ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แนวประชาธิปไตย (พ.ศ. 2511)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 7:
----
----


 
==พรรคแนวประชาธิปไตย==
'''พรรคแนวประชาธิปไตย'''


พรรคแนว[[ประชาธิปไตย]] เป็น[[พรรคการเมือง]]ที่จดทะเบียนจัดตั้งตาม[[พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511]] โดยได้ยื่นจดทะเบียนต่อ[[ปลัดกระทรวง]]มหาดไทยในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ทะเบียนเลขที่ 3/2511 โดยมี[[หัวหน้าพรรค]]คือ นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน และมีรองหัวหน้าพรรค 4 คน คือ นายบุญเย็น วอทอง นายวรพจน์ วงศ์สง่า พันตรี สมาน ทองอร่าม และนายเกริก ระวังภัย [[เลขาธิการพรรค]]คือ นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน และกรรมการอำนวยการอื่น ได้แก่ นายยิ่ง สิทธิธรรม นายไพทัน เครือแก้ว ณ ลำพูน นายประจวบ ไชยสาส์น นายปรีชา สามัคคีธรรม นายทอง ดาวเรือง นายชม ภูมิภาค นายสนอง บุญไชย นายปวิธ วัฒนอัมพร นายล้วน ไชยทองศรี และนายทอง วงศ์สง่า
พรรคแนว[[ประชาธิปไตย]] เป็น[[พรรคการเมือง]]ที่จดทะเบียนจัดตั้งตาม[[พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511]] โดยได้ยื่นจดทะเบียนต่อ[[ปลัดกระทรวง]]มหาดไทยในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ทะเบียนเลขที่ 3/2511 โดยมี[[หัวหน้าพรรค]]คือ นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน และมีรองหัวหน้าพรรค 4 คน คือ นายบุญเย็น วอทอง นายวรพจน์ วงศ์สง่า พันตรี สมาน ทองอร่าม และนายเกริก ระวังภัย [[เลขาธิการพรรค]]คือ นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน และกรรมการอำนวยการอื่น ได้แก่ นายยิ่ง สิทธิธรรม นายไพทัน เครือแก้ว ณ ลำพูน นายประจวบ ไชยสาส์น นายปรีชา สามัคคีธรรม นายทอง ดาวเรือง นายชม ภูมิภาค นายสนอง บุญไชย นายปวิธ วัฒนอัมพร นายล้วน ไชยทองศรี และนายทอง วงศ์สง่า
พรรคแนวประชาธิปไตย ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีอุดมการณ์ก้าวหน้าและมีความจริงจัง กลุ่มผู้ร่วมก่อตั้งพรรคมีที่มาจากหลากหลายสาขาอาชีพ และส่วนใหญ่มีการศึกษาสูง พรรคแนวประชาธิปไตย มีคำขวัญคือ “ชาติ เกียรติภูมิ และความเป็นธรรม” และมีอุดมการณ์ยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ศาสนา และประชาชน โดยพรรคแนวประชาธิปไตยถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ และเป็นสัญลักษณ์แห่งเอกภาพของชาติไทย จึงขอยกย่องเชิดชูไว้เหนือกิจกรรมการเมืองใด ๆ โดยผู้ใดจะละเมิดมิได้
พรรคแนวประชาธิปไตย ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีอุดมการณ์ก้าวหน้าและมีความจริงจัง กลุ่มผู้ร่วมก่อตั้งพรรคมีที่มาจากหลากหลายสาขาอาชีพ และส่วนใหญ่มีการศึกษาสูง พรรคแนวประชาธิปไตย มีคำขวัญคือ “ชาติ เกียรติภูมิ และความเป็นธรรม” และมีอุดมการณ์ยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ศาสนา และประชาชน โดยพรรคแนวประชาธิปไตยถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ และเป็นสัญลักษณ์แห่งเอกภาพของชาติไทย จึงขอยกย่องเชิดชูไว้เหนือกิจกรรมการเมืองใด ๆ โดยผู้ใดจะละเมิดมิได้


 
==[[อุดมการณ์]]ของพรรคแนวประชาธิปไตย==
'''[[อุดมการณ์]]ของพรรคแนวประชาธิปไตย'''


