ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' วีระศักดิ์ กีรติวรนันท์ ---- '''ผู้ท...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
==ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย (ศรท.)==
==ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย (ศรท.)==


ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย (ศรท.) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2515 จากมติของตัวแทนนักเรียน 20 สถาบัน ซึ่งรวมกลุ่มกันภายหลังจากการเข้าร่วมเคลื่อนไหวต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น  
ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย(ศรท.) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2515 จากมติของตัวแทนนักเรียน 20 สถาบัน ซึ่งรวมกลุ่มกันภายหลังจากการเข้าร่วมเคลื่อนไหวต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น  
ในระยะแรก ศรท. มีผู้ปฏิบัติงานเพียงไม่กี่คน จนกระทั่งเดือนเมษายน 2516 หลังจาก ศรท. พิมพ์หนังสือชื่อ กด กด กด กด ออกเผยแพร่ในหมู่นักเรียนและประชาชนทั่วไป ทำให้ ศรท. เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ศรท. ไม่เป็นที่ยอมรับจากโรงเรียนและทางราชการ  
ในระยะแรก ศรท. มีผู้ปฏิบัติงานเพียงไม่กี่คน จนกระทั่งเดือนเมษายน 2516 หลังจาก ศรท. พิมพ์หนังสือชื่อ "กด กด กด กด" ออกเผยแพร่ในหมู่นักเรียนและประชาชนทั่วไป ทำให้ ศรท. เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ศรท. ไม่เป็นที่ยอมรับจากโรงเรียนและทาง[[ราชการ]]  


ศรท. และนักเรียนหลายกลุ่ม ได้เข้าร่วมการประท้วง ดร.ศักดิ์ ผาสุกนิรันดร์ กรณีลบชื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง 9 คน จนกระทรวงศึกษาธิการสั่งห้ามนักเรียนนักศึกษาในสังกัดห้ามเกี่ยวข้องกับกรณีนี้ ต่อจากนั้นยังมีการเข้าร่วมกับกรณีการเรียกร้องรัฐธรรมนูญอันต่อเนื่องมาจนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ศรท. และนักเรียนหลายกลุ่ม ได้เข้าร่วมการประท้วง ดร.ศักดิ์ ผาสุกนิรันดร์ กรณีลบชื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง 9 คน จนกระทรวงศึกษาธิการสั่งห้ามนักเรียนนักศึกษาในสังกัดห้ามเกี่ยวข้องกับกรณีนี้ ต่อจากนั้นยังมีการเข้าร่วมกับกรณีการเรียกร้อง[[รัฐธรรมนูญ]]อันต่อเนื่องมาจนเกิด[[เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516]]


ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ทำให้จำนวนผู้ปฏิบัติงานของ ศรท. เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วจนทำให้สำนักงานของ ศรท. ที่สมาคมครูและผู้ปกครองของโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ถนนสามเสน คับแคบลงไป  
ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ทำให้จำนวนผู้ปฏิบัติงานของ ศรท. เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วจนทำให้สำนักงานของ ศรท. ที่สมาคมครูและผู้ปกครองของโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ถนนสามเสน คับแคบลงไป  


ศรท. ได้จัดโครงการ “ประชาธิปไตยในโรงเรียน” ขึ้นมา โดยจัดสัมมนาตัวแทนนักเรียนจาก 150 โรงเรียน แล้วต่อมาก็เชิญครูใหญ่มาสัมมนาร่วมกับตัวแทนนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง โดยมุ่งรณรงค์ให้มีสภานักเรียนขึ้นในทุกโรงเรียน นอกจากนี้ ศรท. ได้จัดส่งผู้ปฏิบัติงานเดินทางไปอภิปรายตามโรงเรียนต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ซึ่งในที่สุดกระทรวงศึกษาธิการก็ประกาศให้โรงเรียนต่างๆ มีสภานักเรียน
ศรท. ได้จัด[[โครงการ “ประชาธิปไตยในโรงเรียน”]] ขึ้นมา โดยจัดสัมมนาตัวแทนนักเรียนจาก 150 โรงเรียน แล้วต่อมาก็เชิญครูใหญ่มาสัมมนาร่วมกับตัวแทนนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง โดยมุ่งรณรงค์ให้มีสภานักเรียนขึ้นในทุกโรงเรียน นอกจากนี้ ศรท. ได้จัดส่งผู้ปฏิบัติงานเดินทางไปอภิปรายตามโรงเรียนต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ซึ่งในที่สุดกระทรวงศึกษาธิการก็ประกาศให้โรงเรียนต่างๆ มีสภานักเรียน


