ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐประหาร พ.ศ. 2494"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' ณัฐพล ใจจริง
'''ผู้เรียบเรียง''' ณัฐพล ใจจริง


บรรทัดที่ 7: บรรทัดที่ 8:
----
----


[[การรัฐประหาร]] 29 พฤศจิกายน 2494 ของคณะทหารที่เรียกตนเองว่า “[[คณะบริหารประเทศชั่วคราว]]” เป็นผลต่อเนื่องมาจากความร่วมมือระหว่าง[[กลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม]]และ[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]ได้ร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492|รัฐธรรมนูญ 2492]] หรือ “[[รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]]” ที่กำหนดโครงสร้างทางการเมืองที่ให้พระมหากษัตริย์มีอำนาจมากในการควบคุมทางการเมืองผ่าน[[วุฒิสภา]]ที่มาจากการแต่งตั้ง อีกทั้ง การที่[[ผู้สำเร็จราชการ|ผู้สำเร็จราชการฯ]]เข้าแทรกแซงกิจการทางการเมือง และการกีดกัน “คณะรัฐประหาร” ออกไปจากการเมืองนั้น ทำให้รัฐบาลของ[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]บริหารราชการแผ่นดินด้วยความยากลำบาก การรัฐประหาร 2494 จึงเป็นการยุติอำนาจกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมออกไปจากการเมืองไทย ซึ่งเป็นสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้ระหว่างคณะทหารที่มีจอมพล ป.-ผู้นำที่มาจาก[[คณะราษฎร]]กับกลุ่มอำนาจเก่าที่ยังคงดำรงอยู่ภายหลัง[[การปฏิวัติ 2475]]
'''รัฐประหาร พ.ศ. 2494'''
 
==สภาพปัญหาที่ก่อให้เกิดการรัฐประหาร==
 
ภายหลังการขับไล่รัฐบาลนายควงลงจากตำแหน่ง ในเดือนเมษายน 2491  จอมพล ป.ได้กลับขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่สอง ทำให้เกิดการเผชิญหน้ากันของสองขั้วอำนาจระหว่างกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมกับจอมพลป. นายกรัฐมนตรีผู้มาจาก[[คณะราษฎร]] และผู้นำ “คณะรัฐประหาร”ภายใต้มรดกของระบอบการเมืองที่กลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและ[[พรรคประชาธิปัตย์]]ได้วางไว้ นั่นก็คือ ความสัมพันธ์ทางการเมืองภายใต้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492|รัฐธรรมนูญ 2492]]  ที่ไม่สมดุลระหว่างอำนาจของพระมหากษัตริย์กับรัฐบาลและรัฐสภา เนื่องจากเป็นระบอบการเมืองที่พระมหากษัตริย์มีอำนาจมากโดยปลอดจากการถ่วงดุลจากรัฐบาลและรัฐสภา
 
;1.ปัญหาจากรัฐธรรมนูญ 2492 หรือ “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม”
 
การพยายามสถาปนาโครงสร้างและกำหนดกติกาการเมืองให้ที่เป็นที่พอใจของกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมนับเป็นเป้าหมายที่สำคัญในการร่างรัฐธรรมนูญ 2492<ref>ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 66 ตอนที่ 17 วันที่ 23  มีนาคม พุทธศักราช 2492 หรือ เวปไซด์ของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา www.krisdika.go.th</ref> โดยกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและพรรคประชาธิปัตย์ได้ริเริ่มให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ผู้ร่างส่วนใหญ่เป็นขุนนางในระบอบเก่าและนักกฎหมายอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญนี้ มีจำนวน 9 คน คือ [[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ]] [[พระยาศรีวิสารวาจา]] [[พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี]] [[พระยาอรรถการียนิพนธ์]] [[หลวงประกอบนิติสาร]] [[เสนีย์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช]] นาย[[สุวิชช์  พันธเศรษฐ]] และนาย[[เพียร ราชธรรมนิเทศ]] 
 
สาระสำคัญใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492|รัฐธรรมนูญ 2492]]    จึงกำหนดกติกาและระบอบการเมืองที่เพิ่มอำนาจให้พระมหากษัตริย์ในทางการเมือง และกีดกัน “คณะรัฐประหาร” ออกไปจาการเมือง และได้มีการประดิษฐ์ระบอบการเมืองที่ต้องการขึ้น ด้วยการใช้คำว่า “ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”(มาตรา 2) ขึ้น นับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย อีกทั้ง คณะผู้ร่างฯมีวัตถุประสงค์ถวายอำนาจให้เป็น“ส่วนพระองค์โดยแท้”จึงการบัญญัติข้อความในหลายมมาตราที่เพิ่มอำนาจพระมหากษัตริย์ เช่น กำหนดให้การกระทำของกษัตริย์มีอิสระตามพระราชอัธยาศัย เช่น การทรงเลือกและแต่งตั้ง[[ประธานองคมนตรี]]และ[[องคมนตรี]]ตามพระราชอัธยาศัยและให้พ้นตำแหน่งไปตามพระราชอัธยาศัย (มาตรา13,14)<ref>มุกดา เอนกลาภากิจ “รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2542 , หน้า 78-79</ref>    ให้ทรงมีอำนาจในการทรงเลือกและแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 100 คน โดยมีเพียงประธานองคมนตรีเป็นผู้สนองพระบรมราชโองการ (มาตรา 82 )<ref>มุกดา เอนกลาภากิจ “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2542) , หน้า 219, 221.</ref>  เนื่องจากคณะผู้ร่างฯ ต้องการให้วุฒิสภาเป็นตัวแทนพระมหากษัตริย์มิใช่ตัวแทนประชาชนจึงบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งอำนาจในทางการเมืองเช่นนี้ ทำให้เกิดข้อถกเถียงถึงอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย ภายใต้หลักการ '''The King Can  Do No Wrong''' หรือ การกระทำของพระมหากษัตริย์ต้องมีผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ เนื่องจาก ที่มาของประธานองคมนตรีมิได้รับผิดชอบต่อรัฐสภาแต่กลับมามีอำนาจลงนามสนองพระราชโองการในการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งขัดแย้งต่อหลักในการปกครอง[[ระบอบประชาธิปไตย]] เป็นต้น<ref>ดิเรก ชัยนาม ,กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งพิสดาร : คำสอนชั้นปริญญาโท พุทธศักราช 2491-2492. (พระนคร: มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง,2493),หน้า 31-32. และ ไพโรจน์ ชัยนาม , คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ (โดยสังเขป) เล่ม 2 กฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ตอนที่ 1 ,(พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ ,2495), หน้า 131.</ref> 
 
นอกจากนี้ ในบทเฉพาะกาลรัฐธรรมนูญ 2492 นี้อนุญาตให้ วุฒิสภาชุดที่พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490|รัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า(2490)]] ให้สามารถดำรงตำแหน่งต่อมาได้ตามรัฐธรรมนูญใหม่(2492) ทำให้วุฒิสภาสามารถครอบงำการใช้อำนาจของรัฐสภาได้  กล่าวโดยสรุป นับแต่รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 และ 2492 นั้น ได้มีการบัญญัติมาตราที่ให้อำนาจพระมหากษัตริย์เข้ามาแทรกแซงการเมืองได้และมีการจัดตั้งองค์กร[[อภิรัฐมนตรี]] ซึ่งต่อมากลายเป็น[[องคมนตรี]] อันมาจากการเลือกและแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์อย่างอิสระปราศจากการตรวจสอบและถ่วงดุลจากสถาบันการเมืองตามระบอบประชาธิปไตย เช่น รัฐบาล และรัฐสภา ทั้งนี้ รัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับเป็น “[[รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]]” เหมือนกัน ต่างแต่เพียงรัฐธรรมนูญฉบับหลัง(2492)จัดรูปแบบของการใช้อำนาจของพระมหากษัตริย์ให้ลงตัวมากขึ้นเท่านั้น
 
ด้วยสาระที่เพิ่มอำนาจให้กับพระมหากษัตริย์ในทางการเมืองนี้ ไม่แต่เพียงถูกท้วงติงจากนักวิชาการทางรัฐศาสตร์และนักนิติศาสตร์เท่านั้น แต่ในการประชุมรัฐสภาเพื่อพิจารณารับรัฐธรรมนูญนั้น สมาชิกสภาผู้แทนฯบางท่านได้อภิปรายวิจารณ์“ระบอบซ่อนเร้น”ที่ให้อำนาจกษัตริย์มีอำนาจในทางการเมืองว่า ''“ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไม่ใช่ประชาธิปไตยอันแท้จริง แต่มีลัทธิการปกครองแปลกประหลาดแทรกซ่อนอยู่ ลัทธินี้ คือ ลัทธินิยมกษัตริย์”'' และ ''“ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เขียนไว้โดยปรารถนาจะเหนี่ยวรั้งพระมหากษัตริย์ เข้ามาพัวพันกับการเมืองมากเกินไป โดยการถวายอำนาจมากกว่าเดิม … ยังงี้ไม่ใช่รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย มันเป็นรัฐธรรมนูญพระมหากษัตริย์อย่างชัดๆทีเดียว ”''<ref>คำอภิปรายเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2492 ของ นายชื่น ระวีวรรณ และนายเลียง ไชยกาล ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯในขณะนั้น (  ธงชัย วินิจจะกูล ,  ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม , ( กรุงเทพฯ : มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา , 2548 ), หน้า 21.</ref> 


