ผลต่างระหว่างรุ่นของ "MICE"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง : '''ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์อาภา พิศุ..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง : '''ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์อาภา พิศุทธ์เศรณี
'''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์อาภา พิศุทธ์เศรณี


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : '''ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไชยวัฒน์ ค้ำชู
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไชยวัฒน์ ค้ำชู


'''MICE'''
 
 
          '''Meetings''', '''Incentive''' '''Travel''', '''Conventions''', '''Exhibitions''' (หรือบางครั้ง C หมายถึง Conferencing และ E หมายถึง Events) หรือ '''MICE''' คือ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์งานอีเวนท์ เป็นอุตสาหกรรมที่พัฒนาการจัดงานทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประชุมบริษัทและสมาคม ทั้งในระดับองค์กรภูมิภาคไปจนถึงระดับนานาชาติ เป็นการจัดงานที่มุ่งเน้นบริการนักธุรกิจที่เข้าร่วมการประชุมและงานแสดงสินค้าเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเป็นกิจกรรมที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมไมซ์ ครอบคลุมการจัดประชุมแบบองค์กร การจัดการเดินทางเพื่อเป็นรางวัลแก่พนักงาน การประชุมแบบสมาคม ไปจนถึงการจัดงานแสดงสินค้าและการจัดงานเมกะอีเวนท์และเทศกาลนานาชาติ โดยไมซ์เล็งเห็นถึงความสำคัญของการติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กรไปจนถึงระดับนานาชาติ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดงานที่ได้ในระดับมาตรฐานและยั่งยืน[[#_edn1|[1]]]
 
          ในความหมายตามบริบทของประเทศสมาชิกอาเซียนจากการประชุม ASEAN MICE นั้น ธุรกิจไมซ์ (MICE) หมายถึง ธุรกิจ การท่องเที่ยวที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดประชุมองค์กร การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล การจัดประชุมนานาชาติ และการจัดแสดงสินค้าเข้าด้วยกัน โดยมีการจัดการที่ดีและสมบูรณ์อย่างมืออาชีพ ทั้งด้านงานบริการ ด้านสถานที่ ด้านการจัดประชุม ด้านอาหารและเครื่องดื่ม ด้านเครื่องมืออุปกรณ์อำนวยความสะดวก ด้านการรับส่งสินค้าที่จัดแสดง ด้านพิธีการศุลกากร ฯลฯ โดยธุรกิจไมซ์ประกอบไปด้วยธุรกิจหลักอยู่ 4 กลุ่ม ตามตัวอักษรย่อที่มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน และมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน อันได้แก่ ธุรกิจการจัดการประชุมขององค์กร (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive) การจัดการประชุมนานาชาติ (Conventions) และการจัดการแสดงสินค้าและนิทรรศการ (Exhibitions) ซึ่งรวมเรียกธุรกิจทั้ง 4 นี้ว่า '''ธุรกิจไมซ์''' หรือ '''MICE BUSINESS'''[[#_edn2|[2]]]


 
 


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; Meetings, Incentive Travel, Conventions, Exhibitions (หรือบางครั้ง C หมายถึง Conferencing และ E หมายถึง Events) หรือ MICE คือ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์งานอีเวนท์ เป็นอุตสาหกรรมที่พัฒนา<br/> การจัดงานทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประชุมบริษัทและสมาคม ทั้งในระดับองค์กรภูมิภาคไปจนถึงระดับนานาชาติ เป็นการจัดงานที่มุ่งเน้นบริการนักธุรกิจที่เข้าร่วมการประชุมและงานแสดงสินค้าเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเป็นกิจกรรมที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมไมซ์ ครอบคลุมการจัดประชุมแบบองค์กร การจัดการเดินทางเพื่อเป็นรางวัลแก่พนักงาน การประชุมแบบสมาคม ไปจนถึงการจัดงานแสดงสินค้าและการจัดงานเมกะอีเวนท์และเทศกาลนานาชาติ โดยไมซ์เล็งเห็นถึงความสำคัญของการติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กรไปจนถึงระดับนานาชาติ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดงานที่ได้ในระดับมาตรฐานและยั่งยืน[[#_edn1|[1]]]
<span style="font-size:x-large;">'''ความเป็นมา'''</span>


ในความหมายตามบริบทของประเทศสมาชิกอาเซียนจากการประชุม ASEAN MICE นั้น ธุรกิจไมซ์ (MICE) หมายถึง ธุรกิจ การท่องเที่ยวที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดประชุมองค์กร การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล การจัดประชุมนานาชาติ และการจัดแสดงสินค้าเข้าด้วยกัน&nbsp; โดยมีการจัดการที่ดีและสมบูรณ์อย่างมืออาชีพ ทั้งด้านงานบริการ ด้านสถานที่ ด้านการจัดประชุม ด้านอาหารและเครื่องดื่ม ด้านเครื่องมืออุปกรณ์อำนวยความสะดวก ด้านการรับส่งสินค้าที่จัดแสดง ด้านพิธีการศุลกากร ฯลฯ โดยธุรกิจไมซ์ประกอบไปด้วยธุรกิจหลักอยู่ 4 กลุ่ม ตามตัวอักษรย่อที่มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน และมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน อันได้แก่ ธุรกิจการจัดการประชุมขององค์กร (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive) การจัดการประชุมนานาชาติ (Conventions) และการจัดการแสดงสินค้าและนิทรรศการ (Exhibitions) ซึ่งรวมเรียกธุรกิจทั้ง 4 นี้ว่า ธุรกิจไมซ์ หรือ MICE BUSINESS[[#_edn2|[2]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ของประชาคมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nation) หรือ อาเซียน (ASEAN) ได้ร่วมกันจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี ค.ศ. 2015 ซึ่งประชาคมอาเซียนมีความร่วมมือใน 3 เสาหลัก โดยเสาที่ได้รับความสนใจมากที่สุด คือ เสาด้านเศรษฐกิจในชื่อ [[ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน]] (ASEAN Economic Community: AEC) เพื่อสร้างตลาดร่วมที่มีการเคลื่อนย้ายโดยเสรี ของสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานที่มีทักษะ ซึ่งการก่อตั้ง AEC ย่อมก่อให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจและการหลั่งไหลอย่างเสรีของกิจกรรมทางธุรกิจ เช่น การจัดงาน การประชุม การเจรจาทางธุรกิจ การพักผ่อน การสัมนา เป็นต้น ดังนั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงเห็นความจำเป็นของการเตรียมภาคบริการให้พร้อมสำหรับโอกาสในการทำธุรกิจ MICE เพื่อรองรับ AEC[[#_edn3|[3]]] &nbsp;


