ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสด็จประพาสยุโรป (1)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 1 คน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
หนึ่งปีหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ทรงมีรับสั่งถึงพระราชประสงค์ของการเสด็จพระราชดำเนินครั้งนั้นว่า  
หนึ่งปีหลัง[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] พุทธศักราช ๒๔๗๕ [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]พร้อมด้วย[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี]] ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ทรงมีรับสั่งถึงพระราชประสงค์ของการเสด็จพระราชดำเนินครั้งนั้นว่า  


"เป็นความจำเป็นเพื่อรักษาร่างกายของข้าพเจ้า และข้าพเจ้าจะได้ถือโอกาสเจริญทางพระราชไมตรีกับนานาประเทศให้สนิทสนมยิ่งขึ้น"
"เป็นความจำเป็นเพื่อรักษาร่างกายของข้าพเจ้า และข้าพเจ้าจะได้ถือโอกาสเจริญทางพระราชไมตรีกับนานาประเทศให้สนิทสนมยิ่งขึ้น"
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มเสด็จประพาสช่วงที่สอง โดยได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนอีก ๖ ประเทศที่เหลือ ได้แก่ เดนมาร์ก เยอรมนี เบลเยี่ยม เชโกสโลวาเกีย ฮังการีและสวิตเซอร์แลนด์ จากนั้นจึงได้เสด็จพระราชดำเนินกลับไปประทับ ณ ประเทศอังกฤษ
จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มเสด็จประพาสช่วงที่สอง โดยได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนอีก ๖ ประเทศที่เหลือ ได้แก่ เดนมาร์ก เยอรมนี เบลเยี่ยม เชโกสโลวาเกีย ฮังการีและสวิตเซอร์แลนด์ จากนั้นจึงได้เสด็จพระราชดำเนินกลับไปประทับ ณ ประเทศอังกฤษ


อาจกล่าวได้ว่า นี่เป็นการเสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศของพระมหากษัตริย์ภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก ขณะเดียวกันหลายประเทศที่ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนั้น ก่อนหน้านี้ก็ได้ยินยอมแก้ไขสนธิสัญญาที่ทำให้ไทยตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ  การเสด็จพระราชดำเนินครั้งนี้จึงทรงเป็นองค์พระประมุขของประเทศไทยซึ่งมีสถานะที่เสมอภาคเท่าเทียมกับหลายประเทศที่ได้เสด็จประพาส
อาจกล่าวได้ว่า นี่เป็นการเสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศของ[[พระมหากษัตริย์ภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญ]]เป็นครั้งแรก ขณะเดียวกันหลายประเทศที่ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนั้น ก่อนหน้านี้ก็ได้ยินยอมแก้ไขสนธิสัญญาที่ทำให้ไทยตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ  การเสด็จพระราชดำเนินครั้งนี้จึงทรงเป็นองค์พระประมุขของประเทศไทยซึ่งมีสถานะที่เสมอภาคเท่าเทียมกับหลายประเทศที่ได้เสด็จประพาส
ตลอดระยะเวลากว่า ๗ เดือนของการเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งนั้น เรื่องราวทั้งหมดถูกบันทึกไว้ในจดหมายเหตุเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป พุทธศักราช ๒๔๗๖ – ๒๔๗๗ โดยบรรดาสื่อมวลชนของประเทศต่างๆ ในยุโรปต่างให้ความสนใจติดตามรายงานข่าวพระราชกรณียกิจอย่างต่อเนื่อง  
ตลอดระยะเวลากว่า ๗ เดือนของการเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งนั้น เรื่องราวทั้งหมดถูกบันทึกไว้ในจดหมายเหตุเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป พุทธศักราช ๒๔๗๖ – ๒๔๗๗ โดยบรรดาสื่อมวลชนของประเทศต่างๆ ในยุโรปต่างให้ความสนใจติดตามรายงานข่าวพระราชกรณียกิจอย่างต่อเนื่อง  


บรรทัดที่ 15: บรรทัดที่ 15:
*[https://www.youtube.com/watch?v=Rh51SgsbHrc&index=102&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo  YOU TUBE :หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง : เสด็จประพาสยุโรป 1]
*[https://www.youtube.com/watch?v=Rh51SgsbHrc&index=102&list=PLz3ADrKTT5i0vjsCnIPrpraHExclR_Odo  YOU TUBE :หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง : เสด็จประพาสยุโรป 1]


[[หมวดหมู่:สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ "ประชาธิปไตย"]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกับ "ประชาธิปไตย"|ส]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:44, 10 กุมภาพันธ์ 2559

หนึ่งปีหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พุทธศักราช ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป ทรงมีรับสั่งถึงพระราชประสงค์ของการเสด็จพระราชดำเนินครั้งนั้นว่า

"เป็นความจำเป็นเพื่อรักษาร่างกายของข้าพเจ้า และข้าพเจ้าจะได้ถือโอกาสเจริญทางพระราชไมตรีกับนานาประเทศให้สนิทสนมยิ่งขึ้น" ทรงพระราชอุตสาหะเสด็จประพาสประเทศต่างๆในยุโรปถึง ๙ ประเทศ โดยมีส่วนที่เป็นการเสด็จพระราชดำเนินอย่างเป็นทางการ คือ ที่ฝรั่งเศสและอิตาลี ก่อนจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงรับการผ่าตัดพระเนตรที่กรุงลอนดอนในประเทศอังกฤษ รวมทั้งทรงประกอบพระราชกรณียกิจอื่นๆด้วย

จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเริ่มเสด็จประพาสช่วงที่สอง โดยได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนอีก ๖ ประเทศที่เหลือ ได้แก่ เดนมาร์ก เยอรมนี เบลเยี่ยม เชโกสโลวาเกีย ฮังการีและสวิตเซอร์แลนด์ จากนั้นจึงได้เสด็จพระราชดำเนินกลับไปประทับ ณ ประเทศอังกฤษ

อาจกล่าวได้ว่า นี่เป็นการเสด็จพระราชดำเนินเยือนต่างประเทศของพระมหากษัตริย์ภายใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเป็นครั้งแรก ขณะเดียวกันหลายประเทศที่ได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนนั้น ก่อนหน้านี้ก็ได้ยินยอมแก้ไขสนธิสัญญาที่ทำให้ไทยตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ การเสด็จพระราชดำเนินครั้งนี้จึงทรงเป็นองค์พระประมุขของประเทศไทยซึ่งมีสถานะที่เสมอภาคเท่าเทียมกับหลายประเทศที่ได้เสด็จประพาส ตลอดระยะเวลากว่า ๗ เดือนของการเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งนั้น เรื่องราวทั้งหมดถูกบันทึกไว้ในจดหมายเหตุเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรป พุทธศักราช ๒๔๗๖ – ๒๔๗๗ โดยบรรดาสื่อมวลชนของประเทศต่างๆ ในยุโรปต่างให้ความสนใจติดตามรายงานข่าวพระราชกรณียกิจอย่างต่อเนื่อง

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