ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รักสามัคคี (พ.ศ. 2543)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าใหม่: '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐ...
 
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
'''พรรครักสามัคคี'''
'''พรรครักสามัคคี'''


พรรครักสามัคคี มีอักษรย่อภาษาไทยว่า “พรส.” เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “PARTY FOR LOVE AND UNITY” มีอักษรย่อภาษาอังกฤษว่า “PLU” ขึ้นทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเลขที่ 20/2543 ได้รับการจดทะเบียนเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 101, 111.</ref>   
พรรครักสามัคคี มีอักษรย่อภาษาไทยว่า “พรส.” เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “PARTY FOR LOVE AND UNITY” มีอักษรย่อภาษาอังกฤษว่า “PLU” ขึ้นทะเบียนเป็น[[พรรคการเมือง]]เลขที่ 20/2543 ได้รับการจดทะเบียนเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 101, 111.</ref>   


เครื่องหมายของพรรครักสามัคคีมีคำอธิบายดังต่อไปนี้ <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 112.</ref>
เครื่องหมายของพรรครักสามัคคีมีคำอธิบายดังต่อไปนี้ <ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 112.</ref>
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 22:
'''นโยบายพรรครักสามัคคี พ.ศ. 2543'''<ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 101-111.</ref>
'''นโยบายพรรครักสามัคคี พ.ศ. 2543'''<ref> ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 101-111.</ref>


พรรครักสามัคคี “คิดดี พูดดี ทำดี” นำประชาชนให้มีความสุขสมบูรณ์และประเทศไทยให้รุ่งเรืองเหมือนในอดีตกาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยพรรครักสามัคคีจะมีอุดมการณ์แน่วแน่ที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางการเมืองด้วยสติปัญญาและคุณธรรม เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย
พรรครักสามัคคี “คิดดี พูดดี ทำดี” นำประชาชนให้มีความสุขสมบูรณ์และประเทศไทยให้รุ่งเรืองเหมือนในอดีตกาลภายใต้ระบอบ[[ประชาธิปไตย]]อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยพรรครักสามัคคีจะมีอุดมการณ์แน่วแน่ที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางการเมืองด้วยสติปัญญาและคุณธรรม เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย




1. นโยบายด้านการเมือง
1. นโยบายด้านการเมือง


จงรักภักดีเทิดทูนพระมหากษัตริย์ไว้เป็นที่สักการะสูงสุดและธำรงรักษาต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
จงรักภักดีเทิดทูน[[พระมหากษัตริย์]]ไว้เป็นที่สักการะสูงสุดและธำรงรักษาต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


1) ยึดถือรัฐธรรมนูญ
1) ยึดถือ[[รัฐธรรมนูญ]]


2) สร้างนักการเมืองให้ประชาชนมีความศรัทธายิ่งขึ้น โดยจะสร้างนักการเมืองและพรรคการเมืองให้มีอุดมการณ์มีระเบียบวินัย มีจรรยาบรรณ เพื่อให้ประชาชนนับถืออย่างเหมาะสม
2) สร้าง[[นักการเมือง]]ให้ประชาชนมีความศรัทธายิ่งขึ้น โดยจะสร้างนักการเมืองและพรรคการเมืองให้มี[[อุดมการณ์]]มีระเบียบวินัย มี[[จรรยาบรรณ]] เพื่อให้ประชาชนนับถืออย่างเหมาะสม


3) พร้อมที่จะเป็นรัฐบาลบริหารประเทศทุกโอกาส
3) พร้อมที่จะเป็นรัฐบาลบริหารประเทศทุกโอกาส
บรรทัดที่ 38: บรรทัดที่ 38:
2. นโยบายด้านการบริหาร
2. นโยบายด้านการบริหาร


1) ปฏิรูประบบราชการให้ทันสมัยเหมือนกับนานาอารยะประเทศ
1) [[ปฏิรูประบบราชการ]]ให้ทันสมัยเหมือนกับนานาอารยะประเทศ


2) เร่งกระจายอำนาจการบริหารสู่ท้องถิ่นด้วยการลดอำนาจส่วนกลาง
2) เร่ง[[กระจายอำนาจ]]การบริหารสู่ท้องถิ่นด้วยการลดอำนาจส่วนกลาง


3) ปฏิรูปสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้ตำรวจปฏิบัติในกรอบกฎหมาย และแก้ไขปัญหาความสงบเรียบร้อย
3) ปฏิรูปสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้ตำรวจปฏิบัติในกรอบ[[กฎหมาย]] และแก้ไขปัญหาความสงบเรียบร้อย


