ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าราชการท้องถิ่น"
สร้างหน้าด้วย " '''เรียบเรียงโดย''' เจตน์ ดิษฐอุดม '''ผู้ทรงคุณวุฒิประ..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
'''ความหมายของข้าราชการท้องถิ่น''' | '''ความหมายของข้าราชการท้องถิ่น''' | ||
''ข้าราชการท้องถิ่น'' หมายความว่า[[#_ftn1|[1]]] | ''ข้าราชการท้องถิ่น'' หมายความว่า[[#_ftn1|[1]]] ข้าราชการ[[องค์การบริหารส่วนจังหวัด|องค์การบริหารส่วนจังหวัด]] พนักงาน[[เทศบาล|เทศบาล]] พนักงานส่วน[[ตำบล|ตำบล]] ข้าราชการกรุงเทพมหานคร พนักงานเมืองพัทยา และข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มี[[กฎหมาย|กฎหมาย]]จัดตั้ง ซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวด[[เงินอุดหนุน|เงินอุดหนุน]]ของ[[รัฐบาล|รัฐบาล]]ที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำมาจัดเป็นเงินเดือนให้แก่ข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | ||
จากนิยามดังกล่าวจะเห็นว่า ข้าราชการท้องถิ่นที่ปฏิบัติราชการในเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและเมืองพัทยา ยังคงใช้คำว่า '' | จากนิยามดังกล่าวจะเห็นว่า ข้าราชการท้องถิ่นที่ปฏิบัติราชการในเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและเมืองพัทยา ยังคงใช้คำว่า ''“[[พนักงาน|พนักงาน]]”'' อยู่ ซึ่งในประเด็นนี้ได้กำลังอยู่ในระหว่างการเสนอร่าง[[พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการส่วนท้องถิ่น|พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการส่วนท้องถิ่น]] พ.ศ. ... อยู่ในขณะนี้ โดยในร่าง[[พระราชบัญญัติ|พระราชบัญญัติ]]ดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงมาใช้คำว่า ''“ข้าราชการส่วนท้องถิ่น”''[[#_ftn2|[2]]] และให้นิยามในลักษณะเดียวกันว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนตำบล ข้าราชการเทศบาล ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข้าราชการเมืองพัทยา และข้าราชการการปกครองท้องถิ่นรูปแบบอื่น ซึ่งได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อใช้เป็นเงินเดือนของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ จะสังเกตได้ว่าทั้งสองคำดังกล่าว มีการให้นิยามไปในลักษณะเดียวกัน | ||
'''หน้าที่และความรับผิดชอบของข้าราชการท้องถิ่น''' | '''หน้าที่และความรับผิดชอบของข้าราชการท้องถิ่น''' | ||
| โดยทั่วไปข้าราชการท้องถิ่นที่ปฏิบัติงานอยู่ใน[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]แต่ละประเภทดังที่ได้อธิบายความหมายไว้ข้างต้นจะมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการตามนโยบายและแผนงานที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือ[[สภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|สภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]เป็นผู้กำหนด ประกอบกับมีหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่งระบุเอาไว้ว่าในการกำหนดมาตรฐานของตำแหน่งนั้นว่าจะต้องใช้ความรู้ความสามารถในการบริหารงาน การดำเนินการ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และการปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง โดยจะมีการกำหนดลักษณะงานและความรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติออกเป็นด้านต่างๆ อาทิ [[ด้านบริหารงาน|ด้านบริหารงาน]] [[ด้านบริหารงานทรัพยากรบุคคล|ด้านบริหารงานทรัพยากรบุคคล]][[ด้านบริหารทรัพยากรและงบประมาณ|ด้านบริหารทรัพยากรและงบประมาณ]] [[ด้านการวางแผน|ด้านการวางแผน]] ด้านการปฏิบัติการ ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ ฯลฯ เป็นต้น | ||
'''การบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นไทย''' | '''การบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นไทย''' | ||
บรรทัดที่ 20: | บรรทัดที่ 20: | ||
''' หลักเกณฑ์และแนวทางในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นไทย''' | ''' หลักเกณฑ์และแนวทางในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นไทย''' | ||
ในบริบทของประเทศไทย การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การย้าย การโอน การรับโอน การเลื่อนระดับ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์ | ในบริบทของประเทศไทย [[การสรรหา|การสรรหา]] บรรจุและแต่งตั้ง การย้าย การโอน การรับโอน การเลื่อนระดับ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสอบสวน [[การลงโทษทางวินัย|การลงโทษทางวินัย]] การให้ออกจากราชการ [[การอุทธรณ์|การอุทธรณ์]] และ[[การร้องทุกข์|การร้องทุกข์]] หรือการอื่นใดที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่น เป็นอำนาจของนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในตำแหน่งใดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งนั้นเป็นผู้ใช้อำนาจแทนได้ | ||
การปฏิบัติหน้าที่ในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทจะมีคณะกรรมการกลางของข้าราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมากำหนดมาตรฐานทั่วไปของข้าราชการ อาทิ คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตำบล ฯลฯ เป็นต้น เมื่อคณะกรรมการกลางของข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทได้กำหนดมาตรฐานทั่วไปแล้ว คณะกรรมการข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทในแต่ละจังหวัดจะนำไปกำหนดหลักเกณฑ์ในการบริหารงานบุคคลในจังหวัดต่อไป | การปฏิบัติหน้าที่ในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทจะมีคณะกรรมการกลางของข้าราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมากำหนดมาตรฐานทั่วไปของข้าราชการ อาทิ [[คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด|คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด]] [[คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล|คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล]] [[คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตำบล|คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตำบล]] ฯลฯ เป็นต้น เมื่อคณะกรรมการกลางของข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทได้กำหนดมาตรฐานทั่วไปแล้ว คณะกรรมการข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทในแต่ละจังหวัดจะนำไปกำหนดหลักเกณฑ์ในการบริหารงานบุคคลในจังหวัดต่อไป | ||
สำหรับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร[[#_ftn3|[3]]] | สำหรับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร[[#_ftn3|[3]]] จะมี[[คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร|คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร]] (ก.ก.) ทำหน้าที่กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการ[[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพมหานคร]] และการบริหารงานบุคคลของข้าราชการ[[เมืองพัทยา|เมืองพัทยา]] จะมี[[คณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา|คณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยา]]กำหนดหลักเกณฑ์และดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารบุคคลของข้าราชการเมืองพัทยา | ||
นอกจากคณะกรรมการดังกล่าวแล้ว ยังมีคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ก.ถ.) ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรักษาระบบคุณธรรมเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การแต่งตั้งและให้พ้นจากตำแหน่ง การกำหนดโครงสร้างอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น ฯลฯ เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นทุกรูปแบบให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นและประชาชนในประเทศเป็นส่วนรวม | นอกจากคณะกรรมการดังกล่าวแล้ว ยังมีคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ก.ถ.) ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรักษาระบบคุณธรรมเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การแต่งตั้งและให้พ้นจากตำแหน่ง การกำหนดโครงสร้างอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น ฯลฯ เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นทุกรูปแบบให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นและประชาชนในประเทศเป็นส่วนรวม | ||
บรรทัดที่ 30: | บรรทัดที่ 30: | ||
''' การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่น''' | ''' การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่น''' | ||
ในการกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่นของไทย ได้มีการปรับเป็นโครงสร้างระดับชั้นงานแบบแท่ง (Broadband) | ในการกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่นของไทย ได้มีการปรับเป็นโครงสร้างระดับชั้นงานแบบแท่ง (Broadband) คล้ายกับ[[ข้าราชการพลเรือน|ข้าราชการพลเรือน]][[#_ftn4|[4]]] ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 4 ประเภท[[#_ftn5|[5]]] ดังต่อไปนี้ | ||
1) ตำแหน่งประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น ได้แก่ | 1) ตำแหน่งประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น ได้แก่ ตำแหน่ง[[ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]และรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง | ||
