ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟมทวิต"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
'''ผู้เรียบเรียง''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา สาธิตพร และ ธีทัต จันทราพิชิต | '''ผู้เรียบเรียง''' ''':''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา สาธิตพร และ ธีทัต จันทราพิชิต | ||
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | '''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ''':''' รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
| | ||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
<span style="font-size:x-large;">'''ความหมาย'''</span> | <span style="font-size:x-large;">'''ความหมาย'''</span> | ||
| เฟมทวิต มีความหมายสองประการ ได้แก่ | ||
1. เฟมินิสต์ที่เคลื่อนไหวเรื่องสิทธิความเท่าเทียมทางเพศผ่านทางทวิตเตอร์ ความหมายเช่นนี้เป็นความหมายที่กลุ่มเฟมินิสต์เข้าใจเป็นส่วนมาก | |||
2. กลุ่มคนที่ประกาศตนว่าเป็นเฟมินิสต์แต่มีข้อเรียกร้องที่ฟังดูประหลาด และดูจะเอาแต่ใจตัวเอง (ในมุมผู้ใช้) ทั้งนี้เฟมทวิตในความหมายนี้ยังรวมไปถึงผู้ประกาศตนว่าเป็นเฟมินิสต์พูดและใช้โวหารแบบเฟมินิสต์ในการโจมตีระบบชายเป็นใหญ่ ต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทางเพศ แต่มักจะมองข้ามประเด็นความเท่าเทียมทางเพศของเพศชาย อย่างเช่นการใช้ภาษาลวนลาม ซึ่งอาจจะได้รับการยกเว้นหากผู้ใช้ภาษาลวนลามนั่นเป็นผู้หญิง จึงทำให้เฟมทวิตมาพร้อมกับภาพลักษณ์ในเชิงลบของกลุ่มผู้หญิงหัวรุนแรงที่พยายามจะสถาปนาระบอบหญิงแป็นใหญ่ [[#_ftn1|[1]]] ความหมายของเฟมทวิตในส่วนนี้เป็นความหมายที่กลุ่มต่อต้าน หรือที่เฟมินิสต์เรียกว่ากลุ่มปฏิกิริยามักจะใช้กันโดยเฉพาะในช่วงแรก | |||
| | ||
บรรทัดที่ 20: | บรรทัดที่ 24: | ||
เฟมินิสต์เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศซึ่งเกิดขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะกับประเทศตะวันตก โดยเฟมินิสต์มักจะได้รับการแบ่งขบวนการเคลื่อนไหวออกเป็นช่วง ๆ หรือแบ่งออกเป็นคลื่นตามลักษณะการเคลื่อนไหวและผู้เข้าร่วมขบวนการซึ่งก็เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยทั่วไปแล้วคลื่นลูกแรกของเฟมินิสต์จะอยู่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ต้นศตวรรษที่ 20 โดยเป็นการเรียกร้องในประเด็นอย่างเช่นสิทธิการเลือกตั้ง สิทธิในการถือครองทรัพย์สิน รวมไปถึงสิทธิและสวัสดิการในที่ทำงานซึ่งเกิดจากการที่ผู้หญิงเข้าไปอยู่ในส่วนหนึ่งของตลาดแรงงาน[[#_ftn2|[2]]] | เฟมินิสต์เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศซึ่งเกิดขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะกับประเทศตะวันตก โดยเฟมินิสต์มักจะได้รับการแบ่งขบวนการเคลื่อนไหวออกเป็นช่วง ๆ หรือแบ่งออกเป็นคลื่นตามลักษณะการเคลื่อนไหวและผู้เข้าร่วมขบวนการซึ่งก็เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยทั่วไปแล้วคลื่นลูกแรกของเฟมินิสต์จะอยู่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ต้นศตวรรษที่ 20 โดยเป็นการเรียกร้องในประเด็นอย่างเช่นสิทธิการเลือกตั้ง สิทธิในการถือครองทรัพย์สิน รวมไปถึงสิทธิและสวัสดิการในที่ทำงานซึ่งเกิดจากการที่ผู้หญิงเข้าไปอยู่ในส่วนหนึ่งของตลาดแรงงาน[[#_ftn2|[2]]] | ||
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1960-1990 ก็ได้เกิดเฟมินิสต์คลื่นลูกที่สองซึ่งมองถึงภาวะการประกอบสร้างความเป็นหญิงขึ้นมา โดยเฟมินิสต์คลื่นลูกนี้มองว่าความเป็นหญิง หรือความเป็นกุลสตรีนั่นเกิดจากการกล่อมเกลาทางสังคมมากกว่าเกิดจากเรื่องชีววิทยา โดยขบวนการคลื่นลูกที่สองนั่นพยายามจะต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมเพื่อยุติการกีดกันและกดขี่ทางเพศ[[#_ftn3|[3]]] | ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1960-1990 ก็ได้เกิดเฟมินิสต์คลื่นลูกที่สองซึ่งมองถึงภาวะการประกอบสร้างความเป็นหญิงขึ้นมา โดยเฟมินิสต์คลื่นลูกนี้มองว่าความเป็นหญิง หรือความเป็นกุลสตรีนั่นเกิดจากการกล่อมเกลาทางสังคมมากกว่าเกิดจากเรื่องชีววิทยา โดยขบวนการคลื่นลูกที่สองนั่นพยายามจะต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมเพื่อยุติการกีดกันและกดขี่ทางเพศ[[#_ftn3|[3]]] | ||
การที่เฟมินิสต์เปลี่ยนแปลงลักษณะทางการเคลื่อนไหวนั่น รวมไปถึงวิธีการในการเคลื่อนไหวด้วย ซึ่งปัจจุบันการเคลื่อนไหวโดยใช้โซเซียลมีเดียก็เป็นช่องทางหนึ่งในการเคลื่อนไหว โดยช่องทางสำคัญนั่นก็คือทวิตเตอร์ | การที่เฟมินิสต์เปลี่ยนแปลงลักษณะทางการเคลื่อนไหวนั่น รวมไปถึงวิธีการในการเคลื่อนไหวด้วย ซึ่งปัจจุบันการเคลื่อนไหวโดยใช้โซเซียลมีเดียก็เป็นช่องทางหนึ่งในการเคลื่อนไหว โดยช่องทางสำคัญนั่นก็คือทวิตเตอร์ ซึ่งเป็นโซเซียลมีเดียที่เปิดให้บริการตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2006 โดยในกรณีของไทยทวิตเตอร์ช่วงแรก ๆ ไม่ได้เป็นที่นิยมเท่าเฟซบุ๊ค และผู้ใหญ่จำนวนมากเป็นผู้หญิงซึ่งนิยมชมชอบศิลปินเกาหลี ต่อมาเมื่อเฟซบุ๊คเริ่มมีผู้ใช้งานที่เป็นผู้ใหญ่มากขึ้น ผู้ใช้ทวิตเตอร์ที่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ต้องการความเป็นส่วนตัวก็สูงขึ้นตาม เนืองจากส่วนมากมีครอบครัวอยู่ในรายชื่อเพื่อนทำให้ไม่สามารถปลดปล่อยความคิดได้อิสระเท่าที่ควร เมื่อเวลาผ่านไปการเคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศโดยใช้ทวิตเตอร์ในการสื่อสารข้อมูลก็เพิ่มขึ้น จนไปถึงจุดที่เกิดการต่อต้านขึ้นในสังคม | ||