4) ปฏิรูปการจัดระบบข้อมูลข่าวสาร  
4) ปฏิรูปการจัดระบบข้อมูลข่าวสาร  
บรรทัดที่ 51: บรรทัดที่ 51:




3. นโยบายด้านการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
3. นโยบายด้าน[[การปฏิรูปกฎหมาย]]และ[[กระบวนการยุติธรรม]]


ปฏิรูปกฎหมาย ระบบอัยการ และระบบตำรวจเพื่อประโยชน์สูงสุดกับประชาชน โดยเน้นไปทางด้านสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม
ปฏิรูปกฎหมาย ระบบอัยการ และระบบตำรวจเพื่อประโยชน์สูงสุดกับประชาชน โดยเน้นไปทางด้าน[[สิทธิเสรีภาพ]]ส่วนบุคคลให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม




บรรทัดที่ 74: บรรทัดที่ 74:
7. นโยบายต่างประเทศ
7. นโยบายต่างประเทศ


ให้ความร่วมมือกับประเทศอาเซียนและองค์กรในระดับภูมิภาคและไตรภาคี และส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศมากยิ่งขึ้น คุ้มครองดูแลผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศ
ให้ความร่วมมือกับประเทศอาเซียนและองค์กรในระดับภูมิภาคและ[[ไตรภาคี]] และส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศมากยิ่งขึ้น คุ้มครองดูแลผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศ


พรรครักสามัคคีเคยมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 โดยยื่นบัญชีรายชื่อผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อโดยได้หมายเลข 6<ref>แนวหน้า, 16 พฤศจิกายน 2543.</ref>  และส.ส.แบบแบ่งเขตพรรครักสามัคคีส่ง น.ส.ฟูรอยดา มีสุวรรณ ลงสมัคร เขต 10 นายประพันธ์ วิภวศุทธิ์ ลงสมัคร เขต 24 และนายปริญญา มูลทรัพย์ ลงสมัครเขต 26 ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร<ref>เดลินิวส์, 21 พฤศจิกายน 2543.</ref>  แต่ไม่เคยชนะการเลือกตั้ง
พรรครักสามัคคีเคยมีส่วนร่วมใน[[การเลือกตั้ง]]เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 โดยยื่น[[บัญชีรายชื่อ]]ผู้สมัคร[[สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ]]โดยได้หมายเลข 6<ref>แนวหน้า, 16 พฤศจิกายน 2543.</ref>  และส.ส.แบบแบ่งเขตพรรครักสามัคคีส่ง น.ส.ฟูรอยดา มีสุวรรณ ลงสมัคร เขต 10 นายประพันธ์ วิภวศุทธิ์ ลงสมัคร เขต 24 และนายปริญญา มูลทรัพย์ ลงสมัครเขต 26 ใน[[จังหวัดกรุงเทพมหานคร]]<ref>เดลินิวส์, 21 พฤศจิกายน 2543.</ref>  แต่ไม่เคยชนะการเลือกตั้ง


จนกระทั่งศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งที่ 18/2544 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2544 ให้ยุบพรรครักสามัคคีตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 มาตรา 65 วรรคสอง เนื่องจากไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 ที่บัญญัติว่า “ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมือง พรรคการเมืองต้องดำเนินการให้มีสมาชิกตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไป ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมีที่อยู่ในแต่ละภาคตมบัญชีรายชื่อภาคและจังหวัดที่นายทะเบียนประกาศกำหนด และมีสาขาพรรคการเมืองอย่างน้อยภาคละหนึ่งสาขา” เมื่อพรรคการเมืองไม่สามารถกระทำได้ดังกล่าว ให้พรรคการเมืองนั้นเป็นอันยุบไปตามมาตรา 65 ซึ่งเมื่อครบกำหนดเวลาพรรครักสามัคคีไม่สามารถหาสมาชิกพรรคและจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองได้ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ โดยหัวหน้าพรรครักสามัคคีได้มีหนังสือชี้แจงต่อศาลรัฐธรรมนูญใจความว่า พรรครักสามัคคีไม่สามารถดำเนินการให้มีสมาชิกตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไปจริง จึงขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรครักสามัคคีได้<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 118 ตอนที่ 90 ง, 14 กันยายน 2544, หน้า 39. และราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 32 ก, 5 เมษายน 2545, หน้า 67-69.</ref>  
จนกระทั่ง[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]มีคำสั่งที่ 18/2544 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2544 ให้[[ยุบพรรค]]รักสามัคคี[[ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541]] มาตรา 65 วรรคสอง เนื่องจากไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 ที่บัญญัติว่า “ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมือง พรรคการเมืองต้องดำเนินการให้มีสมาชิกตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไป ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมีที่อยู่ในแต่ละภาคตมบัญชีรายชื่อภาคและจังหวัดที่นายทะเบียนประกาศกำหนด และมีสาขาพรรคการเมืองอย่างน้อยภาคละหนึ่งสาขา” เมื่อพรรคการเมืองไม่สามารถกระทำได้ดังกล่าว ให้พรรคการเมืองนั้นเป็นอันยุบไปตามมาตรา 65 ซึ่งเมื่อครบกำหนดเวลาพรรครักสามัคคีไม่สามารถหาสมาชิกพรรคและจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองได้ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ โดยหัวหน้าพรรครักสามัคคีได้มีหนังสือชี้แจงต่อศาลรัฐธรรมนูญใจความว่า พรรครักสามัคคีไม่สามารถดำเนินการให้มีสมาชิกตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไปจริง จึงขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรครักสามัคคีได้<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 118 ตอนที่ 90 ง, 14 กันยายน 2544, หน้า 39. และราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 32 ก, 5 เมษายน 2545, หน้า 67-69.</ref>  





รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:10, 11 กรกฎาคม 2553

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต



พรรครักสามัคคี

พรรครักสามัคคี มีอักษรย่อภาษาไทยว่า “พรส.” เรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “PARTY FOR LOVE AND UNITY” มีอักษรย่อภาษาอังกฤษว่า “PLU” ขึ้นทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเลขที่ 20/2543 ได้รับการจดทะเบียนเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543[1]

เครื่องหมายของพรรครักสามัคคีมีคำอธิบายดังต่อไปนี้ [2]

1. รูปดวงใจ 3 สี เป็นสีขาว สีน้ำเงิน สีแดง หมายถึง สัญลักษณ์ของชาติไทย โดยมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

2. รูปจับมือ หมายถึง ความรักสมานสามัคคี

ดังนั้นโดยความหมายรวม หมายถึง ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด้วยความรักสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ใต้สัญลักษณ์รูปหัวใจ มีอักษรคำว่า “พรรครักสามัคคี” ตรายางเครื่องหมายสำหรับประทับรับรองเอกสารของพรรคเป็นเครื่องหมายย่อในลักษณะเดียวกัน แต่ย่อให้เล็กลงและมีสีเดียว [3]

ที่ตั้งสำนักงานใหญ่พรรครักสามัคคี ตั้งอยู่บ้านเลขที่ 108 ซอยสุขุมวิท แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 [4]


นโยบายพรรครักสามัคคี พ.ศ. 2543[5]

พรรครักสามัคคี “คิดดี พูดดี ทำดี” นำประชาชนให้มีความสุขสมบูรณ์และประเทศไทยให้รุ่งเรืองเหมือนในอดีตกาลภายใต้ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข โดยพรรครักสามัคคีจะมีอุดมการณ์แน่วแน่ที่จะปฏิบัติหน้าที่ทางการเมืองด้วยสติปัญญาและคุณธรรม เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนชาวไทย


1. นโยบายด้านการเมือง

จงรักภักดีเทิดทูนพระมหากษัตริย์ไว้เป็นที่สักการะสูงสุดและธำรงรักษาต่อสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และระบอบการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

1) ยึดถือรัฐธรรมนูญ

2) สร้างนักการเมืองให้ประชาชนมีความศรัทธายิ่งขึ้น โดยจะสร้างนักการเมืองและพรรคการเมืองให้มีอุดมการณ์มีระเบียบวินัย มีจรรยาบรรณ เพื่อให้ประชาชนนับถืออย่างเหมาะสม

3) พร้อมที่จะเป็นรัฐบาลบริหารประเทศทุกโอกาส


2. นโยบายด้านการบริหาร

1) ปฏิรูประบบราชการให้ทันสมัยเหมือนกับนานาอารยะประเทศ

2) เร่งกระจายอำนาจการบริหารสู่ท้องถิ่นด้วยการลดอำนาจส่วนกลาง

3) ปฏิรูปสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้ตำรวจปฏิบัติในกรอบกฎหมาย และแก้ไขปัญหาความสงบเรียบร้อย

4) ปฏิรูปการจัดระบบข้อมูลข่าวสาร

5) นโยบายเรื่องเยาวชนของชาติ ส่งเสริมสิทธิของเด็ก ดูแลสุขภาพทางกายและใจ โดยมุ่งเน้นที่จะสร้างครอบครัวให้แข็งแกร่ง