2) ตำแหน่งประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง ระดับสำนักในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือตำแหน่งระดับที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง | 2) [[ตำแหน่งประเภทอำนวยการท้องถิ่น|ตำแหน่งประเภทอำนวยการท้องถิ่น]] ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง ระดับสำนักในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือตำแหน่งระดับที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง | ||
3) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ประกอบด้วย ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ | 3) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ประกอบด้วย ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ | ||
บรรทัดที่ 48: | บรรทัดที่ 48: | ||
2) สมรรถนะประจำผู้บริหาร หมายถึง สมรรถนะที่ข้าราชการท้องถิ่นในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อ่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ ได้แก่ การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง ความสามารถในการเป็นผู้นำ ความสามารถในการพัฒนาคน และการคิดเชิงกลยุทธ์ | 2) สมรรถนะประจำผู้บริหาร หมายถึง สมรรถนะที่ข้าราชการท้องถิ่นในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อ่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ ได้แก่ การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง ความสามารถในการเป็นผู้นำ ความสามารถในการพัฒนาคน และการคิดเชิงกลยุทธ์ | ||
3) สมรรถนะประจำสายงาน หมายถึง สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่างๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการท้องถิ่นที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 22 สมรรถนะ อาทิ การคิดวิเคราะห์ การบริหารความเสี่ยง ความเข้าใจพื้นที่และการเมืองท้องถิ่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ ฯลฯ เป็นต้น | 3) สมรรถนะประจำสายงาน หมายถึง สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่างๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการท้องถิ่นที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 22 สมรรถนะ อาทิ การคิดวิเคราะห์ [[การบริหารความเสี่ยง|การบริหารความเสี่ยง]] ความเข้าใจพื้นที่และการเมืองท้องถิ่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ ฯลฯ เป็นต้น | ||
'''สวัสดิการของข้าราชการท้องถิ่น''' | '''สวัสดิการของข้าราชการท้องถิ่น''' | ||
ข้าราชการท้องถิ่นจะได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น | ข้าราชการท้องถิ่นจะได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวด[[เงินอุดหนุน|เงินอุดหนุน]]ของ[[รัฐบาล|รัฐบาล]]ที่ให้แก่[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำมาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการท้องถิ่นดังที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น [[ข้าราชการท้องถิ่น]]ยังมีสวัสดิการที่เป็น “ประโยชน์ตอบแทนอื่น”[[#_ftn7|[7]]] อันได้แก่ เงินตอบแทนอื่นๆ หรือเงินค่าตอบแทนอื่นๆ เงินสวัสดิการ หรือเงินอื่นที่ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการท้องถิ่นดังกล่าว จะได้รับเช่นเดียวกันกับ[[ระบบข้าราชการพลเรือน|ข้าราชการพลเรือน]]และเป็นไปตามที่มีกฎหมายกำหนด อาทิ ค่ารักษาพยาบาล การศึกษาบุตร ทุนการศึกษา ค่าเช่าบ้าน เงินทำขวัญ [[เงินรางวัล]] และ[[เงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น]] ฯลฯ เป็นต้น | ||
<u>'''บรรณานุกรม'''</u> | <u>'''บรรณานุกรม'''</u> |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:36, 29 ตุลาคม 2562
เรียบเรียงโดย เจตน์ ดิษฐอุดม
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
ความหมายของข้าราชการท้องถิ่น
ข้าราชการท้องถิ่น หมายความว่า[1] ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ข้าราชการกรุงเทพมหานคร พนักงานเมืองพัทยา และข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง ซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำมาจัดเป็นเงินเดือนให้แก่ข้าราชการหรือพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จากนิยามดังกล่าวจะเห็นว่า ข้าราชการท้องถิ่นที่ปฏิบัติราชการในเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบลและเมืองพัทยา ยังคงใช้คำว่า “พนักงาน” อยู่ ซึ่งในประเด็นนี้ได้กำลังอยู่ในระหว่างการเสนอร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ... อยู่ในขณะนี้ โดยในร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวได้เปลี่ยนแปลงมาใช้คำว่า “ข้าราชการส่วนท้องถิ่น”[2] และให้นิยามในลักษณะเดียวกันว่า ข้าราชการองค์การบริหารส่วนตำบล ข้าราชการเทศบาล ข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด ข้าราชการเมืองพัทยา และข้าราชการการปกครองท้องถิ่นรูปแบบอื่น ซึ่งได้รับการบรรจุแต่งตั้งให้ปฏิบัติราชการโดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อใช้เป็นเงินเดือนของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ จะสังเกตได้ว่าทั้งสองคำดังกล่าว มีการให้นิยามไปในลักษณะเดียวกัน
