ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วังศุโขทัย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Trikao (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ
 


----
----


            วังศุโขทัย เป็นที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี มาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นทรงราชย์ และยังเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีหลังจากที่เสด็จฯ แปรพระราชฐานกลับจากสวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ตราบจนสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527
            '''วังศุโขทัย''' เป็นที่ประทับของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี_พระบรมราชินี]] มาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นทรงราชย์ และยังเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีหลังจากที่เสด็จฯ แปรพระราชฐานกลับจากสวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ตราบจนสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ที่ตั้งวังศุโขทัยแต่เดิมเป็นบ้านของขุนนางผู้หนึ่งอยู่ริมคลองสามเสน ในช่วงต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงซื้อไว้เพื่อพระราชทานเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ จะทรงผนวช และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ซื้อสวนที่อยู่ติดบริเวณบ้านหลังนั้นพระราชทานเพิ่มให้อีก เพื่อสร้างเป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ โดยได้<br/> ขนานนามวังตามพระนามที่ทรงกรมของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ว่า “วังศุโขทัย” ทั้งนี้ ตัวบ้านเดิมที่เป็นของ<br/> ขุนนางและต่อมาเป็นที่ประทับนั้นเป็นบ้านหลังคามุงจาก แต่มีห้องหลายห้อง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ<br/> เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา ทรงจัดห้องชั้นบนเป็นห้องบรรทมได้ 2 ห้อง ชั้นล่างเป็นห้องทรงพระอักษร ห้องเสวย และห้องเสด็จออกให้เฝ้าฯ ต่อมา สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ<br/> ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักตึกและพระตำหนักไม้ริมน้ำถวายในพื้นที่สวนซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงซื้อพระราชทาน[[#_ftn1|[1]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ที่ตั้ง'''วังศุโขทัย'''แต่เดิมเป็นบ้านของขุนนางผู้หนึ่งอยู่ริมคลองสามเสน ในช่วงต้นรัชสมัย'''พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว''' สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงซื้อไว้เพื่อพระราชทานเป็นที่ประทับของ'''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา''' เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ จะทรงผนวช และ'''พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว''' ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ซื้อสวนที่อยู่ติดบริเวณบ้านหลังนั้นพระราชทานเพิ่มให้อีกเพื่อสร้างเป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ โดยได้&nbsp;ขนานนามวังตามพระนามที่ทรงกรมของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ว่า '''“วังศุโขทัย”''' ทั้งนี้ ตัวบ้านเดิมที่เป็นของขุนนางและต่อมาเป็นที่ประทับนั้นเป็นบ้านหลังคามุงจาก แต่มีห้องหลายห้อง '''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา''' ทรงจัดห้องชั้นบนเป็นห้องบรรทมได้ 2 ห้อง ชั้นล่างเป็นห้องทรงพระอักษร ห้องเสวย และห้องเสด็จออกให้เฝ้าฯ ต่อมาสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ&nbsp;ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักตึกและพระตำหนักไม้ริมน้ำถวายในพื้นที่สวนซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงซื้อพระราชทาน[[#_ftn1|[1]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชาทรงอภิเษกสมรส กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ วังศุโขทัยก็ได้เป็นที่ประทับของทั้งสองพระองค์มาโดยตลอด โดยที่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ยังทรงรับราชการทหารในตำแหน่งผู้บังคับกองร้อยกรมทหารบกปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ทรงรับภาระดูแลกิจการภายในพระตำหนัก ดังที่ผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาท<br/> ท่านหนึ่งเล่าว่า (สะกดตามต้นฉบับ)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อ'''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา''' ทรงอภิเษกสมรส กับ'''หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์''' วังศุโขทัยก็ได้เป็นที่ประทับของทั้งสองพระองค์มาโดยตลอด โดยที่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ยังทรงรับราชการทหารในตำแหน่งผู้บังคับกองร้อยกรมทหารบกปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ทรงรับภาระดูแลกิจการภายในพระตำหนัก ดังที่ผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทท่านหนึ่งเล่าว่า (สะกดตามต้นฉบับ)


'''''“...เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ ทรงอภิเษกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ได้ประทับอยู่ที่ พระตำหนักใหญ่วังศุโขทัย ตอนเช้า เสวยร่วมกันเพียง 2 พระองค์ที่ห้องทางทิศใต้ชั้น 2 หลังจากนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จไปทรงงานที่กองพันทหาร ตอนกลางวัน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ จะเสวยอยู่บนพระตำหนัก ไม่เสด็จลง เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จกลับจากทรงงาน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ จะเสด็จมารับที่อัฒจันทร์ด้านล่าง และเสวยพระสุธารสชาร่วมกันตอนห้าโมงเย็น โดยทรงถือปฏิบัติเป็นเวลา หลังจากนั้นจะเสด็จขึ้นและเสวยพระกระยาหารค่ำด้วยกันเพียงสองพระองค์ โดยประทับราบกับพื้น เสวยแบบไทย...ทั้งสองพระองค์จะเสด็จลงตำหนักไม้สัปดาห์ละครั้ง เพื่อทอดพระเนตรหนังและโปรดให้เจ้านายร่วมดูหนังด้วย...เวลาที่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จไปทรงงานจะทรงขับรถเอง ทรงใช้รถซิงเกอร์ ('''''''Singer) คันเล็ก ถ้าเป็นการเสด็จส่วนพระองค์จะทรงใช้รถซิงเกอร์คันใหญ่ ประทับคู่กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ โดยมีพลขับขับรถถวาย...”'''''
'''''“...เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ ทรงอภิเษกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ได้ประทับอยู่ที่ พระตำหนักใหญ่วังศุโขทัย ตอนเช้า เสวยร่วมกันเพียง 2 พระองค์ที่ห้องทางทิศใต้ชั้น 2 หลังจากนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จไปทรงงานที่กองพันทหาร ตอนกลางวัน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ จะเสวยอยู่บนพระตำหนัก ไม่เสด็จลง เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จกลับจากทรงงาน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ จะเสด็จมารับที่อัฒจันทร์ด้านล่าง และเสวยพระสุธารสชาร่วมกันตอนห้าโมงเย็น โดยทรงถือปฏิบัติเป็นเวลา หลังจากนั้นจะเสด็จขึ้นและเสวยพระกระยาหารค่ำด้วยกันเพียงสองพระองค์ โดยประทับราบกับพื้น เสวยแบบไทย...ทั้งสองพระองค์จะเสด็จลงตำหนักไม้สัปดาห์ละครั้ง เพื่อทอดพระเนตรหนังและโปรดให้เจ้านายร่วมดูหนังด้วย...เวลาที่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จไปทรงงานจะทรงขับรถเอง ทรงใช้รถซิงเกอร์&nbsp;&nbsp;'''''<i>'''(Singer) คันเล็ก ถ้าเป็นการเสด็จส่วนพระองค์จะทรงใช้รถซิงเกอร์คันใหญ่ ประทับคู่กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ โดยมีพลขับขับรถถวาย...”'''</i>