นอกจากนี้ คณะผู้ร่างฯรัฐธรรมนูญซึ่งได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและพรรคประชาธิปัตย์ได้พยายามจำกัดอำนาจของ “คณะรัฐประหาร” ที่ได้เคยร่วมมือในการรัฐประหาร 2490  ออกไปจากการเมือง ด้วยการกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญว่า ห้ามข้าราชการประจำเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(มาตรา79 ) และ ข้าราชการประจำเป็นรัฐมนตรีมิได้จะเป็น(มาตรา 142) ส่งผลให้นายทหารใน “คณะรัฐประหาร” ถูกกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมกีดกันออกไปจากการเมือง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3 การรัฐประหาร] 29 พฤศจิกายน 2494 ของคณะทหารที่เรียกตนเองว่า “[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7 คณะบริหารประเทศชั่วคราว]” เป็นผลต่อเนื่องมาจาก ปัญหาทางการเมืองจากความร่วมมือระหว่าง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C-%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1 กลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม]และ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C พรรคประชาธิปัตย์]ได้ร่าง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202492 รัฐธรรมนูญ 2492] หรือ “[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1 รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]” ที่กำหนดโครงสร้างทางการเมืองที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจในการควบคุมทางการเมืองผ่าน[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A7%E0%B8%B8%E0%B8%92%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2 วุฒิสภา]ที่มาจากการแต่งตั้ง อีกทั้ง รัฐธรรมนูญฉบับนี้ การกีดกัน “คณะรัฐประหาร” ออกไปจากการเมืองนั้น ทำให้รัฐบาลของ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%81%20%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1 จอมพล ป. พิบูลสงคราม]บริหารราชการแผ่นดินด้วยความยากลำบาก ด้วยเหตุนี้ การรัฐประหาร 2494 จึงเป็นการยุติอำนาจกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมออกไปจากการเมืองไทย ซึ่งเป็นสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้ระหว่างคณะทหารที่มีจอมพล ป.-ผู้นำที่มาจาก[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 คณะราษฎร]กับกลุ่มอำนาจเก่าที่ยังคงดำรงอยู่ภายหลัง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%202475 การปฏิวัติ 2475]


;2.ปัญหาจากที่มาและบทบาทของวุฒิสภา
= สภาพปัญหาที่ก่อให้เกิดการรัฐประหาร =


ภาพรวมของรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 หรือ “[[รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]]” ฉบับนี้มีแนวโน้มอนุรักษ์นิยมทางการเมือง เช่น ให้ความสำคัญกับการแต่งตั้งด้วยอำนาจของพระมหากษัตริย์มากกว่าการเลือกตั้งของประชาชน เช่น กำหนดให้ ประธานวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งเป็นประธานรัฐสภา ซึ่งมีอำนาจเหนือกว่าประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ด้วยการกำหนดให้ประธานสภาผู้แทนฯเป็นเพียงเป็นรองประธานรัฐสภาเท่านั้น(มาตรา 74)  โดยที่มาวุฒิสภากำหนดให้ พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้ง จำนวน 100 คน ให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา(มาตรา 82)  กำหนดให้วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งมีอำนาจในการตรวจสอบรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งได้เหมือนกับสมาชิกสภาผู้แทนที่มาจาการเลือกตั้งของประชาชน (มาตรา 128)  กำหนดให้วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งสามารถเปิดอภิปรายทั่วไปแบบไม่ลงมติได้(มาตรา 130) ดังนั้น ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้น ตามหลักการการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ คือ เมื่อวุฒิสภาที่มาจาการแต่งตั้งมีอำนาจตรวจสอบรัฐบาลได้แล้ว ใครหรือองค์กรใดจะตรวจสอบวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง
&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ภายหลังการขับไล่รัฐบาลนายควงลงจากตำแหน่ง ในเดือนเมษายน 2491 จอมพล ป.ได้กลับขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่สอง ทำให้เกิดการเผชิญหน้ากันของสองขั้วอำนาจระหว่างกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมกับจอมพลป. นายกรัฐมนตรีผู้มาจาก[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 คณะราษฎร] และผู้นำ “คณะรัฐประหาร”ภายใต้มรดกของระบอบการเมืองที่กลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C พรรคประชาธิปัตย์]ได้วางไว้ในความสัมพันธ์ทางการเมืองภายใต้[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202492 รัฐธรรมนูญ 2492] อันสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สมดุลระหว่างอำนาจของพระมหากษัตริย์กับรัฐบาลและรัฐสภา


​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;1.ปัญหาจากรัฐธรรมนูญ 2492


ในขณะที่ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มีการเพิ่มอำนาจทางการเมืองให้กับพระมหากษัตริย์ แต่กลับจำกัดอำนาจของประชาชน ซึ่งมีแนวโน้มความเป็นอนุรักษ์นิยมมากขึ้น เช่น รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มิได้กำหนดที่มาของสมาชิกวุฒิสภาให้มาจกการเลือกตั้งตามแบบ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489|รัฐธรรมนูญ 2489]] แต่กลับกำหนดให้สมาชิกวุฒิสภามาจาการแต่งตั้ง หรือแม้แต่อายุผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ได้กำหนดให้มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปี (มาตรา 92)  ซึ่งมีแนวโน้มกีดกันคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่เข้าดำรงตำแหน่งทางการเมือง ซึ่งอาจเป็นความพยายามการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;การพยายามสถาปนาโครงสร้างและกำหนดกติกาการเมืองโดยกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญ 2492<sup>[1] </sup>เกิดขึ้นโดยกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและพรรคประชาธิปัตย์ริเริ่มให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทดแทนรัฐธรรมนูญ 2490 โดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ผู้ร่างส่วนใหญ่เป็นขุนนางในระบอบเก่าและนักกฎหมายอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญนี้ มีจำนวน 9 คน คือ [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A8 เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2 พระยาศรีวิสารวาจา] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B5 พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C พระยาอรรถการียนิพนธ์] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3 หลวงประกอบนิติสาร] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%8A หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช] นาย[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B9%8C%20%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90 สุวิชช์ พันธเศรษฐ] และนาย[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%20%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8 เพียร ราชธรรมนิเทศ]


ปัญหาจากบทบาทของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้ง ตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ 2492 ได้เปิดโอกาสให้สมาชิกวุฒิสภาที่ถูกแต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์จากรัฐธรรมนูญ 2490  ให้สามารถดำรงตำแหน่งต่อเนื่องได้ สมาชิกวุฒิสภาชุดแต่งตั้งนี้ได้สร้างอุปสรรคในการบริหารของรัฐบาลจอมพล ป. มาก<ref>พลเรือตรีหลวงสังวรยุทธกิจ ได้บันทึกถึงเสียงตำหนิจากประชาชนต่อวุฒิสภาชุดนี้ว่า เป็น “สภากรุ๋งกริ๋ง” “สภาคนแก่” “สภาคณะเจ้า” โปรดดู พลเรือตรีสังวรยุทธกิจ , “เกิดมาแล้วต้องเป็นไปตามกรรม คือ กฎแห่งธรรมชาติ” อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณ์ยุทธกิจ (ณ เมรุ วัด ธาตุทอง วันที่ 29 ธันวาคม 2516), กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์, หน้า 161</ref> เช่น การตั้งกระทู้ถามรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง และการอภิปรายคัดค้าน ยับยั้งการออกกฎหมายถึง 31 ฉบับจาก 57 ฉบับ<ref>กริช สืบสนธิ์ , “บทบาทและพฤติกรรมของวุฒิสภาไทยสมัยต่างๆ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2515, หน้า 140-151.</ref>   นอกจากนี้ วุฒิสภาชุดนี้ขอเปิดอภิปรายทั่วไปภายหลังการปราบปราม ”[[กบฎแมนฮัตตัน]]”โดยรัฐบาลจอมพล ป. อย่างหนัก ซึ่งถือได้ว่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์<ref>สุชิน ตันติกุล , “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2517,หน้า 157.</ref>  
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ทั้งนี้ สาระสำคัญใน[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202492 รัฐธรรมนูญ 2492] มีการบัญญัติกติกาและระบอบการเมืองที่อำนวยประโยชน์ทางการเมืองให้กับกลุ่มอนุรักษ์นิยม-กษัตริย์นิยม รวมทั้ง การเพิ่มพระราชอำนาจให้พระมหากษัตริย์ พร้อมการกีดกัน “คณะรัฐประหาร” ให้ออกไปจาการเมือง ตลอดจนมีการบัญญัติชื่อระบอบการเมืองของไทยว่า “ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”(มาตรา 2) ขึ้นเป็นครั้งแรก อีกทั้ง คณะผู้ร่างฯมีวัตถุประสงค์ถวายอำนาจให้เป็น“ส่วนพระองค์โดยแท้”จึงปราฏข้อความในหลายมมาตราที่เพิ่มพระราชอำนาจให้พระมหากษัตริย์ เช่น กำหนดให้การกระทำของพระมหากษัตริย์มีอิสระตามพระราชอัธยาศัย ดังการบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้ง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 ประธานองคมนตรี]และ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 องคมนตรี]ตามพระราชอัธยาศัยและให้การพ้นตำแหน่งไปตามพระราชอัธยาศัย (มาตรา13,14)<sup>[</sup><sup>2]</sup>&nbsp;ให้ทรงมีอำนาจในการทรงเลือกและแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 100 คน โดยมีเพียงประธานองคมนตรีเป็นผู้สนองพระบรมราชโองการ (มาตรา 82 )<sup>[</sup><sup>3] </sup>อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุที่ คณะผู้ร่างฯ ต้องการให้วุฒิสภาเป็นตัวแทนพระมหากษัตริย์จึงบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งอำนาจในการแต่งตั้ง ทำอาจทำให้เกิดข้อถกเถียงถึงอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย ภายใต้หลักการ The King Can Do No Wrong หรือ การกระทำของพระมหากษัตริย์ต้องมีผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ เนื่องจาก ที่มาของประธานองคมนตรีมิได้รับผิดชอบต่อรัฐสภา แต่กลับมามีอำนาจลงนามสนองพระราชโองการในการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาอันขัดแย้งต่อหลักในการปกครอง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2 ระบอบประชาธิปไตย] เป็นต้น<sup>[</sup><sup>4]</sup>


