ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข่าวปลอม (Fake News)"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างหน้าด้วย " '''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น..."
 
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:


'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น
'''ผู้เรียบเรียง :''' ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ


 
 


'''ข่าวปลอม (''''''Fake News'''''')'''
<span style="font-size:x-large;">'''ข่าวปลอม (Fake News)'''</span>


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ข่าวปลอม หรือข่าวสารที่ไม่มีความจริง มีหลายลักษณะ ได้แก่ ข่าวเสียดสีหรือล้อเลียน ข่าวที่ตัดต่อ ดัดแปลงหรืออ้างแหล่งที่มาผิดเพื่อเป้าหมายในการลวงผู้รับสารทำให้เข้าใจผิด โดยเนื้อหาของข่าวปลอมอาจมีข้อเท็จจริงเพียงเล็กน้อยหรือเพียงบางส่วนแต่ขาดบริบทของรายละเอียดหรืออาจเป็นข่าวที่ไม่มีมูลความจริงเลย การใช้ภาพปลอม รวมไปถึงอาจไม่มีแหล่งข่าวหรือคำพูดที่ตรวจสอบได้ อย่างไรก็ดี ข่าวปลอมบางประเภทก็อาจมีเนื้อข่าวที่ตรวจสอบได้จริง แต่มีลักษณะการเขียนด้วยอคติ จงใจให้ร้าย หรือไม่ใส่รายละเอียดที่สำคัญต่อเหตุการณ์ลงในเนื้อข่าวหรือนำเสนอจากมุมมองด้านเดียว ในปัจจุบันพบว่าบางครั้งข่าวปลอมอาจมีรูปแบบของโฆษณาชวนเชื่อที่จงใจเขียนขึ้นมาเพื่อชี้นำคนอ่าน โดยมีแรงจูงใจทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงของการเลือกตั้ง ที่มักมีการบิดเบือนหรือสร้างข่าวปลอมออกมาเผยแพร่เพื่อให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบทางการเมืองในช่วงของการหาเสียง เป็นต้น นอกจากการใช้ข่าวปลอมเป็นเครื่องมือทางการเมืองแล้ว ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้มีการปล่อยและเผยแพร่ข่าวปลอมจำนวนมาก ซึ่งนำไปสู่การเข้าใจผิดและความตื่นตระหนกในสังคมเกี่ยวกับประเด็นเรื่องระดับการแพร่ระบาด การใช้มาตรการควบคุมของรัฐตลอดจนมีการโฆษณาชวนเชื่อเรื่องการรักษา การใช้วัคซีนและชุดตรวจหาเชื้อ เป็นต้น ตัวอย่างข่าวปลอมเหล่านี้ ได้แก่ '''“เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบนักโทษติดเชื้อโควิด-19&nbsp;จำนวน 1,300 คน”''' ซึ่งในความเป็นจริงพบผู้ติดเชื้อจากการตรวจจริง จำนวน 347 ราย และ '''“ผู้ที่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ผู้หญิงจะมีปัญหาเรื่องมดลูกและมีบุตรยาก ผู้ชายจะทำให้เชื้ออสุจิน้อยลงและเป็นหมัน”'''&nbsp;ซึ่งยังไม่มีหลักฐานว่าวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 จะส่งผลต่อความสามารถในการมีบุตร ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย รวมทั้ง '''“ติดโควิด-19 