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ทั้งนี้ กิจวัตรประจำวันของหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีในช่วงที่พระสวามีเสด็จไปทรงงานราชการในเวลากลางวันนั้น บางครั้งเสด็จลงทรงอำนวยการเรื่องการปลูกต้นไม้ต่างๆ ที่ตำหนักสี่ฤดู ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวังศุโขทัย
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ทั้งนี้ กิจวัตรประจำวันของ'''หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี'''ในช่วงที่พระสวามีเสด็จไปทรงงานราชการในเวลากลางวันนั้น บางครั้งเสด็จลงทรงอำนวยการเรื่องการปลูกต้นไม้ต่างๆ ที่ตำหนักสี่ฤดู ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวังศุโขทัย


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา พร้อมด้วยหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี พระชายา เสด็จประพาสทวีปยุโรปเพื่อทรงรักษาพระองค์และทรงศึกษาวิชาการเพิ่มเติม เป็นเหตุให้ทั้งสองพระองค์ต้องจากวังศุโขทัยไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่เมื่อเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯ แล้ว ทั้งสองพระองค์จึงได้เสด็จกลับมาประทับที่วังศุโขทัยตามเดิม ในช่วงนี้ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการ<br/> ในตำแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก และเลื่อนพระยศขึ้นเป็นนายพันเอก ต่อมาใน พ.ศ. 2468 ได้ทรงรับตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ 2 และเป็นผู้บังคับการพิเศษ กรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ด้วย ทั้งนี้ พระจริยวัตรประจำวันของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี พระชายา ในช่วงเวลานั้นเป็นไปเช่นที่หม่อมเจ้าชายการวิก จักรพันธุ์รองราชเลขาธิการในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เคยรับสั่งไว้ ความว่า[[#_ftn2|[2]]] (สะกดตามต้นฉบับ)
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ต่อมา เมื่อ'''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา''' พร้อมด้วย'''หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี'''พระชายา เสด็จประพาสทวีปยุโรปเพื่อทรงรักษาพระองค์และทรงศึกษาวิชาการเพิ่มเติม เป็นเหตุให้ทั้งสองพระองค์ต้องจาก'''วังศุโขทัย'''ไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่เมื่อเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯ แล้ว ทั้งสองพระองค์จึงได้เสด็จกลับมาประทับที่'''วังศุโขทัย'''ตามเดิม ในช่วงนี้'''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา''' ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการในตำแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก และเลื่อนพระยศขึ้นเป็นนายพันเอก ต่อมาใน พ.ศ. 2468 ได้ทรงรับตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ 2 และเป็นผู้บังคับการพิเศษ กรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ด้วย ทั้งนี้พระจริยวัตรประจำวันของ'''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา''' และ'''หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี'''พระชายา ในช่วงเวลานั้นเป็นไปเช่นที่'''หม่อมเจ้าชายการวิก จักรพันธุ์'''รองราชเลขาธิการใน'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี''' พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เคยรับสั่งไว้ ความว่า[[#_ftn2|[2]]] (สะกดตามต้นฉบับ)


'''''“...ทุกวันเช้า หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้า สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ จะทรงขับรถยนต์พระที่นั่งด้วยพระองค์เอง ไปทำราชการที่ทรงรับหน้าที่เป็นผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ระหว่างกลางวัน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ก็ทรงดูแลกิจการในพระตำหนักวังศุโขทัย เสด็จลงสวนบ้าง ทำโน่นบ้าง ทำนี่บ้าง ครั้นเวลาบ่ายใกล้ค่ำ เมื่อพระสวามีเสด็จกลับ ทั้งสองพระองค์ก็จะทรงกีฬา...”'''''
'''''“...ทุกวันเช้า หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้า สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ จะทรงขับรถยนต์พระที่นั่งด้วยพระองค์เอง ไปทำราชการที่ทรงรับหน้าที่เป็นผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ระหว่างกลางวัน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ก็ทรงดูแลกิจการในพระตำหนักวังศุโขทัย เสด็จลงสวนบ้าง ทำโน่นบ้าง ทำนี่บ้าง ครั้นเวลาบ่ายใกล้ค่ำ เมื่อพระสวามีเสด็จกลับ ทั้งสองพระองค์ก็จะทรงกีฬา...”'''''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา[[#_ftn3|[3]]] เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว พระองค์พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จไปประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ต่อมา เมื่อ'''สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา'''[[#_ftn3|[3]]] เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็น'''พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว'''แล้ว พระองค์พร้อมด้วย'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี''' พระบรมราชินี เสด็จไปประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถาน '''พระราชวังดุสิต'''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;วังศุโขทัยได้ปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยในช่วงดึกของวันเดียวกันนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จฯ จากวังไกลกังวลกลับกรุงเทพฯ โดยขบวนรถไฟพระที่นั่ง เมื่อรถไฟพระที่นั่งเคลื่อนเข้าจอดที่สถานีรถไฟหลวงสวนจิตรลดาในเวลาประมาณ 1.00 น. บรรยากาศในคืนวันนั้น เป็นไปดังที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ทรงเล่าพระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2515 ว่า
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;'''วังศุโขทัย'''ได้ปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยในช่วงดึกของวันเดียวกันนั้น '''พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว''' และ'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี'''พระบรมราชินี เสด็จฯ จาก'''วังไกลกังวล'''กลับกรุงเทพฯ โดยขบวนรถไฟพระที่นั่ง เมื่อรถไฟพระที่นั่งเคลื่อนเข้าจอดที่สถานีรถไฟหลวงสวนจิตรลดาในเวลาประมาณ 1.00 น. บรรยากาศในคืนวันนั้น เป็นไปดังที่'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี''' พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ทรงเล่าพระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2515 ว่า