สำหรับสถาบันศาสนานั้น พรรคแนวประชาประชาธิปไตย ถือว่าบุคคลย่อมมี[[เสรีภาพ]]บริบูรณ์ในการนับถือศาสนา นิกายของศาสนา หรือลัทธินิยมในทางศาสนา และย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อของตนเมื่อไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของพลเมือง และไม่เป็นการขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน  
สำหรับสถาบันศาสนานั้น พรรคแนวประชาประชาธิปไตย ถือว่าบุคคลย่อมมี[[เสรีภาพ]]บริบูรณ์ในการนับถือศาสนา นิกายของศาสนา หรือลัทธินิยมในทางศาสนา และย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อของตนเมื่อไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของพลเมือง และไม่เป็นการขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน  
บรรทัดที่ 20: บรรทัดที่ 18:
พรรคแนวประชาธิปไตยจะส่งเสริมให้มีการก่อตั้งสถาบันของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้เป็นองค์การในการแสดงออก และปฏิบัติตามเจตจำนงทางการเมืองของประชาชนนั้น จะเป็นไปโดยผ่านสภาผู้แทน หรือโดยตรงด้วยกลไกของสถาบันของประชาชนเองในระดับท้องถิ่น พรรคแนวประชาธิปไตยจะต่อสู้เพื่อให้สถาบันของประชาชนที่ก่อตั้งขึ้นมาโดยชอบด้วยกฎหมาย ได้รับการปกป้องคุ้มครองปราศจากการแทรกแซงบ่อนทำลายจากสถาบันอื่นใดโดยเด็ดขาด
พรรคแนวประชาธิปไตยจะส่งเสริมให้มีการก่อตั้งสถาบันของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้เป็นองค์การในการแสดงออก และปฏิบัติตามเจตจำนงทางการเมืองของประชาชนนั้น จะเป็นไปโดยผ่านสภาผู้แทน หรือโดยตรงด้วยกลไกของสถาบันของประชาชนเองในระดับท้องถิ่น พรรคแนวประชาธิปไตยจะต่อสู้เพื่อให้สถาบันของประชาชนที่ก่อตั้งขึ้นมาโดยชอบด้วยกฎหมาย ได้รับการปกป้องคุ้มครองปราศจากการแทรกแซงบ่อนทำลายจากสถาบันอื่นใดโดยเด็ดขาด


 
==นโยบายของพรรคแนวประชาธิปไตย==
'''นโยบายของพรรคแนวประชาธิปไตย'''


นโยบายด้านการเมืองภายในประเทศ พรรคแนวประชาธิปไตยจะมุ่งก่อตั้งและเสริมสร้าง[[สถาบันการเมือง]] เพื่อเป็นรากฐานของระบอบประชาธิปไตย โดยจะให้สถาบันทางการเมืองนี้เป็นสถาบันของประชาชนอันแท้จริง สำหรับควบคุมการบริหารท้องถิ่นและการบริหารประเทศ จะตั้งมาตรการเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของชาติให้เกิดพลังความสามัคคีระหว่างคนในชาติ ไม่ให้คนไทยต้องแตกแยกกันเอง จะปรับปรุงระบบและสถาบันราชการเสียใหม่ เพื่อขจัดอุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อขจัดลัทธิความเป็นเจ้านายของข้าราชการ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนกับราชการของรัฐ และเพื่อขจัดคอร์รัปชั่นให้หมดสิ้นไปจากวงการบริหารของประเทศ
นโยบายด้านการเมืองภายในประเทศ พรรคแนวประชาธิปไตยจะมุ่งก่อตั้งและเสริมสร้าง[[สถาบันการเมือง]] เพื่อเป็นรากฐานของระบอบประชาธิปไตย โดยจะให้สถาบันทางการเมืองนี้เป็นสถาบันของประชาชนอันแท้จริง สำหรับควบคุมการบริหารท้องถิ่นและการบริหารประเทศ จะตั้งมาตรการเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของชาติให้เกิดพลังความสามัคคีระหว่างคนในชาติ ไม่ให้คนไทยต้องแตกแยกกันเอง จะปรับปรุงระบบและสถาบันราชการเสียใหม่ เพื่อขจัดอุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อขจัดลัทธิความเป็นเจ้านายของข้าราชการ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนกับราชการของรัฐ และเพื่อขจัดคอร์รัปชั่นให้หมดสิ้นไปจากวงการบริหารของประเทศ
บรรทัดที่ 34: บรรทัดที่ 31:
ในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พรรคแนวประชาธิปไตยส่งผู้สมัครลงแข่งขันรับเลือกตั้งและได้รับการเลือกตั้งเพียง 1 ที่นั่งเท่านั้น ส่วนพรรคที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ พรรคสหประชาไทย 95 ที่นั่ง รองมาคือ พรรคประชาธิปัตย์ 50 ที่นั่ง พรรคแนวร่วมเศรษฐกร 4 ที่นั่ง พรรคสัมมาชีพช่วยชาวนา พรรคประชาชน พรรคเสรีประชาธิปไตยได้พรรคละ 1 ที่นั่งเช่นเดียวกัน  
ในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พรรคแนวประชาธิปไตยส่งผู้สมัครลงแข่งขันรับเลือกตั้งและได้รับการเลือกตั้งเพียง 1 ที่นั่งเท่านั้น ส่วนพรรคที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ พรรคสหประชาไทย 95 ที่นั่ง รองมาคือ พรรคประชาธิปัตย์ 50 ที่นั่ง พรรคแนวร่วมเศรษฐกร 4 ที่นั่ง พรรคสัมมาชีพช่วยชาวนา พรรคประชาชน พรรคเสรีประชาธิปไตยได้พรรคละ 1 ที่นั่งเช่นเดียวกัน  