รักษาด้วยตนเองได้ แค่รับประทานยาแอสไพริน”''' ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขระบุว่าตรวจสอบแล้วเป็นข้อมูลเท็จ เนื่องจากการรักษายังต้องอยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ผู้ให้การรักษาเท่านั้น เป็นต้น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ข่าวปลอม หรือข่าวสารที่ไม่มีความจริง มีหลายลักษณะ ได้แก่ ข่าวเสียดสีหรือล้อเลียน ข่าวที่ตัดต่อ ดัดแปลงหรืออ้างแหล่งที่มาผิดเพื่อเป้าหมายในการลวงผู้รับสารทำให้เข้าใจผิด โดยเนื้อหาของข่าวปลอมอาจมีข้อเท็จจริงเพียงเล็กน้อยหรือเพียงบางส่วนแต่ขาดบริบทของรายละเอียดหรืออาจเป็นข่าวที่ไม่มีมูลความจริงเลย การใช้ภาพปลอม รวมไปถึงอาจไม่มีแหล่งข่าวหรือคำพูดที่ตรวจสอบได้ อย่างไรก็ดี ข่าวปลอมบางประเภทก็อาจมีเนื้อข่าวที่ตรวจสอบได้จริง แต่มีลักษณะการเขียนด้วยอคติ จงใจให้ร้าย หรือไม่ใส่รายละเอียดที่สำคัญต่อเหตุการณ์ลงในเนื้อข่าวหรือนำเสนอจากมุมมองด้านเดียว ในปัจจุบันพบว่าบางครั้งข่าวปลอมอาจมีรูปแบบของโฆษณาชวนเชื่อที่จงใจเขียนขึ้นมาเพื่อชี้นำคนอ่าน โดยมีแรงจูงใจทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงของการเลือกตั้ง ที่มักมีการบิดเบือนหรือสร้างข่าวปลอมออกมาเผยแพร่เพื่อให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบทางการเมืองในช่วงของการหาเสียง เป็นต้น นอกจากการใช้ข่าวปลอมเป็นเครื่องมือทางการเมืองแล้ว ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้มีการปล่อยและเผยแพร่ข่าวปลอมจำนวนมาก ซึ่งนำไปสู่การเข้าใจผิดและความตื่นตระหนกในสังคมเกี่ยวกับประเด็นเรื่องระดับการแพร่ระบาด การใช้มาตรการควบคุมของรัฐตลอดจนมีการโฆษณาชวนเชื่อเรื่องการรักษา การใช้วัคซีนและชุดตรวจหาเชื้อ เป็นต้น ตัวอย่างข่าวปลอมเหล่านี้ ได้แก่ '''“เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบนักโทษติดเชื้อโควิด-19&nbsp;จำนวน 1,300 คน”''' ซึ่งในความเป็นจริงพบผู้ติดเชื้อจากการตรวจจริง จำนวน 347 ราย และ '''“ผู้ที่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ผู้หญิงจะมีปัญหาเรื่องมดลูกและมีบุตรยาก ผู้ชายจะทำให้เชื้ออสุจิน้อยลงและเป็นหมัน”'''&nbsp;ซึ่งยังไม่มีหลักฐานว่าวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 จะส่งผลต่อความสามารถในการมีบุตร ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย รวมทั้ง '''“ติดโควิด-19 รักษาด้วยตนเองได้ แค่รับประทานยาแอสไพริน”''' ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขระบุว่าตรวจสอบแล้วเป็นข้อมูลเท็จ เนื่องจากการรักษายังต้องอยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ผู้ให้การรักษาเท่านั้น เป็นต้น
บรรทัดที่ 17: บรรทัดที่ 17:


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (3) การสร้างความเกลียดชัง ซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นข่าวที่มีข้อเท็จจริงอยู่บ้างแต่มีเจตนาสร้างขึ้นเพื่อดูถูกเหยียดหยาม สร้างความเกลียดชังให้ผู้ตกเป็นข่าว
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; (3) การสร้างความเกลียดชัง ซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นข่าวที่มีข้อเท็จจริงอยู่บ้างแต่มีเจตนาสร้างขึ้นเพื่อดูถูกเหยียดหยาม สร้างความเกลียดชังให้ผู้ตกเป็นข่าว
&nbsp;


'''ภาพ''' ตัวอย่างการตรวจสอบข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย
'''ภาพ''' ตัวอย่างการตรวจสอบข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย


[[File:Fake News 1.png|center|400x200px]]
[[File:Fake News 1.png|center|400x200px|Fake News 1.png]]
 
'''ที่มา''' “เตือนอย่าแชร์ข่าวปลอม ระวัง&nbsp;!!! อย่าหลงเชื่อ กลุ่มแอบอ้าง”. สืบค้นจาก [https://www https://www].antifake newscenter.com /tag/โควิด19/page/4/ (22 ธันวาคม 2564).


'''ที่มา''' “เตือนอย่าแชร์ข่าวปลอม ระวัง !!! อย่าหลงเชื่อ กลุ่มแอบอ้าง”. สืบค้นจาก [https://www https://www].antifake newscenter.com /tag/โควิด19/page/4/ (22 ธันวาคม 2564).
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี รูปแบบของข่าวปลอมมักถูกแพร่กระจายไปยังช่องทางสื่อสารต่าง ๆ อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะสังคมออน์ไลน์และการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน อาทิ การติดต่อสื่อสารผ่านแอปพลิเคชันเพื่อการสนทนา ซึ่งการพิมพ์โต้ตอบจึงไม่สามารถยืนยันตัวบุคคลของคู่สนทนาทำให้เกิดการสวมรอย หลอกลวงยืมเงิน หรือการทำการอื่น ๆ โดยใช้ชื่อและภาพของผู้ใช้งานให้เหมือนกันได้ รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางช่องทางสังคมออนไลน์ที่ข้อมูลที่ถูกเผยแพร่ไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริง ตลอดจนพื้นที่หรือช่องทางการซื้อสินค้าบนช่องทางออนไลน์และการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องออนไลน์ เป็นต้น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; อย่างไรก็ดี รูปแบบของข่าวปลอมมักถูกแพร่กระจายไปยังช่องทางสื่อสารต่าง ๆ อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะสังคมออน์ไลน์และการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน อาทิ การติดต่อสื่อสารผ่านแอปพลิเคชันเพื่อการสนทนา ซึ่งการพิมพ์โต้ตอบจึงไม่สามารถยืนยันตัวบุคคลของคู่สนทนาทำให้เกิดการสวมรอย หลอกลวงยืมเงิน หรือการทำการอื่น ๆ โดยใช้ชื่อและภาพของผู้ใช้งานให้เหมือนกันได้ รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางช่องทางสังคมออนไลน์ที่ข้อมูลที่ถูกเผยแพร่ไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริง ตลอดจนพื้นที่หรือช่องทางการซื้อสินค้าบนช่องทางออนไลน์และการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องออนไลน์ เป็นต้น
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 34:
'''ภาพ''' การสังเกตุพฤติกรรมความเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของข่าวปลอม
'''ภาพ''' การสังเกตุพฤติกรรมความเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของข่าวปลอม


[[File:Fake News 2.png|center|300x400px]]
[[File:Fake News 2.png|center|300x400px|Fake News 2.png]]
 
'''ที่มา''' “Fake News คืออะไร”.สืบค้นจาก [https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news]&nbsp;(16 ธันวาคม 2564).


'''ที่มา''' “Fake News คืออะไร”.สืบค้นจาก https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news&nbsp;(16 ธันวาคม 2564).
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กล่าวได้ว่า ข่าวปลอมโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์นั้น มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมโดยรวม เนื่องจากข่าวปลอมอาจทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและตื่นตระหนกในการรับข่าวสาร รวมถึงอาจสร้างความขัดแย้งจนอาจส่งผลให้เกิดความวุ่นวายในสังคมได้ ตัวอย่าง ปรากฏการณ์การไล่ล่าในโลกสังคมออนไลน์ ความแตกแยกและแบ่งฝักฝ่าย ซึ่งในประเทศไทยได้มีการจัดตั้งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย '''(Anti-Fake News Center Thailand)''' ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 โดยทำงานร่วมกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (PCT) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตลอดจนการจัดทำโครงการสร้างเครือข่ายป้องกันข่าวปลอม&nbsp;โดยนำอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทั่วประเทศเข้ามาเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอมภายใต้การดำเนินการของกรมประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; กล่าวได้ว่า ข่าวปลอมโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์นั้น มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมโดยรวม เนื่องจากข่าวปลอมอาจทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและตื่นตระหนกในการรับข่าวสาร รวมถึงอาจสร้างความขัดแย้งจนอาจส่งผลให้เกิดความวุ่นวายในสังคมได้ ตัวอย่าง ปรากฏการณ์การไล่ล่าในโลกสังคมออนไลน์ ความแตกแยกและแบ่งฝักฝ่าย ซึ่งในประเทศไทยได้มีการจัดตั้งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย '''(Anti-Fake News Center Thailand)''' ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 โดยทำงานร่วมกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (PCT) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตลอดจนการจัดทำโครงการสร้างเครือข่ายป้องกันข่าวปลอม&nbsp;โดยนำอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทั่วประเทศเข้ามาเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอมภายใต้การดำเนินการของกรมประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 46:
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>
<span style="font-size:x-large;">'''อ้างอิง'''</span>


“Fake News คืออะไร”. สืบค้นจาก https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news (6 ตุลาคม 2563).
“Fake News คืออะไร”. สืบค้นจาก [https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news] (6 ตุลาคม 2563).