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;'''&nbsp; &nbsp;'''''<b>“...แหม เงียบจริงๆ พอในหลวงเสด็จพระราชดำเนินจากรถไฟ มีราษฎรคนหนึ่งอยู่ที่สถานี กราบถวายบังคมแล้วก็ร้องไห้ ไม่ทราบเหมือนกันว่าเป็นใคร อายุประมาณ 30 กว่าเห็นจะได้ ในหลวงไม่ได้รับสั่งอะไร เราก็กลับมากันที่วังนี่ ตลอดทางเงียบแล้วก็เศร้า เราผ่านพระที่นั่งอนันตสมาคมก็ไม่มีอะไร มาทราบ เอาทีหลังว่าบนพระที่นั่งอนันตฯ เขาตั้งปืนไว้เต็มหมดเพราะรู้ว่าเราจะมาทางนั้น...”</b>[[#_ftn4|'''[4]''']]''
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;'''&nbsp; &nbsp;'''''<b>“...แหม เงียบจริงๆ พอในหลวงเสด็จพระราชดำเนินจากรถไฟ มีราษฎรคนหนึ่งอยู่ที่สถานี กราบถวายบังคมแล้วก็ร้องไห้ ไม่ทราบเหมือนกันว่าเป็นใคร อายุประมาณ 30 กว่าเห็นจะได้ ในหลวงไม่ได้รับสั่งอะไร เราก็กลับมากันที่วังนี่ ตลอดทางเงียบแล้วก็เศร้า เราผ่านพระที่นั่งอนันตสมาคมก็ไม่มีอะไร มาทราบ เอาทีหลังว่าบนพระที่นั่งอนันตฯ เขาตั้งปืนไว้เต็มหมดเพราะรู้ว่าเราจะมาทางนั้น...”</b>[[#_ftn4|'''[4]''']]''


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อเสด็จฯ ถึงวังศุโขทัยแล้วในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้นเอง พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มาเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทาน อภัยโทษที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ที่วังศุโขทัยนี้เอง ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำ การเปลี่ยนแปลงการปกครองและรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เสด็จประพาสทวีปยุโรปเพื่อเจริญพระราชไมตรี พร้อมกับทรงเข้า รับการรักษาพระอาการประชวรที่พระเนตร แต่ด้วยความผันผวนทางการเมืองที่เกิดขึ้น เป็นผลให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติ และประทับอยู่ที่สหราชอาณาจักรพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตราบจนสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ก็ประทับอยู่ในสหราชอาณาจักรต่อมาตราบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้น วังศุโขทัยจึงตกอยู่ในสภาพที่ปราศจากองค์เจ้าของวังอยู่ระยะหนึ่ง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อเสด็จฯ ถึงวังศุโขทัยแล้วในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้นเอง '''พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา''' ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มาเข้าเฝ้าฯ '''พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว''' เพื่อขอพระราชทานอภัยโทษที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ที่วังศุโขทัยนี้เอง ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำ การเปลี่ยนแปลงการปกครองและรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เสด็จประพาสทวีปยุโรปเพื่อเจริญพระราชไมตรี พร้อมกับทรงเข้า รับการรักษาพระอาการประชวรที่พระเนตร แต่ด้วยความผันผวนทางการเมืองที่เกิดขึ้น เป็นผลให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติ และประทับอยู่ที่สหราชอาณาจักรพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตราบจนสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ก็ประทับอยู่ในสหราชอาณาจักรต่อมาตราบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้น วังศุโขทัยจึงตกอยู่ในสภาพที่ปราศจากองค์เจ้าของวังอยู่ระยะหนึ่ง


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จนิวัติประเทศไทยตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามใน พ.ศ. 2492 พร้อมทั้งทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกลับมาประดิษฐานยังสถานที่ที่ควรร่วมกับสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์แล้ว ในช่วงนั้น วังศุโขทัยถูกใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลจึงเตรียมที่จะกราบบังคมทูลเชิญเสด็จสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไปประทับยังวังตำบลท่าช้าง ที่ประทับเดิมของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ พระบิดา แต่สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์[[#_ftn5|[5]]] กราบบังคมทูลเชิญเสด็จไปประทับ ณ พระตำหนักใหม่ วังสระปทุม อันเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์[[#_ftn6|[6]]] แต่สมเด็จ<br/> พระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงรบกวนสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล จึงทรงมองหาพื้นที่สำหรับจัดสร้างเป็นที่ประทับในหัวเมือง ซึ่งต้องพระราชประสงค์พื้นที่ในจังหวัดจันทบุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้าง “สวนบ้านแก้ว” ขึ้น และประทับอยู่ที่สวนบ้านแก้วจนถึง พ.ศ. 2511จึงเสด็จฯ แปรพระราชฐานกลับมาประทับ ณ วังศุโขทัยอีกครั้งหนึ่ง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เมื่อ'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี''' พระบรมราชินี เสด็จนิวัติประเทศไทยตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาล'''จอมพล ป. พิบูลสงคราม'''ใน พ.ศ. 2492 พร้อมทั้งทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิ'''พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว'''กลับมาประดิษฐานยังสถานที่ที่ควรร่วมกับสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์แล้ว ในช่วงนั้น วังศุโขทัยถูกใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลจึงเตรียมที่จะกราบบังคมทูลเชิญเสด็จสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไปประทับยังวังตำบลท่าช้าง ที่ประทับเดิมของ'''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์''' พระบิดา แต่'''สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์'''[[#_ftn5|[5]]] กราบบังคมทูลเชิญเสด็จไปประทับ ณ พระตำหนักใหม่ วังสระปทุม อันเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์[[#_ftn6|[6]]] แต่'''สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี''' พระบรมราชินี ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงรบกวน'''สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล''' จึงทรงมองหาพื้นที่สำหรับจัดสร้างเป็นที่ประทับในหัวเมือง ซึ่งต้องพระราชประสงค์พื้นที่ในจังหวัดจันทบุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้าง '''“สวนบ้านแก้ว”''' ขึ้น และประทับอยู่ที่สวนบ้านแก้วจนถึง พ.ศ. 2511จึงเสด็จฯ แปรพระราชฐานกลับมาประทับ ณ วังศุโขทัยอีกครั้งหนึ่ง