&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ประชุมหารือเรื่อง MICE กันมาอย่างยาวนานพร้อม ๆ กับการร่างพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซึ่งหมายถึงแผนการจัดตั้ง AEC ทั้งนี้ รัฐบาลไทยได้ก่อตั้ง '''“สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ”''' '''(สสปน.)''' หรือ '''Thailand Convention & Exhibition Bureau''' '''(Public Organization)''' หรือ '''TCEB''' โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศให้มีมาตรฐานสากล
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2. เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และให้บริการข้อมูลดังกล่าว รวมทั้งให้คำปรึกษาและคำแนะนำเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ
 
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 3. ให้ความรู้ จัดการสัมมนา ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการแก่ผู้ดำเนินธุรกิจ เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้เกิดความชำนาญและมีทักษะเทียบเท่ามาตรฐานสากล และเพื่อให้เข้าใจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติและแนวคิดด้านเศรษฐกิจสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน


'''ความเป็นมา'''
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 4. เป็นตัวแทนของประเทศในการจัดทำข้อเสนอต่อหน่วยงานต่างประเทศหรือระหว่างประเทศเพื่อขอรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศของประชาคมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association<br/> of Southeast Asian Nation) หรือ อาเซียน(ASEAN) ได้ร่วมกันจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี ค.ศ.2015 ซึ่งประชาคมอาเซียนมีความร่วมมือใน 3 เสาหลัก โดยเสาที่ได้รับความสนใจมากที่สุดคือเสาด้านเศรษฐกิจ ในชื่อ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN Economic Community: AEC) เพื่อสร้างตลาดร่วมที่มีการเคลื่อนย้ายโดยเสรี ของสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานที่มีทักษะ ซึ่งการก่อตั้ง AEC ย่อมก่อให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจและการหลั่งไหลอย่างเสรีของกิจกรรมทางธุรกิจ เช่น การจัดงาน การประชุม การเจรจาทางธุรกิจ การพักผ่อน การสัมนา เป็นต้น ดังนั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงเห็นความจำเป็นของการเตรียมภาคบริการให้พร้อมสำหรับโอกาสในการทำธุรกิจ MICE เพื่อรองรับ AEC[[#_edn3|[3]]] &nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 5. ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและสร้างโอกาสให้กับประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่ออำนวยความสะดวกในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ[[#_edn4|[4]]]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ประชุมหารือเรื่อง MICE กันมาอย่างยาวนานพร้อมๆ กับการร่างพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AEC Blueprint) ซึ่งหมายถึงแผนการจัดตั้ง AEC ทั้งนี้ รัฐบาลไทยได้ก่อตั้ง “สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ” (สสปน.) หรือ Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization) หรือ TCEB โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศให้มีมาตรฐานสากล 2.เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และให้บริการข้อมูลดังกล่าว รวมทั้งให้คำปรึกษาและคำแนะนำเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ 3.ให้ความรู้ จัดการสัมมนา ฝึกอบรม<br/> และพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการแก่ผู้ดำเนินธุรกิจ เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้เกิดความชำนาญและมีทักษะเทียบเท่ามาตรฐานสากล และเพื่อให้เข้าใจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติและแนวคิดด้านเศรษฐกิจสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน 4.เป็นตัวแทนของประเทศในการจัดทำข้อเสนอต่อหน่วยงานต่างประเทศหรือระหว่างประเทศเพื่อขอรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ 5.ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและสร้างโอกาสให้กับประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่ออำนวยความสะดวกในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการ<br/> ในประเทศ[[#_edn4|[4]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; TCEB ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาปี ค.ศ. 2002 เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจในประเทศไทย ตั้งแต่ปี ค.. 2004 และมีการแก้ไขประกาศวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ใหม่ในปี ค.. 2019 ให้เป็นดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ปัจจุบัน TCEB ดำเนินงานตามดำเนินตามนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล 'ไทยแลนด์ 4.0' และวางเป้าหมายผ่าน 10 อุตสาหกรรมหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ระหว่างประเทศ อีกทั้งเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตเพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางของ MICE ใน AEC[[#_edn5|[5]]]&nbsp;