“Fake News สร้างข่าวปลอม เตรียมรับผิด!!”. สืบค้นจาก https://www.dharmniti.co.th/fake-news/ (6 ตุลาคม 2563).
“Fake News สร้างข่าวปลอม เตรียมรับผิด!!”. สืบค้นจาก [https://www.dharmniti.co.th/fake-news/ https://www.dharmniti.co.th/fake-news/] (6 ตุลาคม 2563).


“กรมประชาสัมพันธ์ จับมือ อสม. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม”. สืบค้นจาก&nbsp;http://gotomanager.com/content/กรมประชาสัมพันธ์-จับมือ-อสม-สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม(6 ตุลาคม 2563).
“กรมประชาสัมพันธ์ จับมือ อสม. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม”. สืบค้นจาก&nbsp;[http://gotomanager.com/content/กรมประชาสัมพันธ์-จับมือ-อสม-สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม(6 http://gotomanager.com/content/กรมประชาสัมพันธ์-จับมือ-อสม-สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม(6] ตุลาคม 2563).


“กระทรวงดิจิทัลฯ เปิดตัวศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม (Anti-Fake News Center) ”. สืบค้นจาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24306 (6 ตุลาคม 2563).
“กระทรวงดิจิทัลฯ เปิดตัวศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม (Anti-Fake News Center) ”. สืบค้นจาก [https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24306 https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24306] (6 ตุลาคม 2563).


“ข่าวปลอม มหันตภัยร้ายจาก Social Network”. เอกสารวิเคราะห์สถานการณ์ยุทธศาสตร์และความมั่นคง ฉบับที่ 12/60 (19 – 25 ธ.ค.2559). สืบค้นจาก&nbsp;http://www.sscthailand.org/uploads_ ssc/research_201612291482988188250499.pdf (6 ตุลาคม 2563).
“ข่าวปลอม มหันตภัยร้ายจาก Social Network”. เอกสารวิเคราะห์สถานการณ์ยุทธศาสตร์และความมั่นคง ฉบับที่ 12/60 (19 – 25 ธ.ค.2559). สืบค้นจาก&nbsp;[http://www.sscthailand.org/uploads_ http://www.sscthailand.org/uploads_] ssc/research_201612291482988188250499.pdf (6 ตุลาคม 2563).


“คสช.สั่งดำเนินคดี-ปิดเว็บ jookthai แพร่ข่าวปลอมบ้านหรูผบ.ทบ.”. สืบค้นจาก https://www.post today.com/politic/news/581260 (6 ตุลาคม 2563).
“คสช.สั่งดำเนินคดี-ปิดเว็บ jookthai แพร่ข่าวปลอมบ้านหรูผบ.ทบ.”. สืบค้นจาก [https://www.post https://www.post] today.com/politic/news/581260 (6 ตุลาคม 2563).


เฉลิมชัย&nbsp; ก๊กเกียรติกุล และ ธัญญนนทณัฐ ด่านไพบูลย์. “ข่าวลวง : ปัญหาและความท้าทาย”. สืบค้นจาก&nbsp;https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBTC_Journal/article/download/146058/115541/. (6 ตุลาคม 2563).
เฉลิมชัย&nbsp; ก๊กเกียรติกุล และ ธัญญนนทณัฐ ด่านไพบูลย์. “ข่าวลวง&nbsp;: ปัญหาและความท้าทาย”. สืบค้นจาก&nbsp;[https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBTC_Journal/article/download/146058/115541/ https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBTC_Journal/article/download/146058/115541/]. (6 ตุลาคม 2563).