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในระยะแรกที่เสด็จฯ กลับมาประทับ ณ วังศุโขทัย สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงมีพระราชกิจมากเนื่องจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยังทรงพระเยาว์ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์บ่อยครั้ง นอกจากนี้ วังศุโขทัยยังเป็นสถานที่ที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงใช้รับรองพระราชอาคันตุกะในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชที่เสด็จฯ มาเยือนประเทศไทย โดยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จะเสด็จออก ณ วังศุโขทัย เพื่อพระราชทานพระราชวโรกาสให้พระราชอาคันตุกะเฝ้าฯ เสมอ เช่น เสด็จออกทรงรับสมเด็จพระราชาธิบดี โบดวง และสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งชาวเบลเยียม พ.ศ. 2507 เป็นต้น หรือการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เป็นการส่วนพระองค์ เช่น เสด็จฯ ออกให้บุคคลหรือคณะบุคคลเฝ้าฯ หรือทรงประกอบพิธีสมรสพระราชทาน<br/> ก็เกิดขึ้น ณ วังศุโขทัยเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ กิจการทอเสื่อซึ่งทรงริเริ่มตั้งแต่เมื่อครั้งประทับที่สวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ก็ยังทรงนำมาสืบสานต่อยังวังศุโขทัยด้วย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายโรงงานทอเสื่อจากสวนบ้านแก้วมายังวังศุโขทัย โดยพระราชทานบริเวณพระตำหนักน้ำ เป็นสถานที่ทอเสื่อโดยเฉพาะ กิจการทอเสื่อที่วังศุโขทัยนี้เป็นลักษณะอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ดำเนินกิจการที่สวนบ้านแก้ว โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจันทบุรีที่ตามเสด็จฯ มานั้นเป็นครูฝึกสอนการทอเสื่อที่วังศุโขทัย เมื่อทรงว่างจากพระราชกิจในช่วงเช้ามักจะเสด็จลงทอดพระเนตรการทอเสื่ออยู่เสมอ ทรงออกแบบและเลือกสีด้วยพระองค์เอง<br/> และเมื่อใดที่ทอดพระเนตรเห็นกระเป๋าถือสมัยใหม่ ก็จะโปรดให้ช่างทอเสื่อดูเป็นแบบอย่างเพื่อทอและประกอบเป็นกระเป๋าต่อไป[[#_ftn7|[7]]]
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ในระยะแรกที่เสด็จฯ กลับมาประทับ ณ วังศุโขทัย สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงมีพระราชกิจมากเนื่องจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยังทรงพระเยาว์ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์บ่อยครั้ง นอกจากนี้ วังศุโขทัยยังเป็นสถานที่ที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงใช้รับรองพระราชอาคันตุกะในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชที่เสด็จฯ มาเยือนประเทศไทย โดยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จะเสด็จออก ณ วังศุโขทัย เพื่อพระราชทานพระราชวโรกาสให้พระราชอาคันตุกะเฝ้าฯ เสมอ เช่น เสด็จออกทรงรับสมเด็จพระราชาธิบดี โบดวง และสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งชาวเบลเยียม พ.ศ. 2507 เป็นต้น หรือการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เป็นการส่วนพระองค์ เช่น เสด็จฯ ออกให้บุคคลหรือคณะบุคคลเฝ้าฯ หรือทรงประกอบพิธีสมรสพระราชทาน&nbsp;ก็เกิดขึ้น ณ วังศุโขทัยเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ กิจการทอเสื่อซึ่งทรงริเริ่มตั้งแต่เมื่อครั้งประทับที่สวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ก็ยังทรงนำมาสืบสานต่อยังวังศุโขทัยด้วย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายโรงงานทอเสื่อจากสวนบ้านแก้วมายังวังศุโขทัย โดยพระราชทานบริเวณพระตำหนักน้ำ เป็นสถานที่ทอเสื่อโดยเฉพาะ กิจการทอเสื่อที่วังศุโขทัยนี้เป็นลักษณะอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ดำเนินกิจการที่สวนบ้านแก้ว โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจันทบุรีที่ตามเสด็จฯ มานั้นเป็นครูฝึกสอนการทอเสื่อที่วังศุโขทัย เมื่อทรงว่างจากพระราชกิจในช่วงเช้ามักจะเสด็จลงทอดพระเนตรการทอเสื่ออยู่เสมอ ทรงออกแบบและเลือกสีด้วยพระองค์เอง และเมื่อใดที่ทอดพระเนตรเห็นกระเป๋าถือสมัยใหม่ ก็จะโปรดให้ช่างทอเสื่อดูเป็นแบบอย่างเพื่อทอและประกอบเป็นกระเป๋าต่อไป[[#_ftn7|[7]]]