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; TCEB ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาปี ค.ศ.2002 เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่มีหน้าที่ส่งเสริม<br/> และพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจในประเทศไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ.2004 และมีการแก้ไขประกาศวัตถุประสงค์<br/> และอำนาจหน้าที่ใหม่ในปี ค.ศ.2019 ให้เป็นดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ปัจจุบัน TCEB ดำเนินงานตามดำเนิน<br/> ตามนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล 'ไทยแลนด์ 4.0' และวางเป้าหมายผ่าน 10 อุตสาหกรรมหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ระหว่างประเทศ อีกทั้งเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตเพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางของ MICE ใน AEC[[#_edn5|[5]]]&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปี ค.ศ. 2014 TCEB ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี ค.ศ. 2015 รวมถึงโอกาสผลกระทบ และความท้าทายต่ออุตสาหกรรมไมซ์จากการเปิดประตูการค้าเสรีระดับภูมิภาค และได้รับมอบหมายจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาให้เป็นผู้รับผิดชอบการจัดทำมาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standard: AMVS) และให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมพิเศษครั้งที่ 1 ว่าด้วย มาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (1st Special Meeting on ASEAN MICE Venue Standard (AMVS) Category: Meeting Room) พร้อมเดินหน้าผสานความร่วมมือในการนำร่องมาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ไทย (Thailand MICE Venue Standard) เป็นแม่แบบเพื่อยกระดับการพัฒนาสู่มาตรฐานสถานที่จัดงาน ASEAN MICE สร้างความเป็นหนึ่งเดียวในภูมิภาค ปูทางสู่ความร่วมมือส่งเสริมตลาดภายใต้แบรนด์อาเซียนร่วมกันอย่างมีเอกภาพ ซึ่งในการประชุมครั้งสำคัญนี้มีเจ้าหน้าที่ระดับสูง ผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม MICE และการท่องเที่ยวของอาเซียนเข้าร่วมทั้งสิ้น 30 คน จาก 10 ประเทศ ได้แก่ ''บรูไน, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, เมียนมาร์, ลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย, เวียดนาม, อินโดนีเซีย และประเทศไทย'' เพื่อหารือกรอบหลักเกณฑ์การจัดทำมาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ คู่มือ กระบวนการออกใบรับรองมาตรฐาน โครงการนำร่องในการจัดฝึกอบรมผู้ตรวจสอบและทดสอบระบบ โดยจะจัดขึ้นควบคู่กับการประชุมอาเซียนวาระพิเศษด้านมาตรฐานโรงแรมสีเขียวและมาตรฐานบริการด้านสปา เพื่อผลักดันให้กลุ่มประเทศในอาเซียนมีมาตรฐานสินค้าและบริการด้านไมซ์ตลอดจนการท่องเที่ยวเป็นหนึ่งเดียวกัน&nbsp;ทั้งนี้ จากรายงานกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดกลุ่มนักเดินทางธุรกิจของอาเซียน ระบุว่าในปี ค.ศ. 2012 อาเซียนต้อนรับนักท่องเที่ยวนานาชาติกว่า 87 ล้านคน โดย ร้อยละ 46 เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน มีการคาดการณ์ว่าการท่องเที่ยวในอาเซียนจะขยายตัวอย่างมากโดยมีปริมาณถึง 118.63 ล้านคน ภายในปี ค.ศ. 2017 เพิ่มขึ้นสูงถึง ร้อยละ 35 จากปี ค.ศ. 2012 ซึ่งหากอุตสาหกรรมไมซ์มีการพัฒนาและเติบโตระดับเดียวกันในภูมิภาค จะมีผู้เดินทางกลุ่มไมซ์รวม 12 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2017 คิดเป็นรายได้สูงถึง ร้อยละ 20 ของรายได้จากการท่องเที่ยว ในปีงบประมาณ 2014 ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีโอกาสต้อนรับนักเดินทางกลุ่มไมซ์จากต่างประเทศรวมทั้งสิ้น 919,164 คน สร้างรายได้รวม 80,800 ล้านบาท โดยประเทศในกลุ่มอาเซียนติดอันดับ 10 ประเทศแรก ที่มีนักเดินทางกลุ่มไมซ์เข้ามาในประเทศไทย ประกอบด้วยนักเดินทางกลุ่มไมซ์จากมาเลเซียจำนวน 69,034 คน สิงคโปร์ 66,956 คน และอินโดนีเซีย 33,325 คน&nbsp;ดังนั้น ภายใต้กรอบความร่วมมือในการผลักดันมาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standard) นั้นประเทศกลุ่มสมาชิกทั้งหมดจะได้รับประโยชน์ร่วมกันทั้งในด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การบูรณาการด้านมาตรฐานห้องประชุมให้มีมาตรฐานเดียวกันในภูมิภาคอาเซียนนั้น ย่อมช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับภูมิภาค ห้กับทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน เปิดโอกาสทางการขายรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร ซื้อขาย แลกเปลี่ยน สร้างทางเลือกใหม่ ๆ ให้กับผู้เดินทาง MICE จากทั้งในอาเซียน และภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก[[#_edn6|[6]]]


&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปี ค.ศ.2014 TCEB ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี ค.ศ.2015 รวมถึงโอกาสผลกระทบ และความท้าทายต่ออุตสาหกรรมไมซ์จากการเปิดประตูการค้าเสรีระดับภูมิภาค และได้รับมอบหมายจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาให้เป็นผู้รับผิดชอบการจัดทำมาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standard: AMVS) และให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมพิเศษครั้งที่ 1 ว่าด้วย มาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (1st Special Meeting on ASEAN MICE Venue Standard (AMVS) Category: Meeting Room) พร้อมเดินหน้าผสานความร่วมมือ<br/> ในการนำร่องมาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ไทย (Thailand MICE Venue Standard) เป็นแม่แบบ เพื่อยกระดับการพัฒนาสู่มาตรฐานสถานที่จัดงาน ASEAN MICE สร้างความเป็นหนึ่งเดียวในภูมิภาค ปูทางสู่ความร่วมมือส่งเสริมตลาดภายใต้แบรนด์อาเซียนร่วมกันอย่างมีเอกภาพ ซึ่งในการประชุมครั้งสำคัญนี้มีเจ้าหน้าที่ระดับสูง ผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม MICE และการท่องเที่ยวของอาเซียนเข้าร่วมทั้งสิ้น 30 คน จาก 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, เมียนมาร์, ลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย, เวียดนาม, อินโดนีเซีย และประเทศไทย เพื่อหารือกรอบหลักเกณฑ์การจัดทำมาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ คู่มือ กระบวนการออกใบรับรองมาตรฐาน โครงการนำร่องในการจัดฝึกอบรมผู้ตรวจสอบและทดสอบระบบ โดยจะจัดขึ้นควบคู่กับการประชุมอาเซียนวาระพิเศษด้านมาตรฐานโรงแรมสีเขียวและมาตรฐานบริการด้านสปา เพื่อผลักดันให้กลุ่มประเทศในอาเซียนมีมาตรฐานสินค้าและบริการด้านไมซ์ตลอดจนการท่องเที่ยวเป็นหนึ่งเดียวกัน&nbsp; ทั้งนี้ จากรายงานกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดกลุ่มนักเดินทางธุรกิจของอาเซียน ระบุว่า ในปี ค.ศ.2012 อาเซียนต้อนรับนักท่องเที่ยวนานาชาติกว่า 87 ล้านคน โดยร้อยละ 46 เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน มีการคาดการณ์ว่าการท่องเที่ยวในอาเซียนจะขยายตัวอย่างมากโดยมีปริมาณถึง 118.63 ล้านคน ภายในปี ค.ศ.2017 เพิ่มขึ้นสูงถึงร้อยละ 35 จากปี ค.ศ.2012 ซึ่งหากอุตสาหกรรมไมซ์มีการพัฒนาและเติบโตระดับเดียวกันในภูมิภาค จะมีผู้เดินทางกลุ่มไมซ์รวม 12 ล้านคนในปี ค.ศ.2017 คิดเป็นรายได้สูงถึงร้อยละ 20 ของรายได้จากการท่องเที่ยว ในปีงบประมาณ 2014 ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีโอกาสต้อนรับ<br/> นักเดินทางกลุ่มไมซ์จากต่างประเทศรวมทั้งสิ้น 919,164 คน สร้างรายได้รวม 80,800 ล้านบาท โดยประเทศในกลุ่มอาเซียนติดอันดับ 10 ประเทศแรกที่มีนักเดินทางกลุ่มไมซ์เข้ามาในประเทศไทย ประกอบด้วย<br/> นักเดินทางกลุ่มไมซ์จากมาเลเซียจำนวน 69,034 คน สิงคโปร์ 66,956 คน และอินโดนีเซีย 33,325 คน<br/> ดังนั้น ภายใต้กรอบความร่วมมือในการผลักดันมาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standard) นั้นประเทศกลุ่มสมาชิกทั้งหมด จะได้รับประโยชน์ร่วมกันทั้งในด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การบูรณาการด้านมาตรฐานห้องประชุมให้มีมาตรฐานเดียวกันในภูมิภาคอาเซียนนั้น ย่อมช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับภูมิภาค ให้กับทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน เปิดโอกาสทางการขาย รวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร ซื้อขาย แลกเปลี่ยน สร้างทางเลือกใหม่ ๆ ให้กับผู้เดินทาง MICE จากทั้งในอาเซียน และภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก[[#_edn6|[6]]]
&nbsp;