“ดีอีเอส” เผยข่าวปลอมชุดตรวจ ATK แบบอม ได้รับอนุญาตจาก อย”. สืบค้นจาก [https://www.daily https://www.daily] news.co.th/news/597491/ (16 ธันวาคม 2564).
“ดีอีเอส” เผยข่าวปลอมชุดตรวจ ATK แบบอม ได้รับอนุญาตจาก อย”. สืบค้นจาก [https://www.daily https://www.daily] news.co.th/news/597491/ (16 ธันวาคม 2564).
บรรทัดที่ 58: บรรทัดที่ 64:
“รวม 10 ข่าวปลอมโควิดที่มีคนหลงเชื่อมากที่สุด”. สืบค้นจาก [https://www https://www].posttoday. com/politic/report/668972 (16 ธันวาคม 2564).
“รวม 10 ข่าวปลอมโควิดที่มีคนหลงเชื่อมากที่สุด”. สืบค้นจาก [https://www https://www].posttoday. com/politic/report/668972 (16 ธันวาคม 2564).


“รู้เท่าทันข่าว”. สืบค้นจาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th/files/90 /รู้เท่าทันข่าว%20(News%20Literacy).pdf (6 ตุลาคม 2563).
“รู้เท่าทันข่าว”. สืบค้นจาก [https://resourcecenter.thaihealth.or.th/files/90 https://resourcecenter.thaihealth.or.th/files/90] /รู้เท่าทันข่าว%20(News%20Literacy).pdf (6 ตุลาคม 2563).


“ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย”. สืบค้นจาก https://www.antifakenewscenter.com/ (4 กันยายน 2563).
“ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย”. สืบค้นจาก [https://www.antifakenewscenter.com/ https://www.antifakenewscenter.com/] (4 กันยายน 2563).


“เสพข่าวไม่เครียด รู้ทันข่าวปลอมก่อนตกเป็นเหยื่อ Fake News”.สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/life/work-life-balance/617445 (6 ตุลาคม 2563).
“เสพข่าวไม่เครียด รู้ทันข่าวปลอมก่อนตกเป็นเหยื่อ Fake News”.สืบค้นจาก [https://www.posttoday.com/life/work-life-balance/617445 https://www.posttoday.com/life/work-life-balance/617445] (6 ตุลาคม 2563).


[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]][[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]]
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมือง]] [[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2520-ปัจจุบัน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:46, 8 เมษายน 2565

ผู้เรียบเรียง : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศุทธิกานต์ มีจั่น

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : ดร.สติธร ธนานิธิโชติ

 

ข่าวปลอม (Fake News)

          ข่าวปลอม หรือข่าวสารที่ไม่มีความจริง มีหลายลักษณะ ได้แก่ ข่าวเสียดสีหรือล้อเลียน ข่าวที่ตัดต่อ ดัดแปลงหรืออ้างแหล่งที่มาผิดเพื่อเป้าหมายในการลวงผู้รับสารทำให้เข้าใจผิด โดยเนื้อหาของข่าวปลอมอาจมีข้อเท็จจริงเพียงเล็กน้อยหรือเพียงบางส่วนแต่ขาดบริบทของรายละเอียดหรืออาจเป็นข่าวที่ไม่มีมูลความจริงเลย การใช้ภาพปลอม รวมไปถึงอาจไม่มีแหล่งข่าวหรือคำพูดที่ตรวจสอบได้ อย่างไรก็ดี ข่าวปลอมบางประเภทก็อาจมีเนื้อข่าวที่ตรวจสอบได้จริง แต่มีลักษณะการเขียนด้วยอคติ จงใจให้ร้าย หรือไม่ใส่รายละเอียดที่สำคัญต่อเหตุการณ์ลงในเนื้อข่าวหรือนำเสนอจากมุมมองด้านเดียว ในปัจจุบันพบว่าบางครั้งข่าวปลอมอาจมีรูปแบบของโฆษณาชวนเชื่อที่จงใจเขียนขึ้นมาเพื่อชี้นำคนอ่าน โดยมีแรงจูงใจทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงของการเลือกตั้ง ที่มักมีการบิดเบือนหรือสร้างข่าวปลอมออกมาเผยแพร่เพื่อให้เกิดความได้เปรียบเสียเปรียบทางการเมืองในช่วงของการหาเสียง เป็นต้น นอกจากการใช้ข่าวปลอมเป็นเครื่องมือทางการเมืองแล้ว ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ได้มีการปล่อยและเผยแพร่ข่าวปลอมจำนวนมาก ซึ่งนำไปสู่การเข้าใจผิดและความตื่นตระหนกในสังคมเกี่ยวกับประเด็นเรื่องระดับการแพร่ระบาด การใช้มาตรการควบคุมของรัฐตลอดจนมีการโฆษณาชวนเชื่อเรื่องการรักษา การใช้วัคซีนและชุดตรวจหาเชื้อ เป็นต้น ตัวอย่างข่าวปลอมเหล่านี้ ได้แก่ “เรือนจำกลางนครศรีธรรมราช พบนักโทษติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 1,300 คน” ซึ่งในความเป็นจริงพบผู้ติดเชื้อจากการตรวจจริง จำนวน 347 ราย และ “ผู้ที่ฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ผู้หญิงจะมีปัญหาเรื่องมดลูกและมีบุตรยาก ผู้ชายจะทำให้เชื้ออสุจิน้อยลงและเป็นหมัน” ซึ่งยังไม่มีหลักฐานว่าวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 จะส่งผลต่อความสามารถในการมีบุตร ทั้งในเพศหญิงและเพศชาย รวมทั้ง “ติดโควิด-19 รักษาด้วยตนเองได้ แค่รับประทานยาแอสไพริน” ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขระบุว่าตรวจสอบแล้วเป็นข้อมูลเท็จ เนื่องจากการรักษายังต้องอยู่ในดุลยพินิจของแพทย์ผู้ให้การรักษาเท่านั้น เป็นต้น