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สภาพโดยทั่วไปของวังศุโขทัยอันเป็นที่ประทับในช่วงหลัง เป็นสถานที่ที่ร่มรื่นไปด้วยต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับนานาชนิด ด้วยเหตุที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี โปรดธรรมชาติเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น พระราชกิจยามว่างที่โปรดมากอีกประการหนึ่งคือการทำสวนไม้ดอก ในเรือนเพาะชำส่วนพระองค์ที่วัง ศุโขทัย จะทรงเลี้ยงแคคตัสเล็กๆ และกล้วยไม้ไว้เป็นจำนวนมาก โดยพระองค์จะเสด็จลงเพื่อทรงดูแล ใส่ปุ๋ย รดน้ำต้นไม้ด้วยพระองค์เองเสมอ[[#_ftn8|[8]]] และด้วยความที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงมีพระราชจริยวัตรที่เรียบง่าย และทรงมีระเบียบแบบแผนในพระราชจริยวัตรส่วนพระองค์ ดังนั้น พระราชจริยวัตร ณ วังศุโขทัย จึงมีลักษณะดังต่อไปนี้
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;สภาพโดยทั่วไปของวังศุโขทัยอันเป็นที่ประทับในช่วงหลัง เป็นสถานที่ที่ร่มรื่นไปด้วยต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับนานาชนิด ด้วยเหตุที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี โปรดธรรมชาติเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น พระราชกิจยามว่างที่โปรดมากอีกประการหนึ่งคือการทำสวนไม้ดอก ในเรือนเพาะชำส่วนพระองค์ที่วัง ศุโขทัย จะทรงเลี้ยงแคคตัสเล็กๆ และกล้วยไม้ไว้เป็นจำนวนมาก โดยพระองค์จะเสด็จลงเพื่อทรงดูแล ใส่ปุ๋ย รดน้ำต้นไม้ด้วยพระองค์เองเสมอ[[#_ftn8|[8]]] และด้วยความที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงมีพระราชจริยวัตรที่เรียบง่าย และทรงมีระเบียบแบบแผนในพระราชจริยวัตรส่วนพระองค์ ดังนั้น พระราชจริยวัตร ณ วังศุโขทัย จึงมีลักษณะดังต่อไปนี้
บรรทัดที่ 38: บรรทัดที่ 40:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เที่ยง&nbsp;: เสวยพระกระยาหารกลางวันที่เฉลียงข้างล่าง แล้วเสด็จขึ้นห้องพระบรรทมหรือพักผ่อนพระราชอิริยาบถ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เที่ยง&nbsp;: เสวยพระกระยาหารกลางวันที่เฉลียงข้างล่าง แล้วเสด็จขึ้นห้องพระบรรทมหรือพักผ่อนพระราชอิริยาบถ


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บ่าย&nbsp;: มักเป็นเวลาที่มีพระราชกรณียกิจมาก เช่น เสด็จฯ ไปงานในพระบรมมหาราชวัง หรือพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เสด็จฯ ไปงานตามคำกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ หรือการเสด็จออกให้บุคคล<br/> หรือคณะบุคคลเฝ้าฯ หรือเสด็จออกเพื่อพระราชทานน้ำพระมหาสังข์ในพิธีสมรสพระราชทาน พระราชทานรางวัลการแข่งขันกอล์ฟ พระราชทานเลี้ยงพระราชอาคันตุกะทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป็นต้น
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;บ่าย&nbsp;: มักเป็นเวลาที่มีพระราชกรณียกิจมาก เช่น เสด็จฯ ไปงานในพระบรมมหาราชวัง หรือพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เสด็จฯ ไปงานตามคำกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ หรือการเสด็จออกให้บุคคล&nbsp;หรือคณะบุคคลเฝ้าฯ หรือเสด็จออกเพื่อพระราชทานน้ำพระมหาสังข์ในพิธีสมรสพระราชทาน พระราชทานรางวัลการแข่งขันกอล์ฟ พระราชทานเลี้ยงพระราชอาคันตุกะทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป็นต้น


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เย็น&nbsp;: หากไม่มีพระราชกรณียกิจก็จะทรงกอล์ฟ หรือทรงออกกำลังพระวรกายโดยทรงพระดำเนินไปตามถนนรอบๆ วังศุโขทัย เสวยพระสุธารสชาเวลา 17.00 น. ที่สนาม และเป็นช่วงเวลาที่โปรดให้บุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าฯ แต่ถ้ามีพระราชกรณียกิจก็จะเสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติ
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;เย็น&nbsp;: หากไม่มีพระราชกรณียกิจก็จะทรงกอล์ฟ หรือทรงออกกำลังพระวรกายโดยทรงพระดำเนินไปตามถนนรอบๆ วังศุโขทัย เสวยพระสุธารสชาเวลา 17.00 น. ที่สนาม และเป็นช่วงเวลาที่โปรดให้บุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าฯ แต่ถ้ามีพระราชกรณียกิจก็จะเสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติ
บรรทัดที่ 44: บรรทัดที่ 46:
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ค่ำ&nbsp;: เสวยพระกระยาหารค่ำเวลาประมาณ 20.00 น. พร้อมทั้งทอดพระเนตรรายการโทรทัศน์ หลังจากนั้นอาจจะทรงพระอักษร เช่น ทรงตอบจดหมายส่วนพระองค์กับพระประยูรญาติ หรือผู้ที่ทรงคุ้นเคย ในต่างประเทศ แล้วเสด็จเข้าห้องพระบรรทมเวลาประมาณ 24.00 น. ซึ่งส่วนใหญ่เมื่อเสด็จเข้าที่พระบรรทมแล้วจะทรงหนังสือต่อ แต่บางครั้งทรงฟังวิทยุ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ประทับอยู่ ณ วังศุโขทัยตราบจนเสด็จสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ค่ำ&nbsp;: เสวยพระกระยาหารค่ำเวลาประมาณ 20.00 น. พร้อมทั้งทอดพระเนตรรายการโทรทัศน์ หลังจากนั้นอาจจะทรงพระอักษร เช่น ทรงตอบจดหมายส่วนพระองค์กับพระประยูรญาติ หรือผู้ที่ทรงคุ้นเคย ในต่างประเทศ แล้วเสด็จเข้าห้องพระบรรทมเวลาประมาณ 24.00 น. ซึ่งส่วนใหญ่เมื่อเสด็จเข้าที่พระบรรทมแล้วจะทรงหนังสือต่อ แต่บางครั้งทรงฟังวิทยุ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ประทับอยู่ ณ วังศุโขทัยตราบจนเสด็จสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527


&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ปัจจุบัน วังศุโขทัย เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ปัจจุบัน วังศุโขทัย เป็นที่ประทับของ'''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา''' และ'''สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา'''
<div>'''อ้างอิง'''  
<div>
&nbsp;
 
'''อ้างอิง'''
 
----
----
<div id="ftn1">
<div id="ftn1">

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:53, 15 กุมภาพันธ์ 2565

เรียบเรียง ศิบดี นพประเสริฐ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ ศาสตราจารย์พิเศษ ธงทอง จันทรางศุ