ศรท. ได้จัดสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนในเรื่องหลักสูตรการศึกษา หลังจากนั้นได้จัดหาตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ มาร่วมกันค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ เกี่ยวกับหลักสูตร อันนำไปสู่การจัดพิมพ์หนังสือชื่อ ชำแหละหลักสูตร นอกจากนี้ ยังได้สรุปเนื้อหา ข้อเสนอแนะต่างๆ จัดแสดงไว้ในนิทรรศการ “โฉมหน้าการศึกษาไทย” ในเดือนธันวาคม 2517 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศรท. ได้จัดสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนในเรื่องหลักสูตรการศึกษา หลังจากนั้นได้จัดหาตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ มาร่วมกันค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ เกี่ยวกับหลักสูตร อันนำไปสู่การจัดพิมพ์หนังสือชื่อ ชำแหละหลักสูตร นอกจากนี้ ยังได้สรุปเนื้อหา ข้อเสนอแนะต่างๆ จัดแสดงไว้ในนิทรรศการ “โฉมหน้าการศึกษาไทย” ในเดือนธันวาคม 2517 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บรรทัดที่ 21: บรรทัดที่ 21:
นอกจากนี้ ศรท. ได้จัดโครงการแลกเปลี่ยนตำราเรียนและรับบริจาคหนังสือเรียน เพื่อแจกจ่ายให้กับผู้ที่ขาดแคลนในชนบท, โครงการจัดค่ายนักเรียนในชนบท, โครงการจัดหาเงินทุนเพื่อใช้จ่ายในกิจกรรมขององค์กร, โครงการจัดการศึกษาค้นคว้าในส่วนผู้ปฏิบัติงาน, การรณรงค์ทางวัฒนธรรมและความคิดผ่านทางคณะละครกับวงดนตรีของ ศรท.,  
นอกจากนี้ ศรท. ได้จัดโครงการแลกเปลี่ยนตำราเรียนและรับบริจาคหนังสือเรียน เพื่อแจกจ่ายให้กับผู้ที่ขาดแคลนในชนบท, โครงการจัดค่ายนักเรียนในชนบท, โครงการจัดหาเงินทุนเพื่อใช้จ่ายในกิจกรรมขององค์กร, โครงการจัดการศึกษาค้นคว้าในส่วนผู้ปฏิบัติงาน, การรณรงค์ทางวัฒนธรรมและความคิดผ่านทางคณะละครกับวงดนตรีของ ศรท.,  


บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของ ศรท. คือการทำหน้าที่ประสานงานองค์กรนักเรียนต่างๆ ร่วมไปกับการเข้าร่วมการเรียกร้องต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยกับ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศรท.) และองค์กรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอื่นๆ จนในที่สุดต้องยุติบทบาทลงทั้งหมดจากเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519  
บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของ ศรท. คือการทำหน้าที่ประสานงานองค์กรนักเรียนต่างๆ ร่วมไปกับการเข้าร่วมการเรียกร้องต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยกับ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศรท.) และองค์กรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอื่นๆ จนในที่สุดต้องยุติบทบาทลงทั้งหมดจาก[[6 ตุลาคม 2519|เหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519]]


==ที่มา==
==ที่มา==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:17, 29 มิถุนายน 2554

ผู้เรียบเรียง วีระศักดิ์ กีรติวรนันท์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย (ศรท.)

ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย(ศรท.) ก่อตั้งขึ้นในวันที่ 18 พฤศจิกายน 2515 จากมติของตัวแทนนักเรียน 20 สถาบัน ซึ่งรวมกลุ่มกันภายหลังจากการเข้าร่วมเคลื่อนไหวต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น ในระยะแรก ศรท. มีผู้ปฏิบัติงานเพียงไม่กี่คน จนกระทั่งเดือนเมษายน 2516 หลังจาก ศรท. พิมพ์หนังสือชื่อ "กด กด กด กด" ออกเผยแพร่ในหมู่นักเรียนและประชาชนทั่วไป ทำให้ ศรท. เป็นที่รู้จักในวงกว้างมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ศรท. ไม่เป็นที่ยอมรับจากโรงเรียนและทางราชการ

ศรท. และนักเรียนหลายกลุ่ม ได้เข้าร่วมการประท้วง ดร.ศักดิ์ ผาสุกนิรันดร์ กรณีลบชื่อนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง 9 คน จนกระทรวงศึกษาธิการสั่งห้ามนักเรียนนักศึกษาในสังกัดห้ามเกี่ยวข้องกับกรณีนี้ ต่อจากนั้นยังมีการเข้าร่วมกับกรณีการเรียกร้องรัฐธรรมนูญอันต่อเนื่องมาจนเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516

ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ทำให้จำนวนผู้ปฏิบัติงานของ ศรท. เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็วจนทำให้สำนักงานของ ศรท. ที่สมาคมครูและผู้ปกครองของโรงเรียนเซนต์คาเบรียล ถนนสามเสน คับแคบลงไป

ศรท. ได้จัดโครงการ “ประชาธิปไตยในโรงเรียน” ขึ้นมา โดยจัดสัมมนาตัวแทนนักเรียนจาก 150 โรงเรียน แล้วต่อมาก็เชิญครูใหญ่มาสัมมนาร่วมกับตัวแทนนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง โดยมุ่งรณรงค์ให้มีสภานักเรียนขึ้นในทุกโรงเรียน นอกจากนี้ ศรท. ได้จัดส่งผู้ปฏิบัติงานเดินทางไปอภิปรายตามโรงเรียนต่างๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด ซึ่งในที่สุดกระทรวงศึกษาธิการก็ประกาศให้โรงเรียนต่างๆ มีสภานักเรียน

ศรท. ได้จัดสำรวจความคิดเห็นของนักเรียนในเรื่องหลักสูตรการศึกษา หลังจากนั้นได้จัดหาตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียนต่างๆ มาร่วมกันค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์ เกี่ยวกับหลักสูตร อันนำไปสู่การจัดพิมพ์หนังสือชื่อ ชำแหละหลักสูตร นอกจากนี้ ยังได้สรุปเนื้อหา ข้อเสนอแนะต่างๆ จัดแสดงไว้ในนิทรรศการ “โฉมหน้าการศึกษาไทย” ในเดือนธันวาคม 2517 ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

นอกจากนี้ ศรท. ได้จัดโครงการแลกเปลี่ยนตำราเรียนและรับบริจาคหนังสือเรียน เพื่อแจกจ่ายให้กับผู้ที่ขาดแคลนในชนบท, โครงการจัดค่ายนักเรียนในชนบท, โครงการจัดหาเงินทุนเพื่อใช้จ่ายในกิจกรรมขององค์กร, โครงการจัดการศึกษาค้นคว้าในส่วนผู้ปฏิบัติงาน, การรณรงค์ทางวัฒนธรรมและความคิดผ่านทางคณะละครกับวงดนตรีของ ศรท.,

บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของ ศรท. คือการทำหน้าที่ประสานงานองค์กรนักเรียนต่างๆ ร่วมไปกับการเข้าร่วมการเรียกร้องต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยกับ ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย (ศรท.) และองค์กรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยอื่นๆ จนในที่สุดต้องยุติบทบาทลงทั้งหมดจากเหตุการณ์วันที่ 6 ตุลาคม 2519

ที่มา

แสงชัย. เล่าเรื่อง “ยุวชนสยาม” นักเรียนกลุ่มแรกที่ขบถต่อระบบการศึกษา. ปาจารยสาร ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม-พฤศจิกายน 2527). หน้า 33-45.

ปิยวัลย์. บางส่วนแห่งกาลเวลากับงานใหญ่ของเด็กน้อย: ศูนย์กลางนักเรียนแห่งประเทศไทย (ศรท.). ปาจารยสาร ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม-มิถุนายน 2528). หน้า 49-56.