กลุ่มที่แสดงความไม่เห็นด้วยไปจนถึงแสดงอาการต่อต้านนั้นก็คือ กลุ่มที่ผู้เคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศเรียกว่าผู้ชายกลุ่มธเนศ | กลุ่มที่แสดงความไม่เห็นด้วยไปจนถึงแสดงอาการต่อต้านนั้นก็คือ กลุ่มที่ผู้เคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศเรียกว่าผู้ชายกลุ่มธเนศ ซึ่งเริ่มที่จะปรากฏตัวมาในช่วง ปี พ.ศ. 2562 โดยในกลุ่มดังกล่าวได้มีการโพสต์ข้อความที่ล้อเลียน เสียดสี ไปจนถึงการเหยียดเพศ โดยในช่วงแรกนั้นทางผู้ชายกลุ่มธเนศได้ใช้เรียกคนกลุ่มนี้ตรง ๆ ว่าเฟมินิสต์ ทว่าการใช้คำดังกล่าวกลับทำให้คนที่สนับสนุนเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ แต่ไม่ชอบการเคลื่อนไหวในบางรูปแบบไม่พอใจ โดยคนกลุ่มนี้ได้สร้างคำขึ้นมาโดยผสมระหว่างคำวามเฟมินิสต์กับทวิตเตอร์กลายเป็นคำว่าเฟมทวิต ซึ่งหมายถึงกลุ่มที่เคลื่อนไหวผ่านทางทวิตเตอร์ และประกาศตนว่าเป็นเฟมินิสต์ พร้อมบอกตลอดว่าตนกำลังต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทางเพศ แต่การกระทำกลับสวนทาง และออกไปทางต้องการจะให้ผู้หญิงกลายเป็นใหญ่แทนที่คนในสังคมซึ่งขัดต่อแก่นของเฟมินิสต์ | ||
คำว่าเฟมทวิตในช่วงแรกจึงมีนัยยะของการแบ่งเฟมินิสต์ออกเป็นหลายกลุ่ม โดยมีกลุ่มแท้ที่เรียกว่าเฟมินิสต์และกลุ่มที่เคลื่อนไหวแบบบิดเบี้ยวที่เรียกว่าเฟมทวิต [[#_ftn4|[4]]]นั่นส่วนหนึ่งเป็นไปเพื่อทำการรักษาขบวนการเฟมินิสต์ในมุมมองของผู้นิยามคำดังกล่าว ให้มีลักษณะไม่โดนภาพลักษณ์ว่าหัวรุนแรงหรือเต็มไปด้วยความย้อนแย้ง หากแต่ผู้ใช้จำนวนมากมีโวหารที่ต่อต้านความเท่าเทียมทางเพศ | คำว่าเฟมทวิตในช่วงแรกจึงมีนัยยะของการแบ่งเฟมินิสต์ออกเป็นหลายกลุ่ม โดยมีกลุ่มแท้ที่เรียกว่าเฟมินิสต์และกลุ่มที่เคลื่อนไหวแบบบิดเบี้ยวที่เรียกว่าเฟมทวิต [[#_ftn4|[4]]]นั่นส่วนหนึ่งเป็นไปเพื่อทำการรักษาขบวนการเฟมินิสต์ในมุมมองของผู้นิยามคำดังกล่าว ให้มีลักษณะไม่โดนภาพลักษณ์ว่าหัวรุนแรงหรือเต็มไปด้วยความย้อนแย้ง หากแต่ผู้ใช้จำนวนมากมีโวหารที่ต่อต้านความเท่าเทียมทางเพศ | ||
บรรทัดที่ 37: | บรรทัดที่ 41: | ||
| | ||
<div>'''อ้างอิง''' <div id="ftn1"> | <div> | ||
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span> | |||
<div id="ftn1"> | |||
[[#_ftnref1|[1]]] กรุงเทพธุรกิจ, 2563, รู้จัก 'เฟมทวิต' ในการชุมนุม '#เยาวชนปลดแอก'.เข้าถึงจาก [https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/890066 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/890066] | [[#_ftnref1|[1]]] กรุงเทพธุรกิจ, 2563, รู้จัก 'เฟมทวิต' ในการชุมนุม '#เยาวชนปลดแอก'.เข้าถึงจาก [https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/890066 https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/890066] | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