'''MICE กับการแข่งขันระหว่างประเทศและการเมืองในประเทศ'''
<span style="font-size:x-large;">'''MICE กับการแข่งขันระหว่างประเทศและการเมืองในประเทศ'''</span>


MICE มีนัยยะสำคัญในการสร้างรายได้จากธุรกิจ MICE ของแต่ละประเทศ เพราะธุรกิจ MICE นั้นสามารถขยายตัวได้อย่างรวดเร็วแล้วสามารถสร้างรายได้ในทั้งทางตรงและทางอ้อม และยังก่อให้เกิดการ<br/> จ้างงาน และสร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องด้วยกัน อีกทั้งยังมีแรงดึงดูดให้ทุนจากภายนอกประเทศให้เข้ามาลงทุนภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาและลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้วยเหตุนี้จึงก่อให้เกิดการความพยายาม<br/> ที่จะแข่งขันกันเพื่อเป็นศูนย์กลางของธุรกิจ MICE&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; MICE มีนัยยะสำคัญในการสร้างรายได้จากธุรกิจ MICE ของแต่ละประเทศ เพราะธุรกิจ MICE นั้นสามารถขยายตัวได้อย่างรวดเร็วแล้วสามารถสร้างรายได้ในทั้งทางตรงและทางอ้อม และยังก่อให้เกิดการจ้างงาน และสร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องด้วยกัน อีกทั้งยังมีแรงดึงดูดให้ทุนจากภายนอกประเทศให้เข้ามาลงทุนภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาและลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้วยเหตุนี้จึงก่อให้เกิดการความพยายามที่จะแข่งขันกันเพื่อเป็นศูนย์กลางของธุรกิจ MICE&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;


ประเทศไทยได้พยายามที่จะปรับโครงสร้างต่าง ๆ ภายในประเทศ เช่น ถนน ท่าเรือทรัพยากรธรรมชาติ ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและโทรคมนาคม เพื่อที่จะพร้อมสู่การเข้าสู่เวทีการแข่งขัน<br/> ของธุรกิจ MICE ในตลาดโลก ลัเป็นศูนย์กลางชอง MICE ใน AEC &nbsp;
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ประเทศไทยได้พยายามที่จะปรับโครงสร้างต่าง ๆ ภายในประเทศ เช่น ถนน ท่าเรือทรัพยากรธรรมชาติ ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและโทรคมนาคม เพื่อที่จะพร้อมสู่การเข้าสู่เวทีการแข่งขันของธุรกิจ MICE ในตลาดโลก ลัเป็นศูนย์กลางชอง MICE ใน AEC &nbsp;


อย่างไรก็ดี เมื่อมีการแข่งขันจึงมิสามารถเลี่ยงได้ในเรื่องของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้และอาจส่งผลกระทบต่อรัฐอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน ดังในกรณีของประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และเป็นประตูสู่ภูมิภาคที่ได้รับการยอมรับในฐานะเป็นศูนย์กลางในด้านธุรกิจ การลงทุน การขนส่ง และการเงินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจะเห็นได้ว่าในฐานะเจ้าแห่งอุตสาหกรรม MICE สิงค์โปร์ได้แสดงจุดยืนมีนโยบายวางตัวเป็นกลาง (neutral country) และภายใต้ความขัดแย้งระหว่างจีนและสหรัฐฯ ที่ส่วนนึงก็เป็นผลมาจากการขยายตัวในอุตสาหกรรม MICE ท่าทีของสิงคโปร์ต่อประเทศมหาอำนาจ<br/> อย่างอเมริกาและจีนที่มีความขัดแย้งกัน และทั้งสองประเทศต่างมีอิทธิพลต่อประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคนี้<br/> ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง แต่สิงคโปร์ก็ยังคงวางตัวเป็น กลางในเวทีโลก ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และดำรง<br/> ซึ่งความสัมพันธ์อันดีงามกับทั้งสองประเทศ ทำให้นักลงทุน และนักธุรกิจ ที่จะร่วมทำธุรกิจสามารถไว้วางใจ<br/> ในความปลอดภัยจากเกมทางการเมืองระหว่างประเทศได้[[#_edn7|[7]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี เมื่อมีการแข่งขันจึงมิสามารถเลี่ยงได้ในเรื่องของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้และอาจส่งผลกระทบต่อรัฐอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน ดังในกรณีของประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และเป็นประตูสู่ภูมิภาคที่ได้รับการยอมรับในฐานะเป็นศูนย์กลางในด้านธุรกิจ การลงทุน การขนส่ง และการเงินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจะเห็นได้ว่าในฐานะเจ้าแห่งอุตสาหกรรม MICE สิงค์โปร์ได้แสดงจุดยืนมีนโยบายวางตัวเป็นกลาง (neutral country) และภายใต้ความขัดแย้งระหว่างจีนและสหรัฐฯ ที่ส่วนนึงก็เป็นผลมาจากการขยายตัวในอุตสาหกรรม MICE ท่าทีของสิงคโปร์ต่อประเทศมหาอำนาจอย่างอเมริกาและจีนที่มีความขัดแย้งกัน และทั้งสองประเทศต่างมีอิทธิพลต่อประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคนี้&nbsp;ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง แต่สิงคโปร์ก็ยังคงวางตัวเป็น กลางในเวทีโลก ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และดำรง<br/> ซึ่งความสัมพันธ์อันดีงามกับทั้งสองประเทศ ทำให้นักลงทุน และนักธุรกิจ ที่จะร่วมทำธุรกิจสามารถไว้วางใจในความปลอดภัยจากเกมทางการเมืองระหว่างประเทศได้[[#_edn7|[7]]]


