ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหตุแห่งการสละราชสมบัติ"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
บันทึกของ[[สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์]] [[ผู้สำเร็จราชการ]]แทนพระองค์ที่มีถึง[[พระยาพหลพลพยุหเสนา]] [[นายกรัฐมนตรี]]ฉบับนี้ อ้างพระราชปรารภของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] แสดงถึง[[ความขัดแย้ง]]ทางความคิดทางการเมืองกับ[[รัฐบาล]]ซึ่งมาจาก[[คณะราษฎร]] | |||
ในเวลานั้นทรงประทับอยู่ ณ พระตำหนักโนล ชานกรุงลอนดอน ภายหลังจากทรงผ่าตัดพระเนตร และไม่มีกำหนดการเสด็จกลับสยาม ระหว่างนั้นได้พระราชทานพระราชบันทึกแสดงพระราชทัศนะทางการเมืองถึงรัฐบาลและรัฐบาลมีหนังสือกราบบังคมทูลพระกรุณาชี้แจงเป็นระยะ ด้วยความคิดเห็นทางการเมืองที่ไม่ตรงกันในรายละเอียด | ในเวลานั้นทรงประทับอยู่ ณ [[พระตำหนักโนล]] ชานกรุงลอนดอน ภายหลังจากทรงผ่าตัดพระเนตร และไม่มีกำหนดการเสด็จกลับสยาม ระหว่างนั้นได้พระราชทานพระราชบันทึกแสดงพระราชทัศนะทางการเมืองถึงรัฐบาลและรัฐบาลมีหนังสือกราบบังคมทูลพระกรุณาชี้แจงเป็นระยะ ด้วยความคิดเห็นทางการเมืองที่ไม่ตรงกันในรายละเอียด แม้จะมีเป้าหมายทาง[[ประชาธิปไตย]]เช่นเดียวกัน จึงทรงมีพระราชประสงค์ที่จะลาออกจากราชสมบัติ | ||
รัฐบาลจัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่ง | รัฐบาลจัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่ง มีเ[[จ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ]] ([[จิตร ณ สงขลา]]) [[ประธานสภาผู้แทนราษฎร]]ในขณะนั้น เป็นประธานเดินทางไปเข้าเฝ้าและกราบบังคมทูลชี้แจง เพื่อให้ทรงล้มเลิกพระราชประสงค์ที่จะลาออกจากราชสมบัติ รวมทั้งกราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินกลับสยาม ซึ่งทรงปฏิเสธ การเจรจากับรัฐบาลดำเนินอยู่นานกว่า ๕ เดือน แต่ไม่เป็นผล ในที่สุดทรงตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติ ออกจากตำแหน่งพระมหากษัตริย์ | ||
'''ที่มา ''' | '''ที่มา ''' |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:57, 10 กุมภาพันธ์ 2559
บันทึกของสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ที่มีถึงพระยาพหลพลพยุหเสนา นายกรัฐมนตรีฉบับนี้ อ้างพระราชปรารภของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แสดงถึงความขัดแย้งทางความคิดทางการเมืองกับรัฐบาลซึ่งมาจากคณะราษฎร
ในเวลานั้นทรงประทับอยู่ ณ พระตำหนักโนล ชานกรุงลอนดอน ภายหลังจากทรงผ่าตัดพระเนตร และไม่มีกำหนดการเสด็จกลับสยาม ระหว่างนั้นได้พระราชทานพระราชบันทึกแสดงพระราชทัศนะทางการเมืองถึงรัฐบาลและรัฐบาลมีหนังสือกราบบังคมทูลพระกรุณาชี้แจงเป็นระยะ ด้วยความคิดเห็นทางการเมืองที่ไม่ตรงกันในรายละเอียด แม้จะมีเป้าหมายทางประชาธิปไตยเช่นเดียวกัน จึงทรงมีพระราชประสงค์ที่จะลาออกจากราชสมบัติ
รัฐบาลจัดตั้งคณะกรรมการคณะหนึ่ง มีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร ณ สงขลา) ประธานสภาผู้แทนราษฎรในขณะนั้น เป็นประธานเดินทางไปเข้าเฝ้าและกราบบังคมทูลชี้แจง เพื่อให้ทรงล้มเลิกพระราชประสงค์ที่จะลาออกจากราชสมบัติ รวมทั้งกราบบังคมทูลเชิญเสด็จพระราชดำเนินกลับสยาม ซึ่งทรงปฏิเสธ การเจรจากับรัฐบาลดำเนินอยู่นานกว่า ๕ เดือน แต่ไม่เป็นผล ในที่สุดทรงตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติ ออกจากตำแหน่งพระมหากษัตริย์
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