บรรทัดที่ 51: | บรรทัดที่ 57: | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] เฟมินิสต์หน่อย, 2563, “ #เฟมทวิต ” ดาบสองคมของการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศบนพื้นที่โซเชี่ยลมีเดีย. เข้าถึงจาก [https://www.facebook.com/1983367558550032/posts/2711477445739036/ https://www.facebook.com/1983367558550032/posts/2711477445739036/] | [[#_ftnref7|[7]]] เฟมินิสต์หน่อย, 2563, “ #เฟมทวิต ” ดาบสองคมของการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศบนพื้นที่โซเชี่ยลมีเดีย. เข้าถึงจาก [https://www.facebook.com/1983367558550032/posts/2711477445739036/ https://www.facebook.com/1983367558550032/posts/2711477445739036/] | ||
</div> </div> | |||
| |||
</div> </div> | |||
[[Category:สารานุกรม คำศัพท์ต่าง ๆ]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]][[Category:ว่าด้วยเหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:03, 8 มิถุนายน 2565
ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิชุดา สาธิตพร และ ธีทัต จันทราพิชิต
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
“เฟมทวิต” เป็นคำแสลงเชิงเสียดสีทางการเมืองที่เกิดจากการผสมคำระหว่าง “เฟมินิสต์ (feminist)” กับ “ทวิตเตอร์ (twitter)” โดยมีนัยยะหมายถึงคนที่เคลื่อนไหวในประเด็นที่มีความก้าวหน้าทั้งเรื่องสิทธิสตรี และเรื่องความหลากหลายทางเพศผ่านทางทวิตเตอร์เป็นหลัก
ความหมาย
เฟมทวิต มีความหมายสองประการ ได้แก่
1. เฟมินิสต์ที่เคลื่อนไหวเรื่องสิทธิความเท่าเทียมทางเพศผ่านทางทวิตเตอร์ ความหมายเช่นนี้เป็นความหมายที่กลุ่มเฟมินิสต์เข้าใจเป็นส่วนมาก
2. กลุ่มคนที่ประกาศตนว่าเป็นเฟมินิสต์แต่มีข้อเรียกร้องที่ฟังดูประหลาด และดูจะเอาแต่ใจตัวเอง (ในมุมผู้ใช้) ทั้งนี้เฟมทวิตในความหมายนี้ยังรวมไปถึงผู้ประกาศตนว่าเป็นเฟมินิสต์พูดและใช้โวหารแบบเฟมินิสต์ในการโจมตีระบบชายเป็นใหญ่ ต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทางเพศ แต่มักจะมองข้ามประเด็นความเท่าเทียมทางเพศของเพศชาย อย่างเช่นการใช้ภาษาลวนลาม ซึ่งอาจจะได้รับการยกเว้นหากผู้ใช้ภาษาลวนลามนั่นเป็นผู้หญิง จึงทำให้เฟมทวิตมาพร้อมกับภาพลักษณ์ในเชิงลบของกลุ่มผู้หญิงหัวรุนแรงที่พยายามจะสถาปนาระบอบหญิงแป็นใหญ่ [1] ความหมายของเฟมทวิตในส่วนนี้เป็นความหมายที่กลุ่มต่อต้าน หรือที่เฟมินิสต์เรียกว่ากลุ่มปฏิกิริยามักจะใช้กันโดยเฉพาะในช่วงแรก
ที่มา
เฟมินิสต์เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศซึ่งเกิดขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะกับประเทศตะวันตก โดยเฟมินิสต์มักจะได้รับการแบ่งขบวนการเคลื่อนไหวออกเป็นช่วง ๆ หรือแบ่งออกเป็นคลื่นตามลักษณะการเคลื่อนไหวและผู้เข้าร่วมขบวนการซึ่งก็เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยทั่วไปแล้วคลื่นลูกแรกของเฟมินิสต์จะอยู่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ต้นศตวรรษที่ 20 โดยเป็นการเรียกร้องในประเด็นอย่างเช่นสิทธิการเลือกตั้ง สิทธิในการถือครองทรัพย์สิน รวมไปถึงสิทธิและสวัสดิการในที่ทำงานซึ่งเกิดจากการที่ผู้หญิงเข้าไปอยู่ในส่วนหนึ่งของตลาดแรงงาน[2]