 


            วังศุโขทัย เป็นที่ประทับของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี_พระบรมราชินี มาตั้งแต่ก่อนเสด็จขึ้นทรงราชย์ และยังเป็นที่ประทับของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีหลังจากที่เสด็จฯ แปรพระราชฐานกลับจากสวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ตราบจนสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527

             ที่ตั้งวังศุโขทัยแต่เดิมเป็นบ้านของขุนนางผู้หนึ่งอยู่ริมคลองสามเสน ในช่วงต้นรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงซื้อไว้เพื่อพระราชทานเป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ จะทรงผนวช และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ซื้อสวนที่อยู่ติดบริเวณบ้านหลังนั้นพระราชทานเพิ่มให้อีกเพื่อสร้างเป็นวังที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ โดยได้ ขนานนามวังตามพระนามที่ทรงกรมของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ว่า “วังศุโขทัย” ทั้งนี้ ตัวบ้านเดิมที่เป็นของขุนนางและต่อมาเป็นที่ประทับนั้นเป็นบ้านหลังคามุงจาก แต่มีห้องหลายห้อง สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา ทรงจัดห้องชั้นบนเป็นห้องบรรทมได้ 2 ห้อง ชั้นล่างเป็นห้องทรงพระอักษร ห้องเสวย และห้องเสด็จออกให้เฝ้าฯ ต่อมาสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระตำหนักตึกและพระตำหนักไม้ริมน้ำถวายในพื้นที่สวนซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงซื้อพระราชทาน[1]

           เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา ทรงอภิเษกสมรส กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี สวัสดิวัตน์ วังศุโขทัยก็ได้เป็นที่ประทับของทั้งสองพระองค์มาโดยตลอด โดยที่สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอฯ ยังทรงรับราชการทหารในตำแหน่งผู้บังคับกองร้อยกรมทหารบกปืนใหญ่ที่ 1 รักษาพระองค์ และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ทรงรับภาระดูแลกิจการภายในพระตำหนัก ดังที่ผู้ใกล้ชิดเบื้องพระยุคลบาทท่านหนึ่งเล่าว่า (สะกดตามต้นฉบับ)

“...เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ ทรงอภิเษกสมรสกับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ได้ประทับอยู่ที่ พระตำหนักใหญ่วังศุโขทัย ตอนเช้า เสวยร่วมกันเพียง 2 พระองค์ที่ห้องทางทิศใต้ชั้น 2 หลังจากนั้น สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จไปทรงงานที่กองพันทหาร ตอนกลางวัน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ จะเสวยอยู่บนพระตำหนัก ไม่เสด็จลง เมื่อสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จกลับจากทรงงาน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ จะเสด็จมารับที่อัฒจันทร์ด้านล่าง และเสวยพระสุธารสชาร่วมกันตอนห้าโมงเย็น โดยทรงถือปฏิบัติเป็นเวลา หลังจากนั้นจะเสด็จขึ้นและเสวยพระกระยาหารค่ำด้วยกันเพียงสองพระองค์ โดยประทับราบกับพื้น เสวยแบบไทย...ทั้งสองพระองค์จะเสด็จลงตำหนักไม้สัปดาห์ละครั้ง เพื่อทอดพระเนตรหนังและโปรดให้เจ้านายร่วมดูหนังด้วย...เวลาที่สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ เสด็จไปทรงงานจะทรงขับรถเอง ทรงใช้รถซิงเกอร์  (Singer) คันเล็ก ถ้าเป็นการเสด็จส่วนพระองค์จะทรงใช้รถซิงเกอร์คันใหญ่ ประทับคู่กับหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีฯ โดยมีพลขับขับรถถวาย...”

           ทั้งนี้ กิจวัตรประจำวันของหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีในช่วงที่พระสวามีเสด็จไปทรงงานราชการในเวลากลางวันนั้น บางครั้งเสด็จลงทรงอำนวยการเรื่องการปลูกต้นไม้ต่างๆ ที่ตำหนักสี่ฤดู ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของวังศุโขทัย

           ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา พร้อมด้วยหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีพระชายา เสด็จประพาสทวีปยุโรปเพื่อทรงรักษาพระองค์และทรงศึกษาวิชาการเพิ่มเติม เป็นเหตุให้ทั้งสองพระองค์ต้องจากวังศุโขทัยไปชั่วระยะเวลาหนึ่ง แต่เมื่อเสด็จกลับถึงกรุงเทพฯ แล้ว ทั้งสองพระองค์จึงได้เสด็จกลับมาประทับที่วังศุโขทัยตามเดิม ในช่วงนี้สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา ได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้เข้ารับราชการในตำแหน่งปลัดกรมเสนาธิการทหารบก และเลื่อนพระยศขึ้นเป็นนายพันเอก ต่อมาใน พ.ศ. 2468 ได้ทรงรับตำแหน่งเป็นผู้บัญชาการกองพลทหารบกที่ 2 และเป็นผู้บังคับการพิเศษ กรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ด้วย ทั้งนี้พระจริยวัตรประจำวันของสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา และหม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณีพระชายา ในช่วงเวลานั้นเป็นไปเช่นที่หม่อมเจ้าชายการวิก จักรพันธุ์รองราชเลขาธิการในสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 เคยรับสั่งไว้ ความว่า[2] (สะกดตามต้นฉบับ)

“...ทุกวันเช้า หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้า สมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนสุโขทัยฯ จะทรงขับรถยนต์พระที่นั่งด้วยพระองค์เอง ไปทำราชการที่ทรงรับหน้าที่เป็นผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ที่ 2 ระหว่างกลางวัน หม่อมเจ้าหญิงรำไพพรรณี ก็ทรงดูแลกิจการในพระตำหนักวังศุโขทัย เสด็จลงสวนบ้าง ทำโน่นบ้าง ทำนี่บ้าง ครั้นเวลาบ่ายใกล้ค่ำ เมื่อพระสวามีเสด็จกลับ ทั้งสองพระองค์ก็จะทรงกีฬา...”