ด้วยเหตุนี้จึงนับว่าเป็นอีกหนึ่งเหตุผลสำคัญที่ทำให้สิงค์โปร์มีศักยภาพใน การแข่งขันและสามารถ<br/> ที่ขึ้นมาเป็นเจ้าแห่งอุตสาหกรรม MICE ภายใต้ความขัดแย้งของนานาประประเทศได้
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ด้วยเหตุนี้จึงนับว่าเป็นอีกหนึ่งเหตุผลสำคัญที่ทำให้สิงค์โปร์มีศักยภาพใน การแข่งขันและสามารถที่ขึ้นมาเป็นเจ้าแห่งอุตสาหกรรม MICE ภายใต้ความขัดแย้งของนานาประประเทศได้


อย่างไรก็ดี MICE สร้างผลกระทบต่อการเมืองในประเทศด้วย แม้ว่า MICE ทำรายได้ให้แก่รัฐ<br/> ได้มหาศาล แต่ก็มีต้นทุนที่สูงมาก เพราะรัฐต้องนำเงินมาใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับกับการขยายตัวที่รวดเร็วของธุรกิจนี้ให้ได้ เมื่อมีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้น ก็ต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างถนน สร้างสนามบิน สร้างที่พัก สร้างร้านอาหาร ล้วนต้องใช้เงินในการลงทุนก่อสร้างและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก ที่สำคัญคือการขยายตัวที่รวดเร็วของธุรกิจนี้ได้ส่งผลให้เกิดการเสื่อมโทรมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้แล้วนั้น จึงทำให้ MICE ถูกวิพากษ์วิจารณ์และถูกจับตามองในเวทีโลกในการแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การเกิดมลพิษภายในประเทศ การเบียดเบียนที่ทำกินของคนยากไร้ ทำให้ทางการของหลายประเทศต้องเผชิญหน้ากับการประท้วงของเครือข่ายภาคประชาสังคมในประเทศของตน[[#_edn8|[8]]]
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; อย่างไรก็ดี MICE สร้างผลกระทบต่อการเมืองในประเทศด้วย แม้ว่า MICE ทำรายได้ให้แก่รัฐได้มหาศาลแต่ก็มีต้นทุนที่สูงมาก เพราะรัฐต้องนำเงินมาใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับกับการขยายตัวที่รวดเร็วของธุรกิจนี้ให้ได้ เมื่อมีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นก็ต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างถนน สร้างสนามบิน สร้างที่พัก สร้างร้านอาหาร ล้วนต้องใช้เงินในการลงทุนก่อสร้างและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก ที่สำคัญคือการขยายตัวที่รวดเร็วของธุรกิจนี้ได้ส่งผลให้เกิดการเสื่อมโทรมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้แล้วนั้น จึงทำให้ MICE ถูกวิพากษ์วิจารณ์และถูกจับตามองในเวทีโลกในการแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การเกิดมลพิษภายในประเทศ การเบียดเบียนที่ทำกินของคนยากไร้ ทำให้ทางการของหลายประเทศต้องเผชิญหน้ากับการประท้วงของเครือข่ายภาคประชาสังคมในประเทศของตน[[#_edn8|[8]]]


ในปัจจุบัน เมื่อโลกได้เผชิญกับสภาวะโรคระบาดโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างหนักต่อการขยายตัว<br/> ของ &nbsp;ASEAN MICE เป็นที่น่าจับตามองอย่างมากว่า MICE จะคืนสู่สภาพเดิมที่เป็นความหวังของ ASEAN<br/> ได้มากน้อยเพียงใด
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในปัจจุบัน เมื่อโลกได้เผชิญกับสภาวะโรคระบาดโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างหนักต่อการขยายตัวของ ASEAN MICE เป็นที่น่าจับตามองอย่างมากว่า MICE จะคืนสู่สภาพเดิมที่เป็นความหวังของ ASEAN&nbsp;ได้มากน้อยเพียงใด


&nbsp;
&nbsp;
<div>&nbsp;
 
----
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>
<div id="edn1">
<div><div id="edn1">
[[#_ednref1|[1]]] สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ. (2560). “MICE” อุตสาหกรรมไมซ์ นิยามบทใหม่แห่งการสร้างสรรค์งานอีเวนท์. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก [https://www.businesseventsthailand.com/index.php/th/press-media/news-press-release/detail/1088-mice-is-the-new-definition-of-event-management https://www.businesseventsthailand.com/index.php/th/press-media/news-press-release/detail/1088-mice-is-the-new-definition-of-event-management]
[[#_ednref1|[1]]] สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ. (2560). “MICE” อุตสาหกรรมไมซ์ นิยามบทใหม่แห่งการสร้างสรรค์งานอีเวนท์. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก [https://www.businesseventsthailand.com/index.php/th/press-media/news-press-release/detail/1088-mice-is-the-new-definition-of-event-management https://www.businesseventsthailand.com/index.php/th/press-media/news-press-release/detail/1088-mice-is-the-new-definition-of-event-management]
</div> <div id="edn2">
</div> <div id="edn2">
บรรทัดที่ 57: บรรทัดที่ 67:
</div> <div id="edn8">
</div> <div id="edn8">
[[#_ednref8|[8]]] Norol Hamiza Zamzuri, Khairil Wahidin Awang, Zaiton Samdin (2011). “Environmental Issues in Meeting, Incentive, Convention and Exhibition (MICE) Tourism Sector.” '''International Conference on Business, Economics and Tourism Management IPEDR.''' vol.24 (2011). Retrived 20 May 2022.&nbsp; [http://www.ipedr.com/vol24/20-CBETM2011-M10027.pdf http://www.ipedr.com/vol24/20-CBETM2011-M10027.pdf]&nbsp;
[[#_ednref8|[8]]] Norol Hamiza Zamzuri, Khairil Wahidin Awang, Zaiton Samdin (2011). “Environmental Issues in Meeting, Incentive, Convention and Exhibition (MICE) Tourism Sector.” '''International Conference on Business, Economics and Tourism Management IPEDR.''' vol.24 (2011). Retrived 20 May 2022.&nbsp; [http://www.ipedr.com/vol24/20-CBETM2011-M10027.pdf http://www.ipedr.com/vol24/20-CBETM2011-M10027.pdf]&nbsp;
</div> </div>
</div> </div>  
[[Category:ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ]][[Category:ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ]][[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 12:30, 16 กุมภาพันธ์ 2566