 
==ที่มา==
'''ที่มา'''


'''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่มที่ 85 ตอนที่ 117 ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2511 หน้า 3463-3470
'''ราชกิจจานุเบกษา''' เล่มที่ 85 ตอนที่ 117 ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2511 หน้า 3463-3470
บรรทัดที่ 42: บรรทัดที่ 38:


เสริมศักดิ์  พงษ์พานิช, '''การสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมืองในประเทศไทย''', วิทยานิพนธ์หลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519
เสริมศักดิ์  พงษ์พานิช, '''การสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมืองในประเทศไทย''', วิทยานิพนธ์หลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519


[[หมวดหมู่:รายชื่อพรรคการเมืองไทย|นแนวประชาธิปไตย(พ.ศ.2511)]]
[[หมวดหมู่:รายชื่อพรรคการเมืองไทย|นแนวประชาธิปไตย(พ.ศ.2511)]]
[[หมวดหมู่:ชาย ไชยชิต]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:57, 4 ตุลาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ชาย ไชยชิต


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


พรรคแนวประชาธิปไตย

พรรคแนวประชาธิปไตย เป็นพรรคการเมืองที่จดทะเบียนจัดตั้งตามพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2511 โดยได้ยื่นจดทะเบียนต่อปลัดกระทรวงมหาดไทยในฐานะนายทะเบียนพรรคการเมือง เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ทะเบียนเลขที่ 3/2511 โดยมีหัวหน้าพรรคคือ นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน และมีรองหัวหน้าพรรค 4 คน คือ นายบุญเย็น วอทอง นายวรพจน์ วงศ์สง่า พันตรี สมาน ทองอร่าม และนายเกริก ระวังภัย เลขาธิการพรรคคือ นายไพฑูรย์ เครือแก้ว ณ ลำพูน และกรรมการอำนวยการอื่น ได้แก่ นายยิ่ง สิทธิธรรม นายไพทัน เครือแก้ว ณ ลำพูน นายประจวบ ไชยสาส์น นายปรีชา สามัคคีธรรม นายทอง ดาวเรือง นายชม ภูมิภาค นายสนอง บุญไชย นายปวิธ วัฒนอัมพร นายล้วน ไชยทองศรี และนายทอง วงศ์สง่า พรรคแนวประชาธิปไตย ก่อตั้งขึ้นโดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่มีอุดมการณ์ก้าวหน้าและมีความจริงจัง กลุ่มผู้ร่วมก่อตั้งพรรคมีที่มาจากหลากหลายสาขาอาชีพ และส่วนใหญ่มีการศึกษาสูง พรรคแนวประชาธิปไตย มีคำขวัญคือ “ชาติ เกียรติภูมิ และความเป็นธรรม” และมีอุดมการณ์ยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ ศาสนา และประชาชน โดยพรรคแนวประชาธิปไตยถือว่าพระมหากษัตริย์เป็นที่เคารพสักการะ และเป็นสัญลักษณ์แห่งเอกภาพของชาติไทย จึงขอยกย่องเชิดชูไว้เหนือกิจกรรมการเมืองใด ๆ โดยผู้ใดจะละเมิดมิได้