             ต่อมา เมื่อสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา[3] เสด็จขึ้นทรงราชย์เป็นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว พระองค์พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จไปประทับที่พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต

           วังศุโขทัยได้ปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 โดยในช่วงดึกของวันเดียวกันนั้น พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีพระบรมราชินี เสด็จฯ จากวังไกลกังวลกลับกรุงเทพฯ โดยขบวนรถไฟพระที่นั่ง เมื่อรถไฟพระที่นั่งเคลื่อนเข้าจอดที่สถานีรถไฟหลวงสวนจิตรลดาในเวลาประมาณ 1.00 น. บรรยากาศในคืนวันนั้น เป็นไปดังที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ทรงเล่าพระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2515 ว่า

          “...แหม เงียบจริงๆ พอในหลวงเสด็จพระราชดำเนินจากรถไฟ มีราษฎรคนหนึ่งอยู่ที่สถานี กราบถวายบังคมแล้วก็ร้องไห้ ไม่ทราบเหมือนกันว่าเป็นใคร อายุประมาณ 30 กว่าเห็นจะได้ ในหลวงไม่ได้รับสั่งอะไร เราก็กลับมากันที่วังนี่ ตลอดทางเงียบแล้วก็เศร้า เราผ่านพระที่นั่งอนันตสมาคมก็ไม่มีอะไร มาทราบ เอาทีหลังว่าบนพระที่นั่งอนันตฯ เขาตั้งปืนไว้เต็มหมดเพราะรู้ว่าเราจะมาทางนั้น...”[4]

           เมื่อเสด็จฯ ถึงวังศุโขทัยแล้วในวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นั้นเอง พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครองได้มาเข้าเฝ้าฯ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อขอพระราชทานอภัยโทษที่ทำการเปลี่ยนแปลงการปกครอง และในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ที่วังศุโขทัยนี้เอง ที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชกำหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้นำ การเปลี่ยนแปลงการปกครองและรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว ในเวลาต่อมา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี เสด็จประพาสทวีปยุโรปเพื่อเจริญพระราชไมตรี พร้อมกับทรงเข้า รับการรักษาพระอาการประชวรที่พระเนตร แต่ด้วยความผันผวนทางการเมืองที่เกิดขึ้น เป็นผลให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงตัดสินพระราชหฤทัยสละราชสมบัติ และประทับอยู่ที่สหราชอาณาจักรพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตราบจนสวรรคตเมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 และสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ก็ประทับอยู่ในสหราชอาณาจักรต่อมาตราบจนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ดังนั้น วังศุโขทัยจึงตกอยู่ในสภาพที่ปราศจากองค์เจ้าของวังอยู่ระยะหนึ่ง

           เมื่อสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี เสด็จนิวัติประเทศไทยตามคำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามใน พ.ศ. 2492 พร้อมทั้งทรงอัญเชิญพระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวกลับมาประดิษฐานยังสถานที่ที่ควรร่วมกับสมเด็จพระบุรพมหากษัตริยาธิราชแห่งพระบรมราชจักรีวงศ์แล้ว ในช่วงนั้น วังศุโขทัยถูกใช้เป็นที่ทำการของกระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลจึงเตรียมที่จะกราบบังคมทูลเชิญเสด็จสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 ไปประทับยังวังตำบลท่าช้าง ที่ประทับเดิมของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ พระบิดา แต่สมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์[5] กราบบังคมทูลเชิญเสด็จไปประทับ ณ พระตำหนักใหม่ วังสระปทุม อันเคยเป็นที่ประทับของสมเด็จพระราชบิดา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์[6] แต่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ไม่ต้องพระราชประสงค์ที่จะทรงรบกวนสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาล จึงทรงมองหาพื้นที่สำหรับจัดสร้างเป็นที่ประทับในหัวเมือง ซึ่งต้องพระราชประสงค์พื้นที่ในจังหวัดจันทบุรี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดสร้าง “สวนบ้านแก้ว” ขึ้น และประทับอยู่ที่สวนบ้านแก้วจนถึง พ.ศ. 2511จึงเสด็จฯ แปรพระราชฐานกลับมาประทับ ณ วังศุโขทัยอีกครั้งหนึ่ง

           ในระยะแรกที่เสด็จฯ กลับมาประทับ ณ วังศุโขทัย สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงมีพระราชกิจมากเนื่องจากสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ยังทรงพระเยาว์ ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์บ่อยครั้ง นอกจากนี้ วังศุโขทัยยังเป็นสถานที่ที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงใช้รับรองพระราชอาคันตุกะในพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดชที่เสด็จฯ มาเยือนประเทศไทย โดยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี จะเสด็จออก ณ วังศุโขทัย เพื่อพระราชทานพระราชวโรกาสให้พระราชอาคันตุกะเฝ้าฯ เสมอ เช่น เสด็จออกทรงรับสมเด็จพระราชาธิบดี โบดวง และสมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งชาวเบลเยียม พ.ศ. 2507 เป็นต้น หรือการปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เป็นการส่วนพระองค์ เช่น เสด็จฯ ออกให้บุคคลหรือคณะบุคคลเฝ้าฯ หรือทรงประกอบพิธีสมรสพระราชทาน ก็เกิดขึ้น ณ วังศุโขทัยเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ กิจการทอเสื่อซึ่งทรงริเริ่มตั้งแต่เมื่อครั้งประทับที่สวนบ้านแก้ว จังหวัดจันทบุรี ก็ยังทรงนำมาสืบสานต่อยังวังศุโขทัยด้วย โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้ายโรงงานทอเสื่อจากสวนบ้านแก้วมายังวังศุโขทัย โดยพระราชทานบริเวณพระตำหนักน้ำ เป็นสถานที่ทอเสื่อโดยเฉพาะ กิจการทอเสื่อที่วังศุโขทัยนี้เป็นลักษณะอุตสาหกรรมในครัวเรือนเช่นเดียวกับเมื่อครั้งที่ดำเนินกิจการที่สวนบ้านแก้ว โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวจันทบุรีที่ตามเสด็จฯ มานั้นเป็นครูฝึกสอนการทอเสื่อที่วังศุโขทัย เมื่อทรงว่างจากพระราชกิจในช่วงเช้ามักจะเสด็จลงทอดพระเนตรการทอเสื่ออยู่เสมอ ทรงออกแบบและเลือกสีด้วยพระองค์เอง และเมื่อใดที่ทอดพระเนตรเห็นกระเป๋าถือสมัยใหม่ ก็จะโปรดให้ช่างทอเสื่อดูเป็นแบบอย่างเพื่อทอและประกอบเป็นกระเป๋าต่อไป[7]