6) นโยบายด้านสตรี คือให้ความสำคัญเรื่องสตรี


3. นโยบายด้านการปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

ปฏิรูปกฎหมาย ระบบอัยการ และระบบตำรวจเพื่อประโยชน์สูงสุดกับประชาชน โดยเน้นไปทางด้านสิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลให้เกิดความเป็นธรรมในสังคม


4. นโยบายเศรษฐกิจ

เน้นการพัฒนาทางการเกษตรตลอดจนอุตสาหกรรมการเกษตรแปรรูปเพื่อเป็นสินค้าส่งออกและทำให้เกิดรายได้แก่ชุมชนอย่างทั่วถึง และเน้นการพัฒนาชนบทและเมืองในต่างจังหวัด เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ ปฏิรูปทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือข้อมูลข่าวสาร และเปิดเสรีวิทยุและโทรทัศน์ให้ประชาชนหรือชุมชนเป็นเจ้าของ


5. นโยบายด้านการศึกษาและสังคม

ปฏิรูปการศึกษา มุ่งผลิตแรงงานให้สอดคล้องกับความต้องการด้านแรงงานสาขาต่างๆ รวมถึงเพิ่มศักยภาพของบุคลากรทางการศึกษา และปรับโครงสร้างหลักสูตรการศึกษา


6. นโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เร่งพัฒนาบุคคลให้มีความรอบรู้ทางเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร


7. นโยบายต่างประเทศ

ให้ความร่วมมือกับประเทศอาเซียนและองค์กรในระดับภูมิภาคและไตรภาคี และส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศมากยิ่งขึ้น คุ้มครองดูแลผลประโยชน์ของคนไทยในต่างประเทศ

พรรครักสามัคคีเคยมีส่วนร่วมในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 มกราคม 2544 โดยยื่นบัญชีรายชื่อผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อโดยได้หมายเลข 6[6] และส.ส.แบบแบ่งเขตพรรครักสามัคคีส่ง น.ส.ฟูรอยดา มีสุวรรณ ลงสมัคร เขต 10 นายประพันธ์ วิภวศุทธิ์ ลงสมัคร เขต 24 และนายปริญญา มูลทรัพย์ ลงสมัครเขต 26 ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร[7] แต่ไม่เคยชนะการเลือกตั้ง

จนกระทั่งศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งที่ 18/2544 ลงวันที่ 27 ธันวาคม 2544 ให้ยุบพรรครักสามัคคีตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 มาตรา 65 วรรคสอง เนื่องจากไม่ดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2541 ที่บัญญัติว่า “ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่นายทะเบียนรับจดแจ้งการจัดตั้งพรรคการเมือง พรรคการเมืองต้องดำเนินการให้มีสมาชิกตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไป ซึ่งอย่างน้อยต้องประกอบด้วยสมาชิกซึ่งมีที่อยู่ในแต่ละภาคตมบัญชีรายชื่อภาคและจังหวัดที่นายทะเบียนประกาศกำหนด และมีสาขาพรรคการเมืองอย่างน้อยภาคละหนึ่งสาขา” เมื่อพรรคการเมืองไม่สามารถกระทำได้ดังกล่าว ให้พรรคการเมืองนั้นเป็นอันยุบไปตามมาตรา 65 ซึ่งเมื่อครบกำหนดเวลาพรรครักสามัคคีไม่สามารถหาสมาชิกพรรคและจัดตั้งสาขาพรรคการเมืองได้ตามที่กฎหมายกำหนดไว้ โดยหัวหน้าพรรครักสามัคคีได้มีหนังสือชี้แจงต่อศาลรัฐธรรมนูญใจความว่า พรรครักสามัคคีไม่สามารถดำเนินการให้มีสมาชิกตั้งแต่ห้าพันคนขึ้นไปจริง จึงขอให้ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งยุบพรรครักสามัคคีได้[8]


อ้างอิง

  1. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 101, 111.
  2. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 112.
  3. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 112.
  4. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 112.
  5. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 117 ตอนพิเศษ 120 ง, วันที่ 27พฤศจิกายน 2543, หน้า 101-111.
  6. แนวหน้า, 16 พฤศจิกายน 2543.
  7. เดลินิวส์, 21 พฤศจิกายน 2543.
  8. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 118 ตอนที่ 90 ง, 14 กันยายน 2544, หน้า 39. และราชกิจจานุเบกษา เล่ม 119 ตอนที่ 32 ก, 5 เมษายน 2545, หน้า 67-69.