ต่อมาในช่วงทศวรรษที่ 1960-1990 ก็ได้เกิดเฟมินิสต์คลื่นลูกที่สองซึ่งมองถึงภาวะการประกอบสร้างความเป็นหญิงขึ้นมา โดยเฟมินิสต์คลื่นลูกนี้มองว่าความเป็นหญิง หรือความเป็นกุลสตรีนั่นเกิดจากการกล่อมเกลาทางสังคมมากกว่าเกิดจากเรื่องชีววิทยา โดยขบวนการคลื่นลูกที่สองนั่นพยายามจะต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมเพื่อยุติการกีดกันและกดขี่ทางเพศ[3]
การที่เฟมินิสต์เปลี่ยนแปลงลักษณะทางการเคลื่อนไหวนั่น รวมไปถึงวิธีการในการเคลื่อนไหวด้วย ซึ่งปัจจุบันการเคลื่อนไหวโดยใช้โซเซียลมีเดียก็เป็นช่องทางหนึ่งในการเคลื่อนไหว โดยช่องทางสำคัญนั่นก็คือทวิตเตอร์ ซึ่งเป็นโซเซียลมีเดียที่เปิดให้บริการตั้งแต่ ปี ค.ศ. 2006 โดยในกรณีของไทยทวิตเตอร์ช่วงแรก ๆ ไม่ได้เป็นที่นิยมเท่าเฟซบุ๊ค และผู้ใหญ่จำนวนมากเป็นผู้หญิงซึ่งนิยมชมชอบศิลปินเกาหลี ต่อมาเมื่อเฟซบุ๊คเริ่มมีผู้ใช้งานที่เป็นผู้ใหญ่มากขึ้น ผู้ใช้ทวิตเตอร์ที่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ต้องการความเป็นส่วนตัวก็สูงขึ้นตาม เนืองจากส่วนมากมีครอบครัวอยู่ในรายชื่อเพื่อนทำให้ไม่สามารถปลดปล่อยความคิดได้อิสระเท่าที่ควร เมื่อเวลาผ่านไปการเคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศโดยใช้ทวิตเตอร์ในการสื่อสารข้อมูลก็เพิ่มขึ้น จนไปถึงจุดที่เกิดการต่อต้านขึ้นในสังคม
กลุ่มที่แสดงความไม่เห็นด้วยไปจนถึงแสดงอาการต่อต้านนั้นก็คือ กลุ่มที่ผู้เคลื่อนไหวเพื่อความเท่าเทียมทางเพศเรียกว่าผู้ชายกลุ่มธเนศ ซึ่งเริ่มที่จะปรากฏตัวมาในช่วง ปี พ.ศ. 2562 โดยในกลุ่มดังกล่าวได้มีการโพสต์ข้อความที่ล้อเลียน เสียดสี ไปจนถึงการเหยียดเพศ โดยในช่วงแรกนั้นทางผู้ชายกลุ่มธเนศได้ใช้เรียกคนกลุ่มนี้ตรง ๆ ว่าเฟมินิสต์ ทว่าการใช้คำดังกล่าวกลับทำให้คนที่สนับสนุนเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ แต่ไม่ชอบการเคลื่อนไหวในบางรูปแบบไม่พอใจ โดยคนกลุ่มนี้ได้สร้างคำขึ้นมาโดยผสมระหว่างคำวามเฟมินิสต์กับทวิตเตอร์กลายเป็นคำว่าเฟมทวิต ซึ่งหมายถึงกลุ่มที่เคลื่อนไหวผ่านทางทวิตเตอร์ และประกาศตนว่าเป็นเฟมินิสต์ พร้อมบอกตลอดว่าตนกำลังต่อสู้เพื่อความเท่าเทียมทางเพศ แต่การกระทำกลับสวนทาง และออกไปทางต้องการจะให้ผู้หญิงกลายเป็นใหญ่แทนที่คนในสังคมซึ่งขัดต่อแก่นของเฟมินิสต์
คำว่าเฟมทวิตในช่วงแรกจึงมีนัยยะของการแบ่งเฟมินิสต์ออกเป็นหลายกลุ่ม โดยมีกลุ่มแท้ที่เรียกว่าเฟมินิสต์และกลุ่มที่เคลื่อนไหวแบบบิดเบี้ยวที่เรียกว่าเฟมทวิต [4]นั่นส่วนหนึ่งเป็นไปเพื่อทำการรักษาขบวนการเฟมินิสต์ในมุมมองของผู้นิยามคำดังกล่าว ให้มีลักษณะไม่โดนภาพลักษณ์ว่าหัวรุนแรงหรือเต็มไปด้วยความย้อนแย้ง หากแต่ผู้ใช้จำนวนมากมีโวหารที่ต่อต้านความเท่าเทียมทางเพศ