          โดยทั่วไป ข่าวปลอมอาจเป็นเพียงแค่การพาดหัว ซึ่งมีเป้าหมายจูงใจให้คนเข้ามาอ่านเพื่อเพิ่มยอดการเข้าชมโดยมีแรงจูงใจทางการเงินอยู่เบื้องหลัง เป็นต้น กล่าวได้ว่า ข่าวปลอมเหล่านี้สามารถสร้างกระแสจากการพูดถึงจากวงแคบ ๆ สู่วงกว้างอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ ข่าวปลอมยังสามารถจำแนกได้ตามเป้าหมายของผู้ส่งสารใน 3 ลักษณะ ได้แก่

          (1) การเผยแพร่ข่าวปลอมโดยไม่ตั้งใจ ซึ่งผู้ส่งสารไม่ได้มีเจตนาสร้างความปั่นป่วนหรือประสงค์ร้ายต่อผู้ใด แต่เป็นการแผยแพร่ต่อเพราะความไม่รู้

          (2) การเผยแพร่ข่าวปลอมโดยมีเจตนาสร้างความปั่นป่วน ให้ร้ายหรือโจมตีผู้อื่น ทั้งยังมีเจตนาที่จะชักนำความคิดของคนในสังคมหรือปิดบังความจริง

          (3) การสร้างความเกลียดชัง ซึ่งโดยทั่วไปมักเป็นข่าวที่มีข้อเท็จจริงอยู่บ้างแต่มีเจตนาสร้างขึ้นเพื่อดูถูกเหยียดหยาม สร้างความเกลียดชังให้ผู้ตกเป็นข่าว

 

ภาพ ตัวอย่างการตรวจสอบข่าวปลอมของศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย

Fake News 1.png
Fake News 1.png

ที่มา “เตือนอย่าแชร์ข่าวปลอม ระวัง !!! อย่าหลงเชื่อ กลุ่มแอบอ้าง”. สืบค้นจาก https://www.antifake newscenter.com /tag/โควิด19/page/4/ (22 ธันวาคม 2564).

         

          อย่างไรก็ดี รูปแบบของข่าวปลอมมักถูกแพร่กระจายไปยังช่องทางสื่อสารต่าง ๆ อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะสังคมออน์ไลน์และการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน อาทิ การติดต่อสื่อสารผ่านแอปพลิเคชันเพื่อการสนทนา ซึ่งการพิมพ์โต้ตอบจึงไม่สามารถยืนยันตัวบุคคลของคู่สนทนาทำให้เกิดการสวมรอย หลอกลวงยืมเงิน หรือการทำการอื่น ๆ โดยใช้ชื่อและภาพของผู้ใช้งานให้เหมือนกันได้ รวมทั้งการเผยแพร่ข้อมูลผ่านทางช่องทางสังคมออนไลน์ที่ข้อมูลที่ถูกเผยแพร่ไม่ผ่านการตรวจสอบข้อเท็จจริง ตลอดจนพื้นที่หรือช่องทางการซื้อสินค้าบนช่องทางออนไลน์และการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องออนไลน์ เป็นต้น

 

ภาพ การสังเกตุพฤติกรรมความเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของข่าวปลอม

Fake News 2.png
Fake News 2.png

ที่มา “Fake News คืออะไร”.สืบค้นจาก https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news (16 ธันวาคม 2564).