ต่อมา [[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป.]]ได้กล่าวตอบโต้วุฒิสภาว่าการเปิดอภิปรายของวุฒิสภาที่โจมตีรัฐบาลอย่างหนักนี้เป็นการเล่นบทเป็นฝ่ายค้านต่อรัฐบาล<ref>สุชิน ตันติกุล , “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2517,หน้า 157.</ref>
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;นอกจากนี้ ในบทเฉพาะกาลรัฐธรรมนูญ 2492 นี้อนุญาตให้ วุฒิสภาชุดที่พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตาม[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20(ฉบับชั่วคราว)%20พ.ศ.%202490 รัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า(2490)] ให้สามารถดำรงตำแหน่งต่อมาได้ตามรัฐธรรมนูญใหม่(2492) ทำให้วุฒิสภาชุดเดิมสามารถควบคุมทิศทางการใช้อำนาจของรัฐสภาต่อไปได้ กล่าวโดยสรุป นับแต่รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 และ 2492 นั้นมีการบัญญัติมาตราที่ให้อำนาจพระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจหลายประการ เช่น การแต่งตั้ง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 อภิรัฐมนตรี] ซึ่งต่อมากลายเป็น[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 องคมนตรี] อันมาจากการเลือกและแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ตามพระราชอัธยาศัยอย่างอิสระโดยปราศจากการถ่วงดุลจากสถาบันการเมืองอื่น เช่น รัฐบาล และรัฐสภา ตามหลัก The King Can Do No Wrong ทั้งนี้ จึงอาจกล่าวได้ว่า รัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับเป็น “[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1 รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]” เหมือนกัน ต่างแต่เพียงรัฐธรรมนูญฉบับหลัง (2492) จัดรูปแบบของการใช้อำนาจของพระมหากษัตริย์ให้ลงตัวมากขึ้นเท่านั้น


;3.ปัญหาความไม่สมดุลทางการเมืองและการแทรกแซงทางการเมืองของผู้สำเร็จราชการฯ
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ด้วยสาระในรัฐธรรมนูญบัญญัติเพิ่มพระราชอำนาจให้กับพระมหากษัตริย์ในทางการเมืองนี้ สมาชิกสภาผู้แทนฯบางท่านได้อภิปรายวิจารณ์ในการประชุมรัฐสภาเพื่อพิจารณารับรัฐธรรมนูญครั้งนั้นว่า ''“ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไม่ใช่ประชาธิปไตยอันแท้จริง แต่มีลัทธิการปกครองแปลกประหลาดแทรกซ่อนอยู่ ลัทธินี้ คือ ลัทธินิยมกษัตริย์”'' และ ''“ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เขียนไว้โดยปรารถนาจะเหนี่ยวรั้งพระมหากษัตริย์ เข้ามาพัวพันกับการเมืองมากเกินไป โดยการถวายอำนาจมากกว่าเดิม … ยังงี้ไม่ใช่รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย มันเป็นรัฐธรรมนูญพระมหากษัตริย์อย่างชัดๆทีเดียว ”''<sup>[</sup><sup>5]</sup>


ในเดือนมิถุนายน 2492 หรือเพียงสามเดือนหลังประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ มีรายงานข่าวว่ารัฐบาลประสบความล้มเหลวในการผลักดันบุคคลที่รัฐบาลไว้วางใจให้เป็นองคมนตรี<ref>Handley , Paul  “Princes , Politicians , Bureaucrats , Generals : The Evolution of the Privy Council under  the  Constitutional Monarchy” , A paper for 10th International Conference on Thai Studies , Thammasat University ,Bangkok ,January 9-11,2008 ,p.10.</ref>  ในขณะที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจในการเลือกและแต่งตั้งวุฒิสมาชิกซึ่งเป็นสมาชิกจำนวนกึ่งหนึ่งในรัฐสภาได้ ต่อมา ความขัดแย้งระหว่างผู้สำเร็จราชการฯกับรัฐบาลได้เริ่มปรากฎขึ้นในกรณีการแต่งตั้งวุฒิสมาชิก-สมาชิกส่วนใหญ่เป็นพระราชวงศ์และข้าราชการในระบอบเก่า-โดยผู้สำเร็จราชการฯไม่ทรงปรึกษารัฐบาลส่งผลให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับวุฒิสภาไม่ราบรื่น นอกจากนี้ ผู้สำเร็จราชการฯได้เข้าแทรกแซงทางการเมืองด้วยการเข้ามานั่งประทับในการประชุมคณะรัฐมนตรี ซึ่งผิดแบบแผนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยทั่วไป จากการที่ทรงเข้ามาประทับในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีนี้ได้สร้างความไม่พอใจให้กับ[[แปลก พิบูลสงคราม|จอมพล ป.]] ในฐานะนายกรัฐมนตรีมาก<ref>Bangkok Post , December 18,1950</ref> 
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;นอกจากนี้ คณะผู้ร่างฯรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและพรรคประชาธิปัตย์ในการพยายามจำกัดอำนาจของ “คณะรัฐประหาร” ที่ได้เคยร่วมมือในการรัฐประหาร 2490 ออกไปจากการเมือง ด้วยการกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญว่า ห้ามข้าราชการประจำเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(มาตรา79 ) และ ข้าราชการประจำเป็นรัฐมนตรีมิได้จะเป็น(มาตรา 142) ส่งผลให้นายทหารใน “คณะรัฐประหาร” ถูกกีดกันออกไปจากการเมือง


;4.ปัญหาจากการขาดอำนาจในการควบคุมกองทัพ
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;2.ปัญหาจากที่มาและบทบาทของวุฒิสภา


รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวได้ห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งทางการเมือง เช่น ห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 79) ห้ามข้าราชการเป็นรัฐมนตรี (มาตรา 142) ส่งผลให้จอมพล ป.และนายทหารใน “คณะรัฐประหาร” ต้องเผชิญกับทางเลือกในการดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือดำรงตำแหน่งในระบบราชการ เช่น เมื่อลาออกจากข้าราชการมาดำรงตำแหน่งทางการเมืองทำให้ขาดอำนาจในการควบคุมกองทัพ ด้วยรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ทำให้จอมพล ป. ลาออกจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกเพื่อเป็นนายกรัฐมนตรี(2491) แม้[[ผิน ชุณหะวัณ|พลโท ผิน ชุณหะวัณ]]จะรับแหน่งนี้แทนก็ตาม  แต่การกำหนดดังกล่าวทำให้รัฐบาลขาดความสามารถในการควบคุมและสั่งการกองทัพ และส่งผลให้ปัญหาการแข่งขันทางการเมืองในภายกองทัพมีผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลมาก เช่น การแข่งขันระหว่างพลโทผินกับพลโทกาจ  กาจสงครามในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก และ[[เผ่า ศรียานนท์|พลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์]]กับ[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|พลตรีสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ในระยะเวลาต่อมา
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ภาพรวมของรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มีแนวโน้สร้างบรรยากาศการเมืองแบบอนุรักษ์นิยม เช่น ให้ความสำคัญกับตำแหน่งทางการเมืองที่ถูกแต่งตั้งด้วยพระราชอำนาจมากกว่าตำแหน่งที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เช่น กำหนดให้ประธานวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งเป็นประธานรัฐสภา ซึ่งมีอำนาจเหนือกว่าประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ด้วยการกำหนดให้ประธานสภาผู้แทนฯเป็นเพียงเป็นรองประธานรัฐสภาเท่านั้น(มาตรา 74) ทั้งนี้ ที่มาวุฒิสภานั้นรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้ง จำนวน 100 คน และให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา(มาตรา 82) การกำหนดให้วุฒิสภาจากการแต่งตั้งมีอำนาจในการตรวจสอบรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งได้เหมือนกับสมาชิกสภาผู้แทนที่มาจาการเลือกตั้งของประชาชน (มาตรา 128) การกำหนดให้วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งสามารถเปิดอภิปรายทั่วไปแบบไม่ลงมติได้(มาตรา 130) ดังนั้น คำถามสำคัญที่เกิดขึ้นตามหลักการการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ คือ เมื่อวุฒิสภาที่มาจาการแต่งตั้งมีอำนาจตรวจสอบรัฐบาลได้แล้ว ใครหรือองค์กรใดจะตรวจสอบวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งนั้น


กล่าวโดยสรุปแล้วรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว มีสาระเพิ่มอำนาจให้กับพระมหากษัตริย์ในทางการเมือง แต่ลดอำนาจของประชาชนที่แสดงผ่านการเลือกตั้งลง โดยให้ความสำคัญกับการแต่งตั้งมากขึ้น  ตลอดจนจำกัดอำนาจของ “คณะรัฐประหาร” ออกไปจากการเมือง
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ในขณะที่ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มีบทบัญญัติที่มีแนวโน้มจำกัดอำนาจของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฉบับนี้ กำหนดให้ที่มาของสมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งอันแตกต่างไปจากที่มาของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 อีกทั้ง รัฐธรรมนูญ 2492 ยังกำหนดให้ประชาชนที่ต้องการผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปี (มาตรา 92) ซึ่งหมายความว่าคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ที่ต้องการเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองไม่สามารถเป็นไปได้ตามรัฐธรรมนูญนี้


==การรัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494==
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ทั้งนี้ บทบาทของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ 2492 เปิดโอกาสให้สมาชิกวุฒิสภาจากแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2490 ให้สามารถดำรงตำแหน่งต่อเนื่องได้ โดยสมาชิกวุฒิสภาชุดดังกล่าวสร้างอุปสรรคในการบริหารของรัฐบาลจอมพล ป. มาก<sup>[</sup><sup>6]</sup>เช่น การตั้งกระทู้ถามรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง และการอภิปรายคัดค้าน ยับยั้งการออกกฎหมายถึง 31 ฉบับจาก 57 ฉบับ<sup>[</sup><sup>7]</sup>&nbsp;นอกจากนี้ วุฒิสภาชุดนี้ขอเปิดอภิปรายทั่วไปภายหลังหลังเหตุการณ์ ”[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99 กบฎแมนฮัตตัน]” ด้วยการวิจารณ์รัฐบาลอย่างหนัก ซึ่งถือได้ว่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่เกิดสภาพการณ์ดังกล่าว<sup>[</sup><sup>8]</sup>ต่อมา [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%81%20%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1 จอมพล ป.]ได้เคยกล่าวตอบโต้วุฒิสภาว่าการเปิดอภิปรายของวุฒิสภาที่โจมตีรัฐบาลทำนองว่า วุฒิสภาทำหน้าที่เป็นฝ่ายค้านต่อรัฐบาล<sup>[</sup><sup>9]</sup>
ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้ทำการรัฐประหารล้มรัฐธรรมนูญ 2492 หรือ “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” ลง และได้มีแถลงการณ์ว่า


{{cquote|''คำแถลงการณ์ฉบับที่ 1''
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;3.ปัญหาจากการขาดอำนาจในการควบคุมกองทัพ
''เนื่องจากสถานการณ์ของโลกในปัจจุบันตกอยู่ในความคับขันทั่วไป ภัยแห่งคอมมิวนิสต์ได้ถูกคุกคามเข้ามาอย่างรุนแรง ในคณะรัฐมนตรีปัจจุบันนี้ก็ยังดี ในรัฐสภาก็ดี มีอิทธิพลของคอมมิวนิสต์เข้าแทรกซึมอยู่เป็นมาก แม้ว่ารัฐบาลจะทำความพยายามสักเพียงใด ก็ไม่สามารถจะแก้ปัญหา เรื่องคอมมิวนิสต์ได้ ทั้งไม่สามารถปราบการทุจริตที่เรียกว่า'' ''คอร์รับชั่น ดังที่มุ่งหมายว่าจะปราบนั้นด้วย ความเสื่อมโทรมมีมากขึ้น จนเป็นทีวิตกกันทั่วไปว่า ประเทศชาติจะไม่สามารถดำรงอยู่ได้ในสถานการณ์การเมืองอย่างนี้ จึงคณะทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ ตำรวจ ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 คณะรัฐประหาร พ.ศ. 2490 พร้อมด้วยประชาชนผู้รักชาติ มุ่งความมั่นคงดำรงอยู่แห่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์บรมราชจักรีวงศ์ และระบอบรัฐธรรมนูญ ได้พร้อมกัน เป็นเอกฉันท์ กระทำการเพื่อนำเอารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับลงวันที่ 10 ธันวาคม พุทธศักราช 2475 กลับมาใช้ให้เป็นความรุ่งเรืองสถาพรแก่ประเทศชาติสืบไป…'' |}}<ref>ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 68 ตอนที่ 71 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2494 , หน้า 1</ref>


'''สาเหตุสำคัญของการรัฐประหาร''' คือ การยุติ “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” ผลจากการรัฐประหารครั้งนี้ ทำให้รัฐบาลชุดเดิมสิ้นสุดลง ให้รัฐสภาทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ สมาชิกวุฒิสภาจากการแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง ให้มี “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ขึ้น การประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 ทำให้มีแต่เพียงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งมี 2 ประเภท และให้ “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ดำเนินการกราบทูลพระกรุณาเพื่อตั้ง สมาชิกสภาประเภท 2 ต่อไป จากนั้นให้มีการตั้งรัฐบาลบริหารประเทศต่อไป
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ด้วยเหตุที่ รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งทางการเมือง เช่น ห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 79) ห้ามข้าราชการเป็นรัฐมนตรี (มาตรา 142) ส่งผลให้จอมพล ป.และนายทหารใน “คณะรัฐประหาร” ต้องเผชิญกับทางสองแพร่งในการดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือดำรงตำแหน่งในระบบราชการ เช่น เมื่อลาออกจากข้าราชการมาดำรงตำแหน่งทางการเมืองทำให้ขาดอำนาจในการควบคุมกองทัพ ด้วยรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ทำให้จอมพล ป. ต้องลาออกจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกเพื่อเป็นนายกรัฐมนตรี(2491) แม้[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%99%20%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%93 พลโท ผิน ชุณหะวัณ]จะรับแหน่งนี้แทนก็ตาม แต่การกำหนดดังกล่าวส่งผลกระทบทำให้นายกรัฐมนตรีขาดความสามารถในการควบคุมและสั่งการกองทัพ และส่งผลให้ปัญหาการแข่งขันทางการเมืองในภายกองทัพมีผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลมากยิ่งขึ้น เช่น การแข่งขันระหว่างพลโทผินกับพลโทกาจ กาจสงครามในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก และ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%20%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C พลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์]กับ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AA%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%20%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%95%E0%B9%8C พลตรีสฤษดิ์ ธนะรัชต์] ในระยะเวลาต่อมา


'''“คณะบริหารประเทศชั่วคราว”''' ประกอบด้วย
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;กล่าวโดยสรุปแล้วรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว มีบทบัญญัติเพิ่มพระราชอำนาจให้กับพระมหากษัตริย์ในทางการเมือง ให้ความสำคัญกับตำแหน่งที่มาจากการแต่งตั้งมากขึ้น พร้อมกับลดบทบาททางการเมืองของประชาชนที่แสดงผ่านการเลือกตั้งลง ตลอดจนการจำกัดอำนาจของ “คณะรัฐประหาร” ให้ออกไปจากการเมือง


1.พลเอกผิน ชุณหะวัณ
= การรัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494 =


2.พลโท เดช เดชประดิยุทธ์
ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้ทำการรัฐประหารล้มรัฐธรรมนูญ 2492 ลง อีกทั้งทำให้รัฐบาลชุดเดิมและทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ สมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลง โดย“คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 ทำให้มีรัฐสภา มีฐานะเป็นสภาเดี่ยว ที่มีเพียงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


3.พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์
ทั้งนี้ &nbsp;“คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ประกอบด้วย


4.พลเรือตรี หลวงยุทธศาสตร์โกศล
1.พลเอกผิน ชุณหะวัณ


5.พลเรือตรี หลวงชำนาญอรรถยุทธ
2.พลโท เดช เดชประดิยุทธ์


6.พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน
3.พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์


7.พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี
4.พลเรือตรี หลวงยุทธศาสตร์โกศล


8.พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ
5.พลเรือตรี หลวงชำนาญอรรถยุทธ


9.พลอากาศ หลวงปรุงปรีชากาศ<ref>ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 68 ตอนที่ 71 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2494 , หน้า 1</ref>
6.พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน


==ผลกระทบจากการรัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494==
7.พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี


การยกเลิก“รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” โดย “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” มีขึ้นก่อนพระมหากษัตริย์ทรงเสด็จนิวัตรพระนครไม่กี่วัน การรัฐประหารครั้งนี้เป็นการยุติการครอบงำรัฐสภาโดยวุฒิสภากุล่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม และลดอำนาจของพระมหากษัตริย์ออกจากการเมือง โดยจอมพล ป. ได้นำ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475|รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475]] กลับมาใช้อีกครั้งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ<ref>จอมพล ป. ได้นำรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ประกาศใช้ช่วงวันที่  6 ธันวาคม 2494 -7 มีนาคม 2495  ในระหว่างดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2495</ref>
8.พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ


 
9.พลอากาศ หลวงปรุงปรีชากาศ<sup>[</sup><sup>12]</sup>
โดยเปรียบเทียบแล้วรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 นี้จำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์มากกว่า ฉบับ 2490 , 2492 เช่น การไม่มีคณะองคมนตรีที่พระองค์ทรงสามารถแต่งตั้งได้ตามพระราชอัธยาศัย  การไม่มีวุฒิสภาที่ให้อำนาจพระมหากษัตริย์เลือกและแต่งตั้งด้วยพระองค์เองดังเช่น “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” 2 ฉบับก่อน ดังนั้น อำนาจของพระมหากษัตริย์ที่ลดลงเป็นเหตุให้เกิดความยากในการลงพระนามของพระมหากษัตริย์ส่งผลให้กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร(พระองค์เจ้าธานีนิวัต)ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯขณะนั้น ไม่ยอมลงนามประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของ”คณะบริหารประเทศชั่วคราว”  จวบกระทั่ง<ref>สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528,หน้า16.</ref> เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงนิวัตรประเทศไทยแล้ว พระองค์ได้ทรงลงพระนามประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ กระนั้นก็ดี การรัฐประหารล้ม“รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” ได้สร้างความไม่พอพระทัยให้พระมหากษัตริย์มาก กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรได้บันทึกปฏิกิริยาของพระมหากษัตริย์ต่อเหตุการณ์นี้ ว่า “ ท่านทรงกริ้วมาก ทรงตำหนิจอมพล ป.อย่างแรงหลายคำ ท่านว่าฉันไม่พอใจที่คุณหลวงทำเช่นนี้ ”<ref>สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528 ,หน้า16.</ref> ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า [[รัฐประหาร พ.ศ. 2494|การรัฐประหาร 2494]] ที่เกิดขึ้นสร้างความไม่พอใจให้กับพระมหากษัตริย์และกุล่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมมาก เนื่องจากเป็นการหยุดระบอบการเมืองที่พวกเขาได้เพียรพยายามสร้างขึ้นต้องยุติลง


= ผลกระทบจากการรัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494 =


จากนั้น “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้ประกาศนำ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย .ศ. 2475|รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475]] กลับใช้ใหม่ในทางปฏิบัติ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน นั้นเอง จอมพล ป.ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีชั่วคราวพร้อมคณะรัฐมนตรีชั่วครามจำนวน 17 คน  ต่อมา วันที่ 30 พฤศจิกายน “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้แต่งตั้งสมาชิกสภาประเภทที่สองจำนวน 123 คน จากนั้น วันที่ 1 ธันวาคมมีการเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และได้มีการลงมติเลือกจอมพล ป. เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร , สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา พ.ศ.2475-2501 , พระนคร : บริษัท ชุมนุมช่าง จำกัด , 2503,หน้า 37-39</ref>
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;การยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2492 โดย “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” มีขึ้นก่อนพระมหากษัตริย์ทรงเสด็จนิวัตรพระนครไม่กี่วัน การรัฐประหารครั้งนี้เป็นการยุติบทบาทวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และเทิดให้พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองเช่นเดิม โดยจอมพล ป. ได้นำ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475 รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475] กลับมาใช้อีกครั้งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ<sup>[</sup><sup>13]</sup>


ต่อมา จอมพล ป.และคณะรัฐประหารได้เข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ และทรงเริ่มต่อรองให้มีร่างรัฐธรรมนูญใหม่แทนการยอมใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่จอมพล ป.เสนอมาแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยทรงมีพระราชประสงค์ให้นำแนวคิดในรัฐธรรมนูญ 2492 ที่ถูกล้มเลิกไปมาประกอบการร่างด้วย<ref>“บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 , 17 มกราคม 2495” , หยุด แสงอุทัย , คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495 , (พระนคร : ชูสิน , 2495), หน้า 259.</ref>   และทรงแจ้งพระราชประสงค์ให้ตั้งวุฒิสภาอีกครั้ง โดยทรงให้เหตุผลว่า “การมีแต่สภาเดียวโดยมีสมาชิกประเภทที่ 1 อย่างเดียว [มาจากการเลือกตั้งของประชาชน] ย่อมไม่มีหลักประกันอันเพียงพอ จึ่งควรให้มีสภาที่ 2 [วุฒิสภาที่มาจากการเลือกและแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์]ขึ้น”<ref>“บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495 , หยุด , อ้างแล้ว , หน้า 258.</ref> อย่างไรก็ตาม [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495|รัฐธรรมนูญฉบับ 2495]] ที่ปรากฏต่อมานั้น ซึ่งมีคณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิก 8 คน คือ เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาศรีวิสารวาจา พระยาเทพวิทุร หลวงประกอบนิติสาร นายเพียร ราชธรรมนิเทศ พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายสุวิชช์ พันธ์เศรษฐและนายหยุด แสงอุทัย<ref>รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้วันที่ 8 มีนาคม 2495</ref>   โดยรัฐบาลยอมได้เพียงสาระบางประการใน “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม”เท่านั้นที่ยังคงอยู่ เช่น การให้คงมีคณะองคมนตรีที่ทรงตั้งตามพระราชอัธยาศัยต่อไป แต่ไม่ปรากฏข้อความให้ทรงสามารถเลือกและแต่งตั้งวุฒิสภาด้วยพระองค์เองดังเดิมอีก ดังนั้น [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495|รัฐธรรมนูญฉบับ 2495]] นี้เป็นการจำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ไว้แต่เพียงกิจการส่วนพระองค์เท่านั้น แต่ไม่อนุญาตให้ทรงใช้อำนาจที่สามารถครอบงำรัฐสภาได้อีก ด้วยเหตุนี้ [[กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร]] ทรงบันทึกความรู้สึกที่สะท้อนให้เห็นถึงความไม่พอใจของกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมต่อการจำกัดอำนาจกษัตริย์อีก<ref>สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528,หน้า 37.</ref>
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;โดยเปรียบเทียบแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับ 2475 นี้จำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์มากกว่า ฉบับ 2490 , 2492 เช่น การไม่มีคณะองคมนตรีที่พระองค์ทรงสามารถแต่งตั้งได้ตามพระราชอัธยาศัย การไม่มีวุฒิสภาที่ให้อำนาจพระมหากษัตริย์เลือกและแต่งตั้งด้วยพระองค์เองดังเช่น “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” 2 ฉบับก่อน ดังนั้น อำนาจของพระมหากษัตริย์ที่ลดลงเป็นเหตุให้เกิดความยากในการลงพระนามของพระมหากษัตริย์ส่งผลให้กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร(พระองค์เจ้าธานีนิวัต)ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯขณะนั้น ไม่ยอมลงนามประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของ”คณะบริหารประเทศชั่วคราว” จวบกระทั่ง<sup>[</sup><sup>14]</sup>&nbsp;เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงนิวัตรประเทศไทยแล้ว พระองค์ได้ทรงลงพระนามประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ กระนั้นก็ดี การรัฐประหารล้มรัฐธรรมนูญ 2492 สร้างความไม่พอพระทัยให้พระมหากษัตริย์มาก ทั้งนี้ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรได้บันทึกไว้ดังนี้ ว่า “ ท่านทรงกริ้วมาก ทรงตำหนิจอมพล ป.อย่างแรงหลายคำ ท่านว่าฉันไม่พอใจที่คุณหลวงทำเช่นนี้ ”<sup>[</sup><sup>15]</sup>&nbsp;ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า การรัฐประหาร 2494 ที่เกิดขึ้นสร้างความไม่พอใจให้กับพระมหากษัตริย์และกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมมาก เนื่องจากเป็นการหยุดระบอบการเมืองที่พวกเขาได้เพียรพยายามสร้างขึ้นต้องยุติลง


==อ้างอิง==
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ทั้งนี้ “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้ประกาศนำ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475 รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475] กลับใช้ใหม่ในทางปฏิบัติ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน นั้นเอง จอมพล ป.ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีชั่วคราวพร้อมคณะรัฐมนตรีชั่วครามจำนวน 17 คน ต่อมา วันที่ 30 พฤศจิกายน “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้แต่งตั้งสมาชิกสภาประเภทที่สองจำนวน 123 คน จากนั้น วันที่ 1 ธันวาคมมีการเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และได้มีการลงมติเลือกจอมพล ป. เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง<sup>[</sup><sup>16]</sup>
<references/>


==หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ==
​​​​​​​&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;&nbsp;ต่อมา จอมพล ป.และคณะรัฐประหารได้เข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ และทรงเจรจาต่อรองให้มีร่างรัฐธรรมนูญใหม่แทนการยอมใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่จอมพล ป.เสนอมาแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยทรงมีพระราชประสงค์ให้นำแนวคิดในรัฐธรรมนูญ 2492 ที่ถูกล้มเลิกไปมาประกอบการร่างด้วย<sup>[</sup><sup>17]</sup>&nbsp;และทรงแจ้งพระราชประสงค์ให้ตั้งวุฒิสภาอีกครั้ง โดยทรงให้เหตุผลว่า “การมีแต่สภาเดียวโดยมีสมาชิกประเภทที่ 1 อย่างเดียว [มาจากการเลือกตั้งของประชาชน] ย่อมไม่มีหลักประกันอันเพียงพอ จึ่งควรให้มีสภาที่ 2 [วุฒิสภาที่มาจากการเลือกและแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์]ขึ้น”<sup>[</sup><sup>18]</sup>&nbsp;อย่างไรก็ตาม [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475%20แก้ไขเพิ่มเติม%20พ.ศ.%202495 รัฐธรรมนูญฉบับ 2495] ที่ปรากฏต่อมาในภายหลังนั้น มีคณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิก 8 คน คือ เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาศรีวิสารวาจา พระยาเทพวิทุร หลวงประกอบนิติสาร นายเพียร ราชธรรมนิเทศ พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายสุวิชช์ พันธ์เศรษฐและนายหยุด แสงอุทัย<sup>[</sup><sup>19]</sup>&nbsp;โดยรัฐบาลยินยอมเพียงสาระบางประการใน รัฐธรรมนูญ 2492เท่านั้นที่ยังคงอยู่ต่อไป เช่น การให้คงมีคณะองคมนตรีที่ทรงตั้งตามพระราชอัธยาศัยต่อไป แต่ไม่ปรากฏข้อความให้ทรงสามารถเลือกและแต่งตั้งวุฒิสภาด้วยพระองค์เองดังเดิมอีก ดังนั้น [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475%20แก้ไขเพิ่มเติม%20พ.ศ.%202495 รัฐธรรมนูญฉบับ 2495] นี้เป็นการจำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ไว้แต่เพียงกิจการส่วนพระองค์เท่านั้น แต่ไม่อนุญาตให้ทรงใช้พระราชอำนาจทางการเมืองอีก ด้วยเหตุนี้ [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%92%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3 กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร] ทรงบันทึกความรู้สึกที่สะท้อนให้เห็นถึงความไม่พอใจของกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมต่อการจำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์ของรัฐบาลในครั้งนี้ <sup>[</sup><sup>20]</sup>


ณัฐพล ใจจริง (2551) “ คว่ำปฏิวัติ-โค่นคณะราษฎร : การก่อตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’ ” , '''ฟ้าเดียวกัน''' ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม หน้า104-146.
= อ้างอิง =