การต่อสู้เพื่อแย่งชิงความหมาย
กรณีการเกิดขึ้นของคำว่าเฟมทวิตไม่ได้สร้างความพอใจให้กับการเคลื่อนไหวของเฟมินิสต์มากนัก สำหรับเฟมินิสต์การเคลื่อนไหวควรจะเป็นการเคลื่อนไหวที่รวมคนให้มากที่สุด หากมีการแบ่งแยกกันจะทำให้ขบวนการอ่อนแอลง นั่นทำให้เฟมินิสต์จำนวนมากออกมาพยายามแย่งชิงความหมาย ผ่านการพยายามที่จะบอกว่าทุกกลุ่มความเคลื่อนไหวที่ประกาศว่าตนเป็นเฟมินิสต์ล้วนแต่เป็นเฟมินิสต์
โดยทวิตเตอร์ Feminista-เฟมินิสต้า ซึ่งพยายามเผยแพร่แนวคิดเฟมินิสต์ ได้พยายามบอกว่าการแบ่งแยกแบบนี้ไม่มีประโยชน์ต่อการเคลื่อนไหวในระยะยาว พร้อมมองว่าการใช้คำนี้เป็นการด้อยค่าขบวนการเฟมินิสต์ [5] ต่อมาทาง Feminista ก็ได้พยายามออกบทสัมภาษณ์เพื่อแย่งชิงความหมายในชื่อว่า “Feminista Interview เสียงจากเฟมทวิต : เขาหาว่าเราบ้า ประสาทแดก เกรี้ยวกราด และไม่ใช่เฟมินิสต์” [6] นอกจากนี้เฟซบุ๊คแฟนเพจ “เฟมินิสต์หน่อย” ยังได้เขียนบทความเพื่อบอกว่าเฟมทวิตไม่ใช่การเคลื่อนไหวที่บิดเบี้ยวแต่อย่างใดและเป็นเฟมินิสต์เท่า ๆ กับคนที่เรียกร้องด้วยวิธีอื่น หากแต่เฟมินิสต์หน่อยมองว่าปัญหาต่าง ๆ นั่นมาจากรูปแบบของแพลตฟอร์มอย่างทวิตเตอร์เสียมากกว่า[7]
อ้างอิง
[1] กรุงเทพธุรกิจ, 2563, รู้จัก 'เฟมทวิต' ในการชุมนุม '#เยาวชนปลดแอก'.เข้าถึงจาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/890066
[2] 101, 2563, จาก ‘เฟมินิสต์’ สู่ ‘เฟมทวิต’: สำรวจความ(ไม่)เท่าเทียมทางเพศในสังคมไทย กับ ชานันท์ ยอดหงษ์. เข้าถึงจาก https://www.the101.world/chanan-yodhong-interview/
[3] บีบีซีไทย, 2563, เฟมทวิต : ประวัติศาสตร์ของแนวคิดสตรีนิยม และปมขัดแย้งในสังคมไทย. เข้าถึงจาก https://www.bbc.com/thai/international-53153218
[4] เฟมินิสต์หน่อย, 2563, “ #เฟมทวิต ” ดาบสองคมของการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศบนพื้นที่โซเชี่ยลมีเดีย. เข้าถึงจาก https://www.facebook.com/1983367558550032/posts/2711477445739036/
[5] Feminista-เฟมินิสต้า , 2563, เห็นด้วยไม่เห็นด้วยก็แยกมาเป็นเรื่องๆ แต่ไม่ใช่การไปตราหน้าว่าเฟมทวิตไม่ใช้เฟมินิสต์ หรือขบวนการเฟมทวิตนั้นเป็นแค่กลุ่มคนประสาทแดก. เข้าถึงจาก https://twitter.com/feminista_th/status/1275374733060567042?ref_src=twsrc%5Etfw%7Ctwcamp%5Etweetembed%7Ctwterm%5E1275374733060567042%7Ctwgr%5E%7Ctwcon%5Es1_&ref_url=https%3A%2F%2Fwww.bbc.com%2Fthai%2Finternational-53153218
[6] Feminista, 2563, Feminista Interview เสียงจากเฟมทวิต : เขาหาว่าเราบ้า ประสาทแดก เกรี้ยวกราด และไม่ใช่เฟมินิสต์. เข้าถึง http://www.feminista.in.th/post/femtwit-voice-exist
[7] เฟมินิสต์หน่อย, 2563, “ #เฟมทวิต ” ดาบสองคมของการเรียกร้องความเท่าเทียมทางเพศบนพื้นที่โซเชี่ยลมีเดีย. เข้าถึงจาก https://www.facebook.com/1983367558550032/posts/2711477445739036/