หน้าที่และความรับผิดชอบของข้าราชการท้องถิ่น
โดยทั่วไปข้าราชการท้องถิ่นที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทดังที่ได้อธิบายความหมายไว้ข้างต้นจะมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการตามนโยบายและแผนงานที่นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้กำหนด ประกอบกับมีหน้าที่และความรับผิดชอบของแต่ละตำแหน่งระบุเอาไว้ว่าในการกำหนดมาตรฐานของตำแหน่งนั้นว่าจะต้องใช้ความรู้ความสามารถในการบริหารงาน การดำเนินการ การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และการปฏิบัติงานอย่างไรบ้าง โดยจะมีการกำหนดลักษณะงานและความรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติออกเป็นด้านต่างๆ อาทิ ด้านบริหารงาน ด้านบริหารงานทรัพยากรบุคคลด้านบริหารทรัพยากรและงบประมาณ ด้านการวางแผน ด้านการปฏิบัติการ ด้านการประสานงาน ด้านการบริการ ฯลฯ เป็นต้น
การบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นไทย
หลักเกณฑ์และแนวทางในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นไทย
ในบริบทของประเทศไทย การสรรหา บรรจุและแต่งตั้ง การย้าย การโอน การรับโอน การเลื่อนระดับ การเลื่อนขั้นเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ หรือการอื่นใดที่เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่น เป็นอำนาจของนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งนายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอาจมอบหมายให้ผู้บังคับบัญชาข้าราชการในตำแหน่งใดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งนั้นเป็นผู้ใช้อำนาจแทนได้
การปฏิบัติหน้าที่ในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทจะมีคณะกรรมการกลางของข้าราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นมากำหนดมาตรฐานทั่วไปของข้าราชการ อาทิ คณะกรรมการกลางข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตำบล ฯลฯ เป็นต้น เมื่อคณะกรรมการกลางของข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทได้กำหนดมาตรฐานทั่วไปแล้ว คณะกรรมการข้าราชการท้องถิ่นแต่ละประเภทในแต่ละจังหวัดจะนำไปกำหนดหลักเกณฑ์ในการบริหารงานบุคคลในจังหวัดต่อไป
สำหรับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร[3] จะมีคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร (ก.ก.) ทำหน้าที่กำกับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการกรุงเทพมหานคร และการบริหารงานบุคคลของข้าราชการเมืองพัทยา จะมีคณะกรรมการพนักงานเมืองพัทยากำหนดหลักเกณฑ์และดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารบุคคลของข้าราชการเมืองพัทยา
นอกจากคณะกรรมการดังกล่าวแล้ว ยังมีคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ก.ถ.) ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานกลางและแนวทางในการรักษาระบบคุณธรรมเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล การแต่งตั้งและให้พ้นจากตำแหน่ง การกำหนดโครงสร้างอัตราเงินเดือนและประโยชน์ตอบแทนอื่น ฯลฯ เป็นต้น เพื่อเป็นแนวทางในการกำกับดูแลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการท้องถิ่นทุกรูปแบบให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นและประชาชนในประเทศเป็นส่วนรวม
การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่น
ในการกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่นของไทย ได้มีการปรับเป็นโครงสร้างระดับชั้นงานแบบแท่ง (Broadband) คล้ายกับข้าราชการพลเรือน[4] ซึ่งสามารถจำแนกได้เป็น 4 ประเภท[5] ดังต่อไปนี้
1) ตำแหน่งประเภทบริหารจัดการท้องถิ่น ได้แก่ ตำแหน่งปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง
2) ตำแหน่งประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ ตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง ระดับสำนักในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือตำแหน่งระดับที่เรียกชื่ออย่างอื่น ตามที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง
3) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น แบ่งออกเป็น 4 ระดับ ประกอบด้วย ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ
4) ตำแหน่งประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่งประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด เพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ประกอบด้วย ระดับปฏิบัติงาน ระดับชำนาญการ และระดับอาวุโส
สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการท้องถิ่น
สมรรถนะที่จำเป็นงานของข้าราชการท้องถิ่น[6] จำแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1) สมรรถนะหลัก หมายถึง สมรรถนะที่ข้าราชการท้องถิ่นทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ร่วมกัน ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประชาชน สังคม และประเทศชาติ ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ ได้แก่ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน การบริการเป็นเลิศ และการทำงานเป็นทีม
2) สมรรถนะประจำผู้บริหาร หมายถึง สมรรถนะที่ข้าราชการท้องถิ่นในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อ่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 4 สมรรถนะ ได้แก่ การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง ความสามารถในการเป็นผู้นำ ความสามารถในการพัฒนาคน และการคิดเชิงกลยุทธ์
3) สมรรถนะประจำสายงาน หมายถึง สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่างๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการท้องถิ่นที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย 22 สมรรถนะ อาทิ การคิดวิเคราะห์ การบริหารความเสี่ยง ความเข้าใจพื้นที่และการเมืองท้องถิ่น ความคิดสร้างสรรค์ ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ ฯลฯ เป็นต้น
สวัสดิการของข้าราชการท้องถิ่น
ข้าราชการท้องถิ่นจะได้รับเงินเดือนจากงบประมาณหมวดเงินเดือนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือจากเงินงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนของรัฐบาลที่ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนำมาจัดเป็นเงินเดือนของข้าราชการท้องถิ่นดังที่ได้กล่าวแล้วข้างต้น ข้าราชการท้องถิ่นยังมีสวัสดิการที่เป็น “ประโยชน์ตอบแทนอื่น”[7] อันได้แก่ เงินตอบแทนอื่นๆ หรือเงินค่าตอบแทนอื่นๆ เงินสวัสดิการ หรือเงินอื่นที่ข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นได้รับจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยประโยชน์ตอบแทนอื่นของข้าราชการท้องถิ่นดังกล่าว จะได้รับเช่นเดียวกันกับข้าราชการพลเรือนและเป็นไปตามที่มีกฎหมายกำหนด อาทิ ค่ารักษาพยาบาล การศึกษาบุตร ทุนการศึกษา ค่าเช่าบ้าน เงินทำขวัญ เงินรางวัล และเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น ฯลฯ เป็นต้น
บรรณานุกรม
ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง การกำหนดรายการค่าใช้จ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2557
ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง กำหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2557 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542
ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ...
อ้างอิง
[1]คำว่า “ข้าราชการท้องถิ่น” ในที่นี้มีนัยเช่นเดียวกันกับคำว่า “พนักงานส่วนท้องถิ่น” ที่มีการให้คำนิยามเอาไว้ในมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2542 จึงนำนิยามในกฎหมายดังกล่าวมาใช้โดยอนุโลม
[2]มาตรา 4 แห่งร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. .... ได้ใช้คำว่าข้าราชการแทนคำว่าพนักงานสำหรับข้าราชการที่ปฏิบัติงานในเทศบาล องค์การบริหารส่วนตำบล และเมืองพัทยา นอกจากนี้ ยังไม่กล่าวถึงข้าราชการกรุงเทพมหานครไว้ดังเช่นในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคล พ.ศ. 2542
[3] มาตรา 14 (1) – (12) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานครและบุคลากรกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2554
[4] การกำหนดตำแหน่งของข้าราชการท้องถิ่นจะมีลักษณะคล้ายกับข้าราชการพลเรือน แต่จะมีความแตกต่างจากข้าราชการพลเรือน ได้แก่ 1) ประเภทบริหารจัดการท้องถิ่นและประเภทอำนวยการท้องถิ่นจะเพิ่มระดับกลางเข้ามา 2) ประเภทวิชาการ จะไม่มีระดับทรงคุณวุฒิ และ 3) ประเภททั่วไป จะไม่มีระดับทักษะพิเศษ
[5] ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง กำหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2557 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
[6] ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง กำหนดมาตรฐานกลางการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 4) ลงวันที่ 26 ธันวาคม 2557 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
[7] ประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น เรื่อง การกำหนดรายการค่าใช้จ่ายเงินเดือน ประโยชน์ตอบแทนอื่น และค่าจ้างของข้าราชการ หรือพนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้าง และพนักงานจ้าง ลงวันที่ 25 กรกฎาคม 2557