มุกดา เอนกลาภากิจ , (2542) “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” '''วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต''' จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;1. ↑ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 66 ตอนที่ 17 วันที่ 23 มีนาคม พุทธศักราช 2492 หรือ เวปไซด์ของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา www.krisdika.go.th<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;2. ↑ มุกดา เอนกลาภากิจ “รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2542 , หน้า 78-79<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;3. ↑ มุกดา เอนกลาภากิจ “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2542) , หน้า 219, 221.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;4. ↑ ดิเรก ชัยนาม ,กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งพิสดาร : คำสอนชั้นปริญญาโท พุทธศักราช 2491-2492. (พระนคร: มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง,2493),หน้า 31-32. และ ไพโรจน์ ชัยนาม , คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ (โดยสังเขป) เล่ม 2 กฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ตอนที่ 1 ,(พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ ,2495), หน้า 131.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;5. ↑ คำอภิปรายเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2492 ของ นายชื่น ระวีวรรณ และนายเลียง ไชยกาล ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯในขณะนั้น ( ธงชัย วินิจจะกูล , ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม , ( กรุงเทพฯ : มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา , 2548 ), หน้า 21.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;6. ↑ พลเรือตรีหลวงสังวรยุทธกิจ ได้บันทึกถึงเสียงตำหนิจากประชาชนต่อวุฒิสภาชุดนี้ว่า เป็น “สภากรุ๋งกริ๋ง” “สภาคนแก่” “สภาคณะเจ้า” โปรดดู พลเรือตรีสังวรยุทธกิจ , “เกิดมาแล้วต้องเป็นไปตามกรรม คือ กฎแห่งธรรมชาติ” อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณ์ยุทธกิจ (ณ เมรุ วัด ธาตุทอง วันที่ 29 ธันวาคม 2516), กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์, หน้า 161<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;7. ↑ กริช สืบสนธิ์ , “บทบาทและพฤติกรรมของวุฒิสภาไทยสมัยต่างๆ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2515, หน้า 140-151.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;8. ↑ สุชิน ตันติกุล , “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2517,หน้า 157.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;9. ↑ สุชิน ตันติกุล , “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2517,หน้า 157.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;12. ↑ ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 68 ตอนที่ 71 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2494 , หน้า 1<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;13. ↑ จอมพล ป. ได้นำรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ประกาศใช้ช่วงวันที่ 6 ธันวาคม 2494 -7 มีนาคม 2495 ในระหว่างดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2495<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;14. ↑ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528,หน้า16.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;15. ↑ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528 ,หน้า16.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;16. ↑ สำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร , สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา พ.ศ.2475-2501 , พระนคร : บริษัท ชุมนุมช่าง จำกัด , 2503,หน้า 37-39<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;17. ↑ “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 , 17 มกราคม 2495” , หยุด แสงอุทัย , คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495 , (พระนคร : ชูสิน , 2495), หน้า 259.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;18. ↑ “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495 ”, หยุด , อ้างแล้ว , หน้า 258.<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;19. ↑ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้วันที่ 8 มีนาคม 2495<br/> &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;20. ↑ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528,หน้า 37.


เสน่ห์ จามริก (2549) '''การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ''' , กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
= หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ =


นรนิติ เศรษฐบุตร (2550) '''รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย''' , กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มุกดา เอนกลาภากิจ , (2542) “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง&nbsp;: ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


==บรรณานุกรม==
เสน่ห์ จามริก (2549) การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ , กรุงเทพฯ&nbsp;: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.


กริช สืบสนธิ์ (2515) “บทบาทและพฤติกรรมของวุฒิสภาไทยสมัยต่างๆ”, '''วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต''' จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
นรนิติ เศรษฐบุตร (2550) รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย , กรุงเทพฯ&nbsp;: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


ธงชัย วินิจจะกูล (2548 ) '''ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม''' , กรุงเทพฯ : มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา
= บรรณานุกรม =


ภูมิพลอดุลยเดช , พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ,(2495) “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495” , หยุด แสงอุทัย , '''คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495'''.พระนคร : โรงพิมพ์ชูสิน.
กริช สืบสนธิ์ (2515) “บทบาทและพฤติกรรมของวุฒิสภาไทยสมัยต่างๆ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,


ณัฐพล ใจจริง (2551) “ คว่ำปฏิวัติ-โค่นคณะราษฎร : การก่อตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’ ” , '''ฟ้าเดียวกัน''' ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม หน้า104-146.
ธงชัย วินิจจะกูล (2548 ) ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม , กรุงเทพฯ&nbsp;: มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา


มุกดา เอนกลาภากิจ , (2542) “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” '''วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต''' จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภูมิพลอดุลยเดช , พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ,(2495) “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495” , หยุด แสงอุทัย , คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495.พระนคร&nbsp;: โรงพิมพ์ชูสิน.


สุชิน ตันติกุล (2517) “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490 ”, '''วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต''' จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฐพล ใจจริง (2551) “ คว่ำปฏิวัติ-โค่นคณะราษฎร&nbsp;: การก่อตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’ ” , ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม หน้า104-146.


สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (2528) '''เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของส.ศิวรักษ์''' . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป.
สุชิน ตันติกุล (2517) “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ..2490 ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2503) '''สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา พ..2475-2501''' , พระนคร : บริษัท ชุมนุมช่าง จำกัด .
สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (2528) เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ&nbsp;: มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป.


หยุด แสงอุทัย (2495) '''คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-95''' พระนคร : โรงพิมพ์ชูสิน.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2503) สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา พ.ศ.2475-2501 , พระนคร&nbsp;: บริษัท ชุมนุมช่าง จำกัด .


อนันต์ พิบูลสงคราม , '''พลตรี (2540) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2 เล่ม'''  . กรุงเทพฯ : ตระกูลพิบูลสงคราม.
หยุด แสงอุทัย (2495) คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-95 พระนคร&nbsp;: โรงพิมพ์ชูสิน.


'''อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณ์ยุทธกิจ''' (ณ เมรุ วัด ธาตุทอง วันที่ 29 ธันวาคม 2516),กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์.
อนันต์ พิบูลสงคราม , พลตรี (2540) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2 เล่ม . กรุงเทพฯ&nbsp;: ตระกูลพิบูลสงคราม.


Handley , Paul (2008 ) “Princes , Politicians , Bureaucrats , Generals : The Evolution of the Privy Council under  the  Constitutional Monarchy” , A''' paper for 10th International Conference on Thai Studies''' , Thammasat University ,Bangkok , January 9-11
อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณ์ยุทธกิจ (ณ เมรุ วัด ธาตุทอง วันที่ 29 ธันวาคม 2516),กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์.


Kobkua Suwannathat-Pian,(1995) '''Thailand’s Durable Premier : Phibun through Three Decades 1932 – 1957'''. Kuala Lumpur : Oxford University Press .
Handley , Paul (2008 ) “Princes , Politicians , Bureaucrats , Generals&nbsp;: The Evolution of the Privy Council under the Constitutional Monarchy” , A paper for 10th International Conference on Thai Studies , Thammasat University ,Bangkok , January 9-11


==ดูเพิ่มเติม==
Kobkua Suwannathat-Pian,(1995) Thailand’s Durable Premier&nbsp;: Phibun through Three Decades 1932 – 1957. Kuala Lumpur&nbsp;: Oxford University Press .


*[[รัฐประหาร พ.ศ. 2490]]
== ดูเพิ่มเติม ==


*[[รัฐประหาร พ.ศ. 2500]]
*[[รัฐประหาร_พ.ศ._2490|รัฐประหาร พ.ศ. 2490]]  


*[[รัฐประหาร_พ.ศ._2500|รัฐประหาร พ.ศ. 2500]]


[[category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]]
[[Category:เหตุการณ์สำคัญทางการเมืองไทย สมัย พ.ศ. 2475-2500]] [[Category:ณัฐพล ใจจริง]]
[[หมวดหมู่:ณัฐพล ใจจริง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:27, 3 ธันวาคม 2563

ผู้เรียบเรียง ณัฐพล ใจจริง


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


รัฐประหาร พ.ศ. 2494

            [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3 การรัฐประหาร] 29 พฤศจิกายน 2494 ของคณะทหารที่เรียกตนเองว่า “[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7 คณะบริหารประเทศชั่วคราว]” เป็นผลต่อเนื่องมาจาก ปัญหาทางการเมืองจากความร่วมมือระหว่าง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B9%8C-%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1 กลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม]และ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C พรรคประชาธิปัตย์]ได้ร่าง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202492 รัฐธรรมนูญ 2492] หรือ “[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1 รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]” ที่กำหนดโครงสร้างทางการเมืองที่ให้พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจในการควบคุมทางการเมืองผ่าน[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A7%E0%B8%B8%E0%B8%92%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2 วุฒิสภา]ที่มาจากการแต่งตั้ง อีกทั้ง รัฐธรรมนูญฉบับนี้ การกีดกัน “คณะรัฐประหาร” ออกไปจากการเมืองนั้น ทำให้รัฐบาลของ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%81%20%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1 จอมพล ป. พิบูลสงคราม]บริหารราชการแผ่นดินด้วยความยากลำบาก ด้วยเหตุนี้ การรัฐประหาร 2494 จึงเป็นการยุติอำนาจกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมออกไปจากการเมืองไทย ซึ่งเป็นสะท้อนให้เห็นถึงการต่อสู้ระหว่างคณะทหารที่มีจอมพล ป.-ผู้นำที่มาจาก[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 คณะราษฎร]กับกลุ่มอำนาจเก่าที่ยังคงดำรงอยู่ภายหลัง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%202475 การปฏิวัติ 2475]

สภาพปัญหาที่ก่อให้เกิดการรัฐประหาร

            ภายหลังการขับไล่รัฐบาลนายควงลงจากตำแหน่ง ในเดือนเมษายน 2491 จอมพล ป.ได้กลับขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรีครั้งที่สอง ทำให้เกิดการเผชิญหน้ากันของสองขั้วอำนาจระหว่างกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมกับจอมพลป. นายกรัฐมนตรีผู้มาจาก[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%84%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%8E%E0%B8%A3 คณะราษฎร] และผู้นำ “คณะรัฐประหาร”ภายใต้มรดกของระบอบการเมืองที่กลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C พรรคประชาธิปัตย์]ได้วางไว้ในความสัมพันธ์ทางการเมืองภายใต้[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202492 รัฐธรรมนูญ 2492] อันสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สมดุลระหว่างอำนาจของพระมหากษัตริย์กับรัฐบาลและรัฐสภา

