ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใบเหลือง"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 5: | ||
'''ใบเหลือง''' | '''ใบเหลือง''' | ||
การใช้อำนาจของ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)]] ตามมาตรา 85/7 | การใช้อำนาจของ[[คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)]] ตามมาตรา 85/7 แห่ง[[พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541|พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541]] บัญญัติว่า “เมื่อมีการนับ[[คะแนนเลือกตั้ง]]แล้ว ถ้าปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า[[การเลือกตั้งแบบแบ่งเขต]]เลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใด มิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งจะงด[[ประกาศผลเลือกตั้ง]] และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งนั้นก็ได้” ประกอบกับมาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2541 บัญญัติให้การลงมติของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการประกาศผลการเลือกตั้งให้ใช้คะแนนเสียง[[เอกฉันท์]] | ||
บทบัญญัติดังกล่าวใช้กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และบทบัญญัติมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541 ให้นำมาใช้บังคับแก่การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาด้วย | บทบัญญัติดังกล่าวใช้กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และบทบัญญัติมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541 ให้นำมาใช้บังคับแก่การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาด้วย | ||
ดังนั้น การที่ กกต. ไม่[[ประกาศรับรองผลการเลือกตั้ง]]ให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือไม่มีมติเป็นเอกฉันท์ในการรับรองผลการเลือกตั้งดังกล่าวแก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับคะแนนสูงสุด หรืออยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับการประกาศให้เป็นสมาชิกวุฒิสภา เนื่องจากมีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า การเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ทำให้ในเขตเลือกตั้งนั้นจะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่โดยอัตโนมัติ ผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดหรืออยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับการประกาศให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา แต่ไม่ได้รับการรับรองผลหรือประกาศจาก กกต. เรียกว่าผู้นั้นได้รับ “ใบเหลือง” | ดังนั้น การที่ กกต. ไม่[[ประกาศรับรองผลการเลือกตั้ง]]ให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้ง[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร]]หรือสมาชิกวุฒิสภา หรือไม่มีมติเป็นเอกฉันท์ในการรับรองผลการเลือกตั้งดังกล่าวแก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับคะแนนสูงสุด หรืออยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับการประกาศให้เป็นสมาชิกวุฒิสภา เนื่องจากมีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า การเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ทำให้ในเขตเลือกตั้งนั้นจะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่โดยอัตโนมัติ ผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดหรืออยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับการประกาศให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา แต่ไม่ได้รับการรับรองผลหรือประกาศจาก กกต. เรียกว่าผู้นั้นได้รับ “ใบเหลือง” |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:14, 7 กันยายน 2553
ผู้เรียบเรียง รศ.ดร.กมลชัย รัตนสกาววงศ์
ใบเหลือง
การใช้อำนาจของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ตามมาตรา 85/7 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541 บัญญัติว่า “เมื่อมีการนับคะแนนเลือกตั้งแล้ว ถ้าปรากฏหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่าการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งใด มิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม คณะกรรมการการเลือกตั้งจะงดประกาศผลเลือกตั้ง และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งนั้นก็ได้” ประกอบกับมาตรา 8 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.2541 บัญญัติให้การลงมติของคณะกรรมการการเลือกตั้งในการประกาศผลการเลือกตั้งให้ใช้คะแนนเสียงเอกฉันท์
บทบัญญัติดังกล่าวใช้กับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และบทบัญญัติมาตรา 90 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ.2541 ให้นำมาใช้บังคับแก่การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาด้วย
ดังนั้น การที่ กกต. ไม่ประกาศรับรองผลการเลือกตั้งให้แก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา หรือไม่มีมติเป็นเอกฉันท์ในการรับรองผลการเลือกตั้งดังกล่าวแก่ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ได้รับคะแนนสูงสุด หรืออยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับการประกาศให้เป็นสมาชิกวุฒิสภา เนื่องจากมีหลักฐานอันควรเชื่อได้ว่า การเลือกตั้งนั้นมิได้เป็นไปโดยสุจริตและเที่ยงธรรม ทำให้ในเขตเลือกตั้งนั้นจะต้องจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่โดยอัตโนมัติ ผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดหรืออยู่ในเกณฑ์ที่จะได้รับการประกาศให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกวุฒิสภา แต่ไม่ได้รับการรับรองผลหรือประกาศจาก กกต. เรียกว่าผู้นั้นได้รับ “ใบเหลือง”