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชญ์อาภา พิศุทธ์เศรณี

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.ไชยวัฒน์ ค้ำชู

 

          Meetings, Incentive Travel, Conventions, Exhibitions (หรือบางครั้ง C หมายถึง Conferencing และ E หมายถึง Events) หรือ MICE คือ อุตสาหกรรมสร้างสรรค์งานอีเวนท์ เป็นอุตสาหกรรมที่พัฒนาการจัดงานทางธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการประชุมบริษัทและสมาคม ทั้งในระดับองค์กรภูมิภาคไปจนถึงระดับนานาชาติ เป็นการจัดงานที่มุ่งเน้นบริการนักธุรกิจที่เข้าร่วมการประชุมและงานแสดงสินค้าเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่ล้วนเป็นกิจกรรมที่สำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมไมซ์ ครอบคลุมการจัดประชุมแบบองค์กร การจัดการเดินทางเพื่อเป็นรางวัลแก่พนักงาน การประชุมแบบสมาคม ไปจนถึงการจัดงานแสดงสินค้าและการจัดงานเมกะอีเวนท์และเทศกาลนานาชาติ โดยไมซ์เล็งเห็นถึงความสำคัญของการติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กรไปจนถึงระดับนานาชาติ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดงานที่ได้ในระดับมาตรฐานและยั่งยืน[1]

          ในความหมายตามบริบทของประเทศสมาชิกอาเซียนจากการประชุม ASEAN MICE นั้น ธุรกิจไมซ์ (MICE) หมายถึง ธุรกิจ การท่องเที่ยวที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการจัดประชุมองค์กร การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล การจัดประชุมนานาชาติ และการจัดแสดงสินค้าเข้าด้วยกัน โดยมีการจัดการที่ดีและสมบูรณ์อย่างมืออาชีพ ทั้งด้านงานบริการ ด้านสถานที่ ด้านการจัดประชุม ด้านอาหารและเครื่องดื่ม ด้านเครื่องมืออุปกรณ์อำนวยความสะดวก ด้านการรับส่งสินค้าที่จัดแสดง ด้านพิธีการศุลกากร ฯลฯ โดยธุรกิจไมซ์ประกอบไปด้วยธุรกิจหลักอยู่ 4 กลุ่ม ตามตัวอักษรย่อที่มีความต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน และมีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน อันได้แก่ ธุรกิจการจัดการประชุมขององค์กร (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive) การจัดการประชุมนานาชาติ (Conventions) และการจัดการแสดงสินค้าและนิทรรศการ (Exhibitions) ซึ่งรวมเรียกธุรกิจทั้ง 4 นี้ว่า ธุรกิจไมซ์ หรือ MICE BUSINESS[2]

 

ความเป็นมา

          ประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ของประชาคมแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nation) หรือ อาเซียน (ASEAN) ได้ร่วมกันจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ในปี ค.ศ. 2015 ซึ่งประชาคมอาเซียนมีความร่วมมือใน 3 เสาหลัก โดยเสาที่ได้รับความสนใจมากที่สุด คือ เสาด้านเศรษฐกิจในชื่อ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) เพื่อสร้างตลาดร่วมที่มีการเคลื่อนย้ายโดยเสรี ของสินค้า บริการ การลงทุน และแรงงานที่มีทักษะ ซึ่งการก่อตั้ง AEC ย่อมก่อให้เกิดการขยายตัวของธุรกิจและการหลั่งไหลอย่างเสรีของกิจกรรมทางธุรกิจ เช่น การจัดงาน การประชุม การเจรจาทางธุรกิจ การพักผ่อน การสัมนา เป็นต้น ดังนั้น ประเทศสมาชิกอาเซียนจึงเห็นความจำเป็นของการเตรียมภาคบริการให้พร้อมสำหรับโอกาสในการทำธุรกิจ MICE เพื่อรองรับ AEC[3]  

          ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ประชุมหารือเรื่อง MICE กันมาอย่างยาวนานพร้อม ๆ กับการร่างพิมพ์เขียวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Blueprint) ซึ่งหมายถึงแผนการจัดตั้ง AEC ทั้งนี้ รัฐบาลไทยได้ก่อตั้ง “สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ” (สสปน.) หรือ Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization) หรือ TCEB โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

          1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศให้มีมาตรฐานสากล

          2. เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และให้บริการข้อมูลดังกล่าว รวมทั้งให้คำปรึกษาและคำแนะนำเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ

          3. ให้ความรู้ จัดการสัมมนา ฝึกอบรมและพัฒนาศักยภาพเกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการแก่ผู้ดำเนินธุรกิจ เจ้าหน้าที่หรือบุคลากรภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อให้เกิดความชำนาญและมีทักษะเทียบเท่ามาตรฐานสากล และเพื่อให้เข้าใจการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติและแนวคิดด้านเศรษฐกิจสังคมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

          4. เป็นตัวแทนของประเทศในการจัดทำข้อเสนอต่อหน่วยงานต่างประเทศหรือระหว่างประเทศเพื่อขอรับเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ

          5. ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีและสร้างโอกาสให้กับประเทศ รวมทั้งเป็นศูนย์ประสานงานกับหน่วยงานอื่นเพื่ออำนวยความสะดวกในเรื่องที่เกี่ยวกับการจัดประชุมและนิทรรศการในประเทศ[4]