​​​​​​​            1.ปัญหาจากรัฐธรรมนูญ 2492

​​​​​​​            การพยายามสถาปนาโครงสร้างและกำหนดกติกาการเมืองโดยกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมที่ปรากฎในรัฐธรรมนูญ 2492[1] เกิดขึ้นโดยกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและพรรคประชาธิปัตย์ริเริ่มให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ทดแทนรัฐธรรมนูญ 2490 โดยคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ผู้ร่างส่วนใหญ่เป็นขุนนางในระบอบเก่าและนักกฎหมายอนุรักษ์-กษัตริย์นิยม คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญนี้ มีจำนวน 9 คน คือ [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A8 เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2 พระยาศรีวิสารวาจา] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%94%E0%B8%B5 พระยาเทพวิทุรพหุลศรุตาบดี] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%8C พระยาอรรถการียนิพนธ์] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3 หลวงประกอบนิติสาร] [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A1%E0%B8%8A หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช] นาย[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%8A%E0%B9%8C%20%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%90 สุวิชช์ พันธเศรษฐ] และนาย[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%20%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8 เพียร ราชธรรมนิเทศ]

​​​​​​​            ทั้งนี้ สาระสำคัญใน[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202492 รัฐธรรมนูญ 2492] มีการบัญญัติกติกาและระบอบการเมืองที่อำนวยประโยชน์ทางการเมืองให้กับกลุ่มอนุรักษ์นิยม-กษัตริย์นิยม รวมทั้ง การเพิ่มพระราชอำนาจให้พระมหากษัตริย์ พร้อมการกีดกัน “คณะรัฐประหาร” ให้ออกไปจาการเมือง ตลอดจนมีการบัญญัติชื่อระบอบการเมืองของไทยว่า “ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข”(มาตรา 2) ขึ้นเป็นครั้งแรก อีกทั้ง คณะผู้ร่างฯมีวัตถุประสงค์ถวายอำนาจให้เป็น“ส่วนพระองค์โดยแท้”จึงปราฏข้อความในหลายมมาตราที่เพิ่มพระราชอำนาจให้พระมหากษัตริย์ เช่น กำหนดให้การกระทำของพระมหากษัตริย์มีอิสระตามพระราชอัธยาศัย ดังการบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้ง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 ประธานองคมนตรี]และ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 องคมนตรี]ตามพระราชอัธยาศัยและให้การพ้นตำแหน่งไปตามพระราชอัธยาศัย (มาตรา13,14)[2] ให้ทรงมีอำนาจในการทรงเลือกและแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาจำนวน 100 คน โดยมีเพียงประธานองคมนตรีเป็นผู้สนองพระบรมราชโองการ (มาตรา 82 )[3] อย่างไรก็ตาม ด้วยเหตุที่ คณะผู้ร่างฯ ต้องการให้วุฒิสภาเป็นตัวแทนพระมหากษัตริย์จึงบัญญัติให้พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งอำนาจในการแต่งตั้ง ทำอาจทำให้เกิดข้อถกเถียงถึงอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตย ภายใต้หลักการ The King Can Do No Wrong หรือ การกระทำของพระมหากษัตริย์ต้องมีผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการ เนื่องจาก ที่มาของประธานองคมนตรีมิได้รับผิดชอบต่อรัฐสภา แต่กลับมามีอำนาจลงนามสนองพระราชโองการในการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาอันขัดแย้งต่อหลักในการปกครอง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2 ระบอบประชาธิปไตย] เป็นต้น[4]

​​​​​​​            นอกจากนี้ ในบทเฉพาะกาลรัฐธรรมนูญ 2492 นี้อนุญาตให้ วุฒิสภาชุดที่พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตาม[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20(ฉบับชั่วคราว)%20พ.ศ.%202490 รัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า(2490)] ให้สามารถดำรงตำแหน่งต่อมาได้ตามรัฐธรรมนูญใหม่(2492) ทำให้วุฒิสภาชุดเดิมสามารถควบคุมทิศทางการใช้อำนาจของรัฐสภาต่อไปได้ กล่าวโดยสรุป นับแต่รัฐธรรมนูญ ฉบับ 2490 และ 2492 นั้นมีการบัญญัติมาตราที่ให้อำนาจพระมหากษัตริย์มีพระราชอำนาจหลายประการ เช่น การแต่งตั้ง[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 อภิรัฐมนตรี] ซึ่งต่อมากลายเป็น[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5 องคมนตรี] อันมาจากการเลือกและแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์ตามพระราชอัธยาศัยอย่างอิสระโดยปราศจากการถ่วงดุลจากสถาบันการเมืองอื่น เช่น รัฐบาล และรัฐสภา ตามหลัก The King Can Do No Wrong ทั้งนี้ จึงอาจกล่าวได้ว่า รัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับเป็น “[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%A1 รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม]” เหมือนกัน ต่างแต่เพียงรัฐธรรมนูญฉบับหลัง (2492) จัดรูปแบบของการใช้อำนาจของพระมหากษัตริย์ให้ลงตัวมากขึ้นเท่านั้น

​​​​​​​            ด้วยสาระในรัฐธรรมนูญบัญญัติเพิ่มพระราชอำนาจให้กับพระมหากษัตริย์ในทางการเมืองนี้ สมาชิกสภาผู้แทนฯบางท่านได้อภิปรายวิจารณ์ในการประชุมรัฐสภาเพื่อพิจารณารับรัฐธรรมนูญครั้งนั้นว่า “ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ไม่ใช่ประชาธิปไตยอันแท้จริง แต่มีลัทธิการปกครองแปลกประหลาดแทรกซ่อนอยู่ ลัทธินี้ คือ ลัทธินิยมกษัตริย์” และ “ ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เขียนไว้โดยปรารถนาจะเหนี่ยวรั้งพระมหากษัตริย์ เข้ามาพัวพันกับการเมืองมากเกินไป โดยการถวายอำนาจมากกว่าเดิม … ยังงี้ไม่ใช่รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย มันเป็นรัฐธรรมนูญพระมหากษัตริย์อย่างชัดๆทีเดียว ”[5]

​​​​​​​            นอกจากนี้ คณะผู้ร่างฯรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 ได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมและพรรคประชาธิปัตย์ในการพยายามจำกัดอำนาจของ “คณะรัฐประหาร” ที่ได้เคยร่วมมือในการรัฐประหาร 2490 ออกไปจากการเมือง ด้วยการกำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญว่า ห้ามข้าราชการประจำเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร(มาตรา79 ) และ ข้าราชการประจำเป็นรัฐมนตรีมิได้จะเป็น(มาตรา 142) ส่งผลให้นายทหารใน “คณะรัฐประหาร” ถูกกีดกันออกไปจากการเมือง

​​​​​​​            2.ปัญหาจากที่มาและบทบาทของวุฒิสภา

​​​​​​​            ภาพรวมของรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มีแนวโน้สร้างบรรยากาศการเมืองแบบอนุรักษ์นิยม เช่น ให้ความสำคัญกับตำแหน่งทางการเมืองที่ถูกแต่งตั้งด้วยพระราชอำนาจมากกว่าตำแหน่งที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เช่น กำหนดให้ประธานวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งเป็นประธานรัฐสภา ซึ่งมีอำนาจเหนือกว่าประธานสภาผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ด้วยการกำหนดให้ประธานสภาผู้แทนฯเป็นเพียงเป็นรองประธานรัฐสภาเท่านั้น(มาตรา 74) ทั้งนี้ ที่มาวุฒิสภานั้นรัฐธรรมนูญกำหนดให้พระมหากษัตริย์ทรงเลือกและแต่งตั้ง จำนวน 100 คน และให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภา(มาตรา 82) การกำหนดให้วุฒิสภาจากการแต่งตั้งมีอำนาจในการตรวจสอบรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งได้เหมือนกับสมาชิกสภาผู้แทนที่มาจาการเลือกตั้งของประชาชน (มาตรา 128) การกำหนดให้วุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งสามารถเปิดอภิปรายทั่วไปแบบไม่ลงมติได้(มาตรา 130) ดังนั้น คำถามสำคัญที่เกิดขึ้นตามหลักการการตรวจสอบและถ่วงดุลอำนาจ คือ เมื่อวุฒิสภาที่มาจาการแต่งตั้งมีอำนาจตรวจสอบรัฐบาลได้แล้ว ใครหรือองค์กรใดจะตรวจสอบวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งนั้น

​​​​​​​            ในขณะที่ในรัฐธรรมนูญฉบับ 2492 มีบทบัญญัติที่มีแนวโน้มจำกัดอำนาจของประชาชน เช่น รัฐธรรมนูญฉบับนี้ กำหนดให้ที่มาของสมาชิกวุฒิสภามาจากการแต่งตั้งอันแตกต่างไปจากที่มาของวุฒิสภาตามรัฐธรรมนูญฉบับ 2489 อีกทั้ง รัฐธรรมนูญ 2492 ยังกำหนดให้ประชาชนที่ต้องการผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปี (มาตรา 92) ซึ่งหมายความว่าคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ที่ต้องการเข้าดำรงตำแหน่งทางการเมืองไม่สามารถเป็นไปได้ตามรัฐธรรมนูญนี้

