”, สืบค้นจาก https://www.infoquest. co.th/2023/300582 และ “พรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https://twitter.com/ChartpattanaKLA(15 มิถุนายน 2566).
[8] “รายงานผลการเลือกตั้ง ส.ส. ปี พ.ศ.2566 อย่างเป็นทางการ”, สืบค้นจาก https://official.ectreport.com/by-party(15 มิถุนายน 2566).
[9] “คอนเฟิร์ม! 'ชาติพัฒนากล้า' ร่วมรัฐบาลก้าวไกล 'สุวัจน์' นัดแถลงพรุ่งนี้ที่โคราช”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/form-a-government/381562/(15 มิถุนายน 2566).
[10] “สรุปดราม่า #มีกรณ์ไม่มีกู ขึ้นเทรนด์อันดับ 1 บนทวิตเตอร์ชั่วข้ามคืน”, สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/ news/ politics/549368 (15 มิถุนายน 2566) ,“เลือกตั้ง 2566 : ก้าวไกลผิดจุดยืนหรือไม่ จับมือชาติพัฒนากล้า จนสังคมกดดัน “มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก https://www. bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo (15 มิถุนายน 2566).
[11] “ขอโทษ "มีกรณ์ไม่มีกู" ก้าวไกลชิงล้มดีล ชพก.ติ่งส้มเดือดเคยเป็น กปปส.”, สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/ news/politic/ 2695559 (15 มิถุนายน 2566).
[12] “กระแสข่าวเดือด! ที่ว่า "ก้าวไกล" จับมือ "ชาติพัฒนากล้า" #มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก https://www.youtube.com/ watch?v= nfaQXFkTRYo (15 มิถุนายน 2566), “เลือกตั้ง 2566 : ก้าวไกลผิดจุดยืนหรือไม่ จับมือชาติพัฒนากล้า จนสังคมกดดัน “มีกรณ์ไม่มีกู”, สืบค้นจาก https://www.bbc.com/thai/articles/ckdy05lwk5lo(15 มิถุนายน 2566).
[13] “'กรณ์ จาติกวณิช' ลาออกหัวหน้าพรรคชาติพัฒนากล้า”, สืบค้นจาก https://www.thaipost.net/hi-light/403193/(26 มิถุนายน 2566).