          TCEB ก่อตั้งขึ้นโดยพระราชกฤษฎีกาปี ค.ศ. 2002 เป็นหน่วยงานของรัฐบาลที่มีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจในประเทศไทย ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 และมีการแก้ไขประกาศวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ใหม่ในปี ค.ศ. 2019 ให้เป็นดังที่ปรากฏในปัจจุบัน ปัจจุบัน TCEB ดำเนินงานตามดำเนินตามนโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาล 'ไทยแลนด์ 4.0' และวางเป้าหมายผ่าน 10 อุตสาหกรรมหลัก เพื่อให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ระหว่างประเทศ อีกทั้งเตรียมพร้อมสำหรับอนาคตเพื่อให้ไทยเป็นศูนย์กลางของ MICE ใน AEC[5] 

          ในปี ค.ศ. 2014 TCEB ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี ค.ศ. 2015 รวมถึงโอกาสผลกระทบ และความท้าทายต่ออุตสาหกรรมไมซ์จากการเปิดประตูการค้าเสรีระดับภูมิภาค และได้รับมอบหมายจากสำนักเลขาธิการอาเซียน ร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาให้เป็นผู้รับผิดชอบการจัดทำมาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standard: AMVS) และให้ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมพิเศษครั้งที่ 1 ว่าด้วย มาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (1st Special Meeting on ASEAN MICE Venue Standard (AMVS) Category: Meeting Room) พร้อมเดินหน้าผสานความร่วมมือในการนำร่องมาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ไทย (Thailand MICE Venue Standard) เป็นแม่แบบเพื่อยกระดับการพัฒนาสู่มาตรฐานสถานที่จัดงาน ASEAN MICE สร้างความเป็นหนึ่งเดียวในภูมิภาค ปูทางสู่ความร่วมมือส่งเสริมตลาดภายใต้แบรนด์อาเซียนร่วมกันอย่างมีเอกภาพ ซึ่งในการประชุมครั้งสำคัญนี้มีเจ้าหน้าที่ระดับสูง ผู้แทนจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในอุตสาหกรรม MICE และการท่องเที่ยวของอาเซียนเข้าร่วมทั้งสิ้น 30 คน จาก 10 ประเทศ ได้แก่ บรูไน, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, เมียนมาร์, ลาว, กัมพูชา, มาเลเซีย, เวียดนาม, อินโดนีเซีย และประเทศไทย เพื่อหารือกรอบหลักเกณฑ์การจัดทำมาตรฐาน ระบบการตรวจสอบ คู่มือ กระบวนการออกใบรับรองมาตรฐาน โครงการนำร่องในการจัดฝึกอบรมผู้ตรวจสอบและทดสอบระบบ โดยจะจัดขึ้นควบคู่กับการประชุมอาเซียนวาระพิเศษด้านมาตรฐานโรงแรมสีเขียวและมาตรฐานบริการด้านสปา เพื่อผลักดันให้กลุ่มประเทศในอาเซียนมีมาตรฐานสินค้าและบริการด้านไมซ์ตลอดจนการท่องเที่ยวเป็นหนึ่งเดียวกัน ทั้งนี้ จากรายงานกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดกลุ่มนักเดินทางธุรกิจของอาเซียน ระบุว่าในปี ค.ศ. 2012 อาเซียนต้อนรับนักท่องเที่ยวนานาชาติกว่า 87 ล้านคน โดย ร้อยละ 46 เป็นนักท่องเที่ยวในกลุ่มประเทศอาเซียน มีการคาดการณ์ว่าการท่องเที่ยวในอาเซียนจะขยายตัวอย่างมากโดยมีปริมาณถึง 118.63 ล้านคน ภายในปี ค.ศ. 2017 เพิ่มขึ้นสูงถึง ร้อยละ 35 จากปี ค.ศ. 2012 ซึ่งหากอุตสาหกรรมไมซ์มีการพัฒนาและเติบโตระดับเดียวกันในภูมิภาค จะมีผู้เดินทางกลุ่มไมซ์รวม 12 ล้านคน ในปี ค.ศ. 2017 คิดเป็นรายได้สูงถึง ร้อยละ 20 ของรายได้จากการท่องเที่ยว ในปีงบประมาณ 2014 ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีโอกาสต้อนรับนักเดินทางกลุ่มไมซ์จากต่างประเทศรวมทั้งสิ้น 919,164 คน สร้างรายได้รวม 80,800 ล้านบาท โดยประเทศในกลุ่มอาเซียนติดอันดับ 10 ประเทศแรก ที่มีนักเดินทางกลุ่มไมซ์เข้ามาในประเทศไทย ประกอบด้วยนักเดินทางกลุ่มไมซ์จากมาเลเซียจำนวน 69,034 คน สิงคโปร์ 66,956 คน และอินโดนีเซีย 33,325 คน ดังนั้น ภายใต้กรอบความร่วมมือในการผลักดันมาตรฐานห้องประชุมอาเซียน (ASEAN MICE Venue Standard) นั้นประเทศกลุ่มสมาชิกทั้งหมดจะได้รับประโยชน์ร่วมกันทั้งในด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมไมซ์และอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การบูรณาการด้านมาตรฐานห้องประชุมให้มีมาตรฐานเดียวกันในภูมิภาคอาเซียนนั้น ย่อมช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันระดับภูมิภาค ห้กับทุกประเทศในกลุ่มอาเซียน เปิดโอกาสทางการขายรวมถึงอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร ซื้อขาย แลกเปลี่ยน สร้างทางเลือกใหม่ ๆ ให้กับผู้เดินทาง MICE จากทั้งในอาเซียน และภูมิภาคอื่น ๆ ทั่วโลก[6]

 

MICE กับการแข่งขันระหว่างประเทศและการเมืองในประเทศ

          MICE มีนัยยะสำคัญในการสร้างรายได้จากธุรกิจ MICE ของแต่ละประเทศ เพราะธุรกิจ MICE นั้นสามารถขยายตัวได้อย่างรวดเร็วแล้วสามารถสร้างรายได้ในทั้งทางตรงและทางอ้อม และยังก่อให้เกิดการจ้างงาน และสร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องด้วยกัน อีกทั้งยังมีแรงดึงดูดให้ทุนจากภายนอกประเทศให้เข้ามาลงทุนภายในประเทศ ส่งผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และก่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการพัฒนาและลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐาน ด้วยเหตุนี้จึงก่อให้เกิดการความพยายามที่จะแข่งขันกันเพื่อเป็นศูนย์กลางของธุรกิจ MICE            