         

          กล่าวได้ว่า ข่าวปลอมโดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เผยแพร่ทางสื่อสังคมออนไลน์นั้น มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมโดยรวม เนื่องจากข่าวปลอมอาจทำให้ประชาชนเกิดความสับสนและตื่นตระหนกในการรับข่าวสาร รวมถึงอาจสร้างความขัดแย้งจนอาจส่งผลให้เกิดความวุ่นวายในสังคมได้ ตัวอย่าง ปรากฏการณ์การไล่ล่าในโลกสังคมออนไลน์ ความแตกแยกและแบ่งฝักฝ่าย ซึ่งในประเทศไทยได้มีการจัดตั้งศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย (Anti-Fake News Center Thailand) ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 โดยทำงานร่วมกับศูนย์ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (PCT) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตลอดจนการจัดทำโครงการสร้างเครือข่ายป้องกันข่าวปลอม โดยนำอาสาสมัครสาธารณสุข (อสส.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ทั่วประเทศเข้ามาเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอมภายใต้การดำเนินการของกรมประชาสัมพันธ์ เป็นต้น

 

อ้างอิง

“Fake News คืออะไร”. สืบค้นจาก https://www.uih.co.th/th/knowledge/fake-news (6 ตุลาคม 2563).

“Fake News สร้างข่าวปลอม เตรียมรับผิด!!”. สืบค้นจาก https://www.dharmniti.co.th/fake-news/ (6 ตุลาคม 2563).

“กรมประชาสัมพันธ์ จับมือ อสม. สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม”. สืบค้นจาก http://gotomanager.com/content/กรมประชาสัมพันธ์-จับมือ-อสม-สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังข่าวปลอม(6 ตุลาคม 2563).

“กระทรวงดิจิทัลฯ เปิดตัวศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม (Anti-Fake News Center) ”. สืบค้นจาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/24306 (6 ตุลาคม 2563).

“ข่าวปลอม มหันตภัยร้ายจาก Social Network”. เอกสารวิเคราะห์สถานการณ์ยุทธศาสตร์และความมั่นคง ฉบับที่ 12/60 (19 – 25 ธ.ค.2559). สืบค้นจาก http://www.sscthailand.org/uploads_ ssc/research_201612291482988188250499.pdf (6 ตุลาคม 2563).

“คสช.สั่งดำเนินคดี-ปิดเว็บ jookthai แพร่ข่าวปลอมบ้านหรูผบ.ทบ.”. สืบค้นจาก https://www.post today.com/politic/news/581260 (6 ตุลาคม 2563).

เฉลิมชัย  ก๊กเกียรติกุล และ ธัญญนนทณัฐ ด่านไพบูลย์. “ข่าวลวง : ปัญหาและความท้าทาย”. สืบค้นจาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/NBTC_Journal/article/download/146058/115541/. (6 ตุลาคม 2563).

“ดีอีเอส” เผยข่าวปลอมชุดตรวจ ATK แบบอม ได้รับอนุญาตจาก อย”. สืบค้นจาก https://www.daily news.co.th/news/597491/ (16 ธันวาคม 2564).

“รวม 10 ข่าวปลอมโควิดที่มีคนหลงเชื่อมากที่สุด”. สืบค้นจาก https://www.posttoday. com/politic/report/668972 (16 ธันวาคม 2564).

“รู้เท่าทันข่าว”. สืบค้นจาก https://resourcecenter.thaihealth.or.th/files/90 /รู้เท่าทันข่าว%20(News%20Literacy).pdf (6 ตุลาคม 2563).

“ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมประเทศไทย”. สืบค้นจาก https://www.antifakenewscenter.com/ (4 กันยายน 2563).

“เสพข่าวไม่เครียด รู้ทันข่าวปลอมก่อนตกเป็นเหยื่อ Fake News”.สืบค้นจาก https://www.posttoday.com/life/work-life-balance/617445 (6 ตุลาคม 2563).