อุดมการณ์ของพรรคแนวประชาธิปไตย

สำหรับสถาบันศาสนานั้น พรรคแนวประชาประชาธิปไตย ถือว่าบุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการนับถือศาสนา นิกายของศาสนา หรือลัทธินิยมในทางศาสนา และย่อมมีเสรีภาพในการปฏิบัติพิธีกรรมตามความเชื่อของตนเมื่อไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าที่ของพลเมือง และไม่เป็นการขัดขวางต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พรรคแนวประชาธิปไตยถือว่าประชาชนคือเจ้าของประเทศ ดังนั้น อำนาจสูงสุดในการปกครองจะต้องมาจากประชาชนโดยแท้จริง สถาบันของประชาชนในความหมายของพรรคแนวประชาธิปไตยคือ สถาบันที่ประชาชนชาวไทยทุกระดับได้ทำการก่อตั้งขึ้นโดยชอบด้วยกฎหมายในการที่จะรวมกันในการต่อสู้เพื่อธำรงไว้ซึ่งสิทธิตามกฎหมายและสิทธิในการที่จะได้รับผลประโยชน์ทางสังคมโดยเท่าเทียม และรวมกันเพื่อต่อสู้เพื่อธำรงไว้ซึ่งสิทธิตามกฎหมายและสิทธิในการที่จะได้รับผลประโยชน์ทางสังคมโดยเท่าเทียมกัน และรวมกันเพื่อต่อสู้กับความอยุติธรรมในสังคม หรือเป็นสถาบันทางเศรษฐกิจ เพื่อรวมพลังในการผลิตให้มีประสิทธิภาพ และอำนวยผลประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง และรักษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของประชาชนเอง พรรคแนวประชาธิปไตยจะส่งเสริมให้มีการก่อตั้งสถาบันของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้เป็นองค์การในการแสดงออก และปฏิบัติตามเจตจำนงทางการเมืองของประชาชนนั้น จะเป็นไปโดยผ่านสภาผู้แทน หรือโดยตรงด้วยกลไกของสถาบันของประชาชนเองในระดับท้องถิ่น พรรคแนวประชาธิปไตยจะต่อสู้เพื่อให้สถาบันของประชาชนที่ก่อตั้งขึ้นมาโดยชอบด้วยกฎหมาย ได้รับการปกป้องคุ้มครองปราศจากการแทรกแซงบ่อนทำลายจากสถาบันอื่นใดโดยเด็ดขาด

นโยบายของพรรคแนวประชาธิปไตย

นโยบายด้านการเมืองภายในประเทศ พรรคแนวประชาธิปไตยจะมุ่งก่อตั้งและเสริมสร้างสถาบันการเมือง เพื่อเป็นรากฐานของระบอบประชาธิปไตย โดยจะให้สถาบันทางการเมืองนี้เป็นสถาบันของประชาชนอันแท้จริง สำหรับควบคุมการบริหารท้องถิ่นและการบริหารประเทศ จะตั้งมาตรการเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของชาติให้เกิดพลังความสามัคคีระหว่างคนในชาติ ไม่ให้คนไทยต้องแตกแยกกันเอง จะปรับปรุงระบบและสถาบันราชการเสียใหม่ เพื่อขจัดอุปสรรคในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อขจัดลัทธิความเป็นเจ้านายของข้าราชการ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและความสัมพันธ์อันดีระหว่างประชาชนกับราชการของรัฐ และเพื่อขจัดคอร์รัปชั่นให้หมดสิ้นไปจากวงการบริหารของประเทศ

พรรคแนวประชาธิปไตยจะส่งเสริมการกระจายอำนาจและความเจริญด้านต่าง ๆ ไปสู่ท้องถิ่น และไปสู่ประชาชนให้มากที่สุด การกระจายอำนาจไปสู่ประชาชนนั้น รวมไปถึงการปรับปรุงระบบการทำงานราชการฝ่ายจับกุม ปราบปราม และสอบสวน ซึ่งนอกจากการควบคุมจากประชาชนโดยตรง หรือโดยทางอ้อมแล้ว อำนาจการจับกุม ปราบปราม สอบสวนจะต้องแยกออกจากกันโดยเด็ดขาด มิใช่ไปอยู่กับตำรวจแต่ฝ่ายเดียว

