ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทรงแต่งตั้งอภิรัฐมนตรี"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
สามวันหลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าสวรรคต สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เจ้าฟ้าประชาธิปก ศักดิเดชน์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งอภิรัฐมนตรี มีหน้าที่ถวายคำปรึกษาราชการแผ่นดิน  
สามวันหลังจาก[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า]]สวรรคต [[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เจ้าฟ้าประชาธิปก ศักดิเดชน์ฯ]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมประกาศ[[พระบรมราชโองการ]]แต่งตั้ง[[อภิรัฐมนตรี]] มีหน้าที่ถวายคำปรึกษาราชการแผ่นดิน  


สมาชิกประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์อาวุโส  ๕ พระองค์ คือ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์กรมพระนครสวรรค์วรพินิต  สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์  สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ โดยทรงพิจารณาจากประสบการณ์การทรงงานที่ผ่านมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมาชิกประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์อาวุโส  ๕ พระองค์ คือ [[สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์กรมพระนครสวรรค์วรพินิต]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์]] [[สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] และ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ]] โดยทรงพิจารณาจากประสบการณ์การทรงงานที่ผ่านมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


อย่างไรก็ดีเคยรับสั่งแก่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงศ์ พระราชนัดดาไว้ว่า “ถึงแม้จะมี อภิรัฐสภาไว้ถวายความคิดเห็นและคำแนะนำแล้วก็จริง แม้เมื่อจะทรงเห็นด้วยกับคำแนะนำแล้วก็ตาม แต่ในที่สุดพระเจ้าอยู่หัวสมบูรณาญาสิทธิราชย์ก็ต้องทรงรับผิดชอบแต่พระองค์เดียว อันย่อมเป็นพระราชภาระซึ่งหนักอย่างยิ่ง”
อย่างไรก็ดีเคยรับสั่งแก่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงศ์ พระราชนัดดาไว้ว่า “ถึงแม้จะมี [[อภิรัฐสภา]]ไว้ถวายความคิดเห็นและคำแนะนำแล้วก็จริง แม้เมื่อจะทรงเห็นด้วยกับคำแนะนำแล้วก็ตาม แต่ในที่สุดพระเจ้าอยู่หัว[[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]ก็ต้องทรงรับผิดชอบแต่พระองค์เดียว อันย่อมเป็นพระราชภาระซึ่งหนักอย่างยิ่ง”


'''ที่มา '''
'''ที่มา '''

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:13, 22 มกราคม 2559

สามวันหลังจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าสวรรคต สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เจ้าฟ้าประชาธิปก ศักดิเดชน์ฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งอภิรัฐมนตรี มีหน้าที่ถวายคำปรึกษาราชการแผ่นดิน

สมาชิกประกอบด้วยพระบรมวงศานุวงศ์อาวุโส ๕ พระองค์ คือ สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์กรมพระนครสวรรค์วรพินิต สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระนริศรานุวัดติวงษ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันทบุรีนฤนาถ โดยทรงพิจารณาจากประสบการณ์การทรงงานที่ผ่านมาตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อย่างไรก็ดีเคยรับสั่งแก่พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงศ์ พระราชนัดดาไว้ว่า “ถึงแม้จะมี อภิรัฐสภาไว้ถวายความคิดเห็นและคำแนะนำแล้วก็จริง แม้เมื่อจะทรงเห็นด้วยกับคำแนะนำแล้วก็ตาม แต่ในที่สุดพระเจ้าอยู่หัวสมบูรณาญาสิทธิราชย์ก็ต้องทรงรับผิดชอบแต่พระองค์เดียว อันย่อมเป็นพระราชภาระซึ่งหนักอย่างยิ่ง”

ที่มา

บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