           สภาพโดยทั่วไปของวังศุโขทัยอันเป็นที่ประทับในช่วงหลัง เป็นสถานที่ที่ร่มรื่นไปด้วยต้นไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับนานาชนิด ด้วยเหตุที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี โปรดธรรมชาติเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้น พระราชกิจยามว่างที่โปรดมากอีกประการหนึ่งคือการทำสวนไม้ดอก ในเรือนเพาะชำส่วนพระองค์ที่วัง ศุโขทัย จะทรงเลี้ยงแคคตัสเล็กๆ และกล้วยไม้ไว้เป็นจำนวนมาก โดยพระองค์จะเสด็จลงเพื่อทรงดูแล ใส่ปุ๋ย รดน้ำต้นไม้ด้วยพระองค์เองเสมอ[8] และด้วยความที่สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ทรงมีพระราชจริยวัตรที่เรียบง่าย และทรงมีระเบียบแบบแผนในพระราชจริยวัตรส่วนพระองค์ ดังนั้น พระราชจริยวัตร ณ วังศุโขทัย จึงมีลักษณะดังต่อไปนี้

           เช้า : ตื่นบรรทมเวลาประมาณ 8.00 น. แล้วเสวยพระกระยาหารเช้าเป็นการส่วนพระองค์ในห้อง พระบรรทม ซึ่งมีการจัดโต๊ะเสวยเล็กๆ ไว้ หลังจากนั้น ทรงเข้าห้องสรงแล้วทรงปฏิบัติพระราชกิจส่วนพระองค์ เช่น เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรงานผลิตภัณฑ์เสื่อทอและพระราชทานคำแนะนำ บางครั้งทรงจัดสิ่งของเครื่องใช้ หรือทรงพระอักษร หากมีพระราชกรณียกิจที่ต้องเสด็จฯ ก็จะเสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติ เช่น เสด็จฯ ไปงานต่างๆ หรือเสด็จออกให้บุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าฯ โดยปกติมักมีพระญาติหรือบุคคลอื่นๆ มาเฝ้าฯ เสมอ

           เที่ยง : เสวยพระกระยาหารกลางวันที่เฉลียงข้างล่าง แล้วเสด็จขึ้นห้องพระบรรทมหรือพักผ่อนพระราชอิริยาบถ

           บ่าย : มักเป็นเวลาที่มีพระราชกรณียกิจมาก เช่น เสด็จฯ ไปงานในพระบรมมหาราชวัง หรือพระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต เสด็จฯ ไปงานตามคำกราบบังคมทูลเชิญเสด็จฯ หรือการเสด็จออกให้บุคคล หรือคณะบุคคลเฝ้าฯ หรือเสด็จออกเพื่อพระราชทานน้ำพระมหาสังข์ในพิธีสมรสพระราชทาน พระราชทานรางวัลการแข่งขันกอล์ฟ พระราชทานเลี้ยงพระราชอาคันตุกะทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เป็นต้น

           เย็น : หากไม่มีพระราชกรณียกิจก็จะทรงกอล์ฟ หรือทรงออกกำลังพระวรกายโดยทรงพระดำเนินไปตามถนนรอบๆ วังศุโขทัย เสวยพระสุธารสชาเวลา 17.00 น. ที่สนาม และเป็นช่วงเวลาที่โปรดให้บุคคลต่างๆ เข้าเฝ้าฯ แต่ถ้ามีพระราชกรณียกิจก็จะเสด็จฯ ไปทรงปฏิบัติ

           ค่ำ : เสวยพระกระยาหารค่ำเวลาประมาณ 20.00 น. พร้อมทั้งทอดพระเนตรรายการโทรทัศน์ หลังจากนั้นอาจจะทรงพระอักษร เช่น ทรงตอบจดหมายส่วนพระองค์กับพระประยูรญาติ หรือผู้ที่ทรงคุ้นเคย ในต่างประเทศ แล้วเสด็จเข้าห้องพระบรรทมเวลาประมาณ 24.00 น. ซึ่งส่วนใหญ่เมื่อเสด็จเข้าที่พระบรรทมแล้วจะทรงหนังสือต่อ แต่บางครั้งทรงฟังวิทยุ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ประทับอยู่ ณ วังศุโขทัยตราบจนเสด็จสวรรคตในวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2527

           ปัจจุบัน วังศุโขทัย เป็นที่ประทับของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าพัชรกิติยาภา นเรนทิราเทพยวดี กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี นารีรัตนราชกัญญา

 

อ้างอิง


[1] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ: สำนักราชเลขาธิการ,​ 2531), หน้า 205-206.

[2] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ: สำนักราชเลขาธิการ,​ 2531), หน้า 33.

[3] สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าประชาธิปกศักดิเดชน์ กรมขุนศุโขไทยธรรมราชา ทรงรับพระบรมราชโองการเลื่อนพระอิสริยยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ดูใน “พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนา เลื่อนกรม ตั้งกรม และตั้งเจ้าพระยา,” ราชกิจจานุเบกษา,​ 42 (15 พฤศจิกายน 2468) : 217-222.

[4] สมาคมนักข่าวแห่งประเทศไทย, “พระราชบันทึกทรงเล่า สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณีฯ,” ใน เบื้องแรกประชาธิปตัย : บันทึกความทรงจำของผู้อยู่ในเหตุการณ์สมัย พุทธศักราช 2475-2500 (พระนคร : มิตรนราการพิมพ์, 2516), หน้า 4.

[5] พระอิสริยยศในขณะนั้นของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

[6] ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ เฉลิมพระนามาภิไธย
เป็นสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

[7] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ: สำนักราชเลขาธิการ,​ 2531), หน้า 170.

[8] สำนักราชเลขาธิการ, พระราชประวัติ สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ 7 (กรุงเทพฯ: สำนักราชเลขาธิการ,​ 2531), หน้า 174.