          ประเทศไทยได้พยายามที่จะปรับโครงสร้างต่าง ๆ ภายในประเทศ เช่น ถนน ท่าเรือทรัพยากรธรรมชาติ ความพร้อมด้านเทคโนโลยีและโทรคมนาคม เพื่อที่จะพร้อมสู่การเข้าสู่เวทีการแข่งขันของธุรกิจ MICE ในตลาดโลก ลัเป็นศูนย์กลางชอง MICE ใน AEC  

          อย่างไรก็ดี เมื่อมีการแข่งขันจึงมิสามารถเลี่ยงได้ในเรื่องของความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้และอาจส่งผลกระทบต่อรัฐอื่น ๆ ด้วยเช่นกัน ดังในกรณีของประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และเป็นประตูสู่ภูมิภาคที่ได้รับการยอมรับในฐานะเป็นศูนย์กลางในด้านธุรกิจ การลงทุน การขนส่ง และการเงินของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยจะเห็นได้ว่าในฐานะเจ้าแห่งอุตสาหกรรม MICE สิงค์โปร์ได้แสดงจุดยืนมีนโยบายวางตัวเป็นกลาง (neutral country) และภายใต้ความขัดแย้งระหว่างจีนและสหรัฐฯ ที่ส่วนนึงก็เป็นผลมาจากการขยายตัวในอุตสาหกรรม MICE ท่าทีของสิงคโปร์ต่อประเทศมหาอำนาจอย่างอเมริกาและจีนที่มีความขัดแย้งกัน และทั้งสองประเทศต่างมีอิทธิพลต่อประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาคนี้ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง แต่สิงคโปร์ก็ยังคงวางตัวเป็น กลางในเวทีโลก ไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด และดำรง
ซึ่งความสัมพันธ์อันดีงามกับทั้งสองประเทศ ทำให้นักลงทุน และนักธุรกิจ ที่จะร่วมทำธุรกิจสามารถไว้วางใจในความปลอดภัยจากเกมทางการเมืองระหว่างประเทศได้[7]

          ด้วยเหตุนี้จึงนับว่าเป็นอีกหนึ่งเหตุผลสำคัญที่ทำให้สิงค์โปร์มีศักยภาพใน การแข่งขันและสามารถที่ขึ้นมาเป็นเจ้าแห่งอุตสาหกรรม MICE ภายใต้ความขัดแย้งของนานาประประเทศได้

          อย่างไรก็ดี MICE สร้างผลกระทบต่อการเมืองในประเทศด้วย แม้ว่า MICE ทำรายได้ให้แก่รัฐได้มหาศาลแต่ก็มีต้นทุนที่สูงมาก เพราะรัฐต้องนำเงินมาใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับกับการขยายตัวที่รวดเร็วของธุรกิจนี้ให้ได้ เมื่อมีนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นก็ต้องมีสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการก่อสร้างถนน สร้างสนามบิน สร้างที่พัก สร้างร้านอาหาร ล้วนต้องใช้เงินในการลงทุนก่อสร้างและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเป็นจำนวนมาก ที่สำคัญคือการขยายตัวที่รวดเร็วของธุรกิจนี้ได้ส่งผลให้เกิดการเสื่อมโทรมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติอย่างหนัก ด้วยเหตุนี้แล้วนั้น จึงทำให้ MICE ถูกวิพากษ์วิจารณ์และถูกจับตามองในเวทีโลกในการแก้ไขปัญหาความเสื่อมโทรมทางสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ การเกิดมลพิษภายในประเทศ การเบียดเบียนที่ทำกินของคนยากไร้ ทำให้ทางการของหลายประเทศต้องเผชิญหน้ากับการประท้วงของเครือข่ายภาคประชาสังคมในประเทศของตน[8]

          ในปัจจุบัน เมื่อโลกได้เผชิญกับสภาวะโรคระบาดโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างหนักต่อการขยายตัวของ ASEAN MICE เป็นที่น่าจับตามองอย่างมากว่า MICE จะคืนสู่สภาพเดิมที่เป็นความหวังของ ASEAN ได้มากน้อยเพียงใด

 

อ้างอิง

[1] สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ. (2560). “MICE” อุตสาหกรรมไมซ์ นิยามบทใหม่แห่งการสร้างสรรค์งานอีเวนท์. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.businesseventsthailand.com/index.php/th/press-media/news-press-release/detail/1088-mice-is-the-new-definition-of-event-management

[2] วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม. (ม.ป.ป.). MICE Business. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://sites.google.com/site/micebizforstudents/home/unit2

[3] Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization).  สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.micecapabilities.com/mice/index.php/pillars/5.%20asean%20economic%20community

[4] Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization).  “วัตถุประสงค์การก่อตั้ง.” สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://po.opdc.go.th/content/MTA3

[5]Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization).  สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.businesseventsthailand.com/th/about-us/power-and-duty

[6]Thailand Convention & Exhibition Bureau (Public Organization).  “ทีเส็บจับมืออาเซียนผลักดันมาตรฐานสถานที่จัดงานไมซ์ระดับภูมิภาค.” สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.businesseventsthailand.com/th/press-media/news-press-release/detail/554-tceb-joins-hands-with-asean-to-drive-regional-mice-venue-standard

[7] Praornpit Katchwattana. (2022). เรียนรู้จาก สิงคโปร์ กับการรักษาตำแหน่งเจ้าแห่ง อุตสาหกรรมไมซ์ MICE แห่งอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.salika.co/2022/04/03/singapore-number-one-mice-industry-in-asean/

[8] Norol Hamiza Zamzuri, Khairil Wahidin Awang, Zaiton Samdin (2011). “Environmental Issues in Meeting, Incentive, Convention and Exhibition (MICE) Tourism Sector.” International Conference on Business, Economics and Tourism Management IPEDR. vol.24 (2011). Retrived 20 May 2022.  http://www.ipedr.com/vol24/20-CBETM2011-M10027.pdf