นโยบายด้านการต่างประเทศ พรรคแนวประชาธิปไตยจะยึดถือไว้ซึ่งอธิปไตย เกียรติภูมิของชาติไทยและคนไทยเป็นหลักในการดำเนินนโยบายและยึดถือสันติภาพ ความเข้าใจอันดีและความถูกต้องเป็นหลักในการวินิจฉัยปัญหาและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ

นโยบายด้านเศรษฐกิจและสังคม พรรคแนวประชาธิปไตยจะตั้งมาตรการเพื่อเพิ่มผลผลิตอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมให้เพิ่มพูนรายได้ของประเทศ ก่อให้เกิดอิสรภาพทางเศรษฐกิจและความสมบูรณ์พูนสุขแก่ปวงชนชาวไทย จะประกันให้คนไทยทุกคนมีงานทำ และมีรายได้เพียงพอแก่ความต้องการ โดยจัดวางมาตรการให้มีการลงทุนด้านอุตสาหกรรมจากภายในและภายนอกประเทศอย่างขนานใหญ่ และจัดระบบการพัฒนาเกษตรกรรมของชาติเสียใหม่ จะกำจัดวัฒนธรรมและความนิยมสมัยใหม่อันขัดต่อศีลธรรมอันดีงามของชาวไทย และจะจัดให้ประชาชนทุกท้องถิ่นได้รับการบริหารในการรักษาพยาบาลอย่างทั่วถึง โดยมีนายแพทย์และสถานพยาบาลที่ถูกต้องตามมาตรฐานการแพทย์สมัยใหม่ คอยให้บริการในการรักษาโรค ให้คำแนะนำด้านอนามัยแก่ประชาชนโดยไม่คิดมูลค่า จะมียาและเวชภัณฑ์ที่ถูกต้อง มีประสิทธิภาพตามหลักการแพทย์อย่างเพียงพอไว้บริการประชาชนในราคาต่ำที่ได้สัดส่วนกับรายได้ของประชาชนในแต่ละท้องถิ่น นโยบายด้านการศึกษา พรรคแนวประชาธิปไตยถือว่าการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติ โดยจะให้มีการศึกษาโดยไม่คิดมูลค่าแก่เยาวชนไทยทุกคนโดยเสมอหน้ากันจนสุดขีดแห่งความสามารถ จะส่งเสริมให้มีการจัดรูปแบบและเนื้อหาของการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายเศรษฐกิจและความต้องการของประเทศ เพื่อให้ผู้สำเร็จการศึกษาทุกคนมีงานทำ และมุ่งพัฒนาคุณภาพปัจจัยในการจัดการศึกษาแก่เยาวชนให้เท่าเทียมและเสมอหน้ากันโดยตลอด

ในการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พรรคแนวประชาธิปไตยส่งผู้สมัครลงแข่งขันรับเลือกตั้งและได้รับการเลือกตั้งเพียง 1 ที่นั่งเท่านั้น ส่วนพรรคที่ได้รับการเลือกตั้งมากที่สุดคือ พรรคสหประชาไทย 95 ที่นั่ง รองมาคือ พรรคประชาธิปัตย์ 50 ที่นั่ง พรรคแนวร่วมเศรษฐกร 4 ที่นั่ง พรรคสัมมาชีพช่วยชาวนา พรรคประชาชน พรรคเสรีประชาธิปไตยได้พรรคละ 1 ที่นั่งเช่นเดียวกัน

ที่มา

ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 85 ตอนที่ 117 ลงวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2511 หน้า 3463-3470

สุจิต บุญบงการ, การพัฒนาการเมืองของไทย: ปฏิสัมพันธ์ระหว่างทหาร สถาบันทางการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน, กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531

เสริมศักดิ์ พงษ์พานิช, การสมัครรับเลือกตั้งในนามของพรรคการเมืองในประเทศไทย, วิทยานิพนธ์หลักสูตรชั้นปริญญาโท ภาค 2 ทางรัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2519