​​​​​​​            ทั้งนี้ บทบาทของสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งตามบทเฉพาะกาลของรัฐธรรมนูญ 2492 เปิดโอกาสให้สมาชิกวุฒิสภาจากแต่งตั้งตามรัฐธรรมนูญ 2490 ให้สามารถดำรงตำแหน่งต่อเนื่องได้ โดยสมาชิกวุฒิสภาชุดดังกล่าวสร้างอุปสรรคในการบริหารของรัฐบาลจอมพล ป. มาก[6]เช่น การตั้งกระทู้ถามรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง และการอภิปรายคัดค้าน ยับยั้งการออกกฎหมายถึง 31 ฉบับจาก 57 ฉบับ[7] นอกจากนี้ วุฒิสภาชุดนี้ขอเปิดอภิปรายทั่วไปภายหลังหลังเหตุการณ์ ”[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%8E%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%AE%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%99 กบฎแมนฮัตตัน]” ด้วยการวิจารณ์รัฐบาลอย่างหนัก ซึ่งถือได้ว่าเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่เกิดสภาพการณ์ดังกล่าว[8]ต่อมา [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%81%20%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B9%E0%B8%A5%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1 จอมพล ป.]ได้เคยกล่าวตอบโต้วุฒิสภาว่าการเปิดอภิปรายของวุฒิสภาที่โจมตีรัฐบาลทำนองว่า วุฒิสภาทำหน้าที่เป็นฝ่ายค้านต่อรัฐบาล[9]

​​​​​​​            3.ปัญหาจากการขาดอำนาจในการควบคุมกองทัพ

​​​​​​​            ด้วยเหตุที่ รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งทางการเมือง เช่น ห้ามข้าราชการดำรงตำแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 79) ห้ามข้าราชการเป็นรัฐมนตรี (มาตรา 142) ส่งผลให้จอมพล ป.และนายทหารใน “คณะรัฐประหาร” ต้องเผชิญกับทางสองแพร่งในการดำรงตำแหน่งทางการเมือง หรือดำรงตำแหน่งในระบบราชการ เช่น เมื่อลาออกจากข้าราชการมาดำรงตำแหน่งทางการเมืองทำให้ขาดอำนาจในการควบคุมกองทัพ ด้วยรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ทำให้จอมพล ป. ต้องลาออกจากตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบกเพื่อเป็นนายกรัฐมนตรี(2491) แม้[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%99%20%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%93%E0%B8%AB%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%93 พลโท ผิน ชุณหะวัณ]จะรับแหน่งนี้แทนก็ตาม แต่การกำหนดดังกล่าวส่งผลกระทบทำให้นายกรัฐมนตรีขาดความสามารถในการควบคุมและสั่งการกองทัพ และส่งผลให้ปัญหาการแข่งขันทางการเมืองในภายกองทัพมีผลกระทบต่อเสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลมากยิ่งขึ้น เช่น การแข่งขันระหว่างพลโทผินกับพลโทกาจ กาจสงครามในตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก และ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%B2%20%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B9%8C พลตำรวจตรีเผ่า ศรียานนท์]กับ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%AA%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%20%E0%B8%98%E0%B8%99%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%8A%E0%B8%95%E0%B9%8C พลตรีสฤษดิ์ ธนะรัชต์] ในระยะเวลาต่อมา

​​​​​​​            กล่าวโดยสรุปแล้วรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว มีบทบัญญัติเพิ่มพระราชอำนาจให้กับพระมหากษัตริย์ในทางการเมือง ให้ความสำคัญกับตำแหน่งที่มาจากการแต่งตั้งมากขึ้น พร้อมกับลดบทบาททางการเมืองของประชาชนที่แสดงผ่านการเลือกตั้งลง ตลอดจนการจำกัดอำนาจของ “คณะรัฐประหาร” ให้ออกไปจากการเมือง

การรัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494

ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2494 “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้ทำการรัฐประหารล้มรัฐธรรมนูญ 2492 ลง อีกทั้งทำให้รัฐบาลชุดเดิมและทั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ สมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลง โดย“คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475 ทำให้มีรัฐสภา มีฐานะเป็นสภาเดี่ยว ที่มีเพียงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ทั้งนี้  “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ประกอบด้วย

1.พลเอกผิน ชุณหะวัณ

2.พลโท เดช เดชประดิยุทธ์

3.พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์

4.พลเรือตรี หลวงยุทธศาสตร์โกศล

5.พลเรือตรี หลวงชำนาญอรรถยุทธ

6.พลเรือตรี สุนทร สุนทรนาวิน

7.พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี

8.พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ

9.พลอากาศ หลวงปรุงปรีชากาศ[12]

ผลกระทบจากการรัฐประหาร 29 พฤศจิกายน 2494

​​​​​​​            การยกเลิกรัฐธรรมนูญ 2492 โดย “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” มีขึ้นก่อนพระมหากษัตริย์ทรงเสด็จนิวัตรพระนครไม่กี่วัน การรัฐประหารครั้งนี้เป็นการยุติบทบาทวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง และเทิดให้พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองเช่นเดิม โดยจอมพล ป. ได้นำ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475 รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475] กลับมาใช้อีกครั้งเป็นช่วงเวลาสั้นๆ[13]

​​​​​​​            โดยเปรียบเทียบแล้ว รัฐธรรมนูญฉบับ 2475 นี้จำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์มากกว่า ฉบับ 2490 , 2492 เช่น การไม่มีคณะองคมนตรีที่พระองค์ทรงสามารถแต่งตั้งได้ตามพระราชอัธยาศัย การไม่มีวุฒิสภาที่ให้อำนาจพระมหากษัตริย์เลือกและแต่งตั้งด้วยพระองค์เองดังเช่น “รัฐธรรมนูญกษัตริย์นิยม” 2 ฉบับก่อน ดังนั้น อำนาจของพระมหากษัตริย์ที่ลดลงเป็นเหตุให้เกิดความยากในการลงพระนามของพระมหากษัตริย์ส่งผลให้กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร(พระองค์เจ้าธานีนิวัต)ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯขณะนั้น ไม่ยอมลงนามประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของ”คณะบริหารประเทศชั่วคราว” จวบกระทั่ง[14] เมื่อพระมหากษัตริย์ทรงนิวัตรประเทศไทยแล้ว พระองค์ได้ทรงลงพระนามประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ กระนั้นก็ดี การรัฐประหารล้มรัฐธรรมนูญ 2492 สร้างความไม่พอพระทัยให้พระมหากษัตริย์มาก ทั้งนี้ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากรได้บันทึกไว้ดังนี้ ว่า “ ท่านทรงกริ้วมาก ทรงตำหนิจอมพล ป.อย่างแรงหลายคำ ท่านว่าฉันไม่พอใจที่คุณหลวงทำเช่นนี้ ”[15] ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า การรัฐประหาร 2494 ที่เกิดขึ้นสร้างความไม่พอใจให้กับพระมหากษัตริย์และกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมมาก เนื่องจากเป็นการหยุดระบอบการเมืองที่พวกเขาได้เพียรพยายามสร้างขึ้นต้องยุติลง

​​​​​​​            ทั้งนี้ “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้ประกาศนำ[file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475 รัฐธรรมนูญฉบับ 10 ธันวาคม 2475] กลับใช้ใหม่ในทางปฏิบัติ ในวันที่ 29 พฤศจิกายน นั้นเอง จอมพล ป.ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีชั่วคราวพร้อมคณะรัฐมนตรีชั่วครามจำนวน 17 คน ต่อมา วันที่ 30 พฤศจิกายน “คณะบริหารประเทศชั่วคราว” ได้แต่งตั้งสมาชิกสภาประเภทที่สองจำนวน 123 คน จากนั้น วันที่ 1 ธันวาคมมีการเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎร และได้มีการลงมติเลือกจอมพล ป. เป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง[16]

​​​​​​​            ต่อมา จอมพล ป.และคณะรัฐประหารได้เข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ และทรงเจรจาต่อรองให้มีร่างรัฐธรรมนูญใหม่แทนการยอมใช้รัฐธรรมนูญฉบับที่จอมพล ป.เสนอมาแต่เพียงฝ่ายเดียว โดยทรงมีพระราชประสงค์ให้นำแนวคิดในรัฐธรรมนูญ 2492 ที่ถูกล้มเลิกไปมาประกอบการร่างด้วย[17] และทรงแจ้งพระราชประสงค์ให้ตั้งวุฒิสภาอีกครั้ง โดยทรงให้เหตุผลว่า “การมีแต่สภาเดียวโดยมีสมาชิกประเภทที่ 1 อย่างเดียว [มาจากการเลือกตั้งของประชาชน] ย่อมไม่มีหลักประกันอันเพียงพอ จึ่งควรให้มีสภาที่ 2 [วุฒิสภาที่มาจากการเลือกและแต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์]ขึ้น”[18] อย่างไรก็ตาม [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475%20แก้ไขเพิ่มเติม%20พ.ศ.%202495 รัฐธรรมนูญฉบับ 2495] ที่ปรากฏต่อมาในภายหลังนั้น มีคณะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ประกอบด้วยสมาชิก 8 คน คือ เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ พระยาศรีวิสารวาจา พระยาเทพวิทุร หลวงประกอบนิติสาร นายเพียร ราชธรรมนิเทศ พระยาอรรถการีย์นิพนธ์ หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายสุวิชช์ พันธ์เศรษฐและนายหยุด แสงอุทัย[19] โดยรัฐบาลยินยอมเพียงสาระบางประการใน รัฐธรรมนูญ 2492เท่านั้นที่ยังคงอยู่ต่อไป เช่น การให้คงมีคณะองคมนตรีที่ทรงตั้งตามพระราชอัธยาศัยต่อไป แต่ไม่ปรากฏข้อความให้ทรงสามารถเลือกและแต่งตั้งวุฒิสภาด้วยพระองค์เองดังเดิมอีก ดังนั้น [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย%20พ.ศ.%202475%20แก้ไขเพิ่มเติม%20พ.ศ.%202495 รัฐธรรมนูญฉบับ 2495] นี้เป็นการจำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ไว้แต่เพียงกิจการส่วนพระองค์เท่านั้น แต่ไม่อนุญาตให้ทรงใช้พระราชอำนาจทางการเมืองอีก ด้วยเหตุนี้ [file:///C:/Users/teeraphan/Downloads/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A0%E0%B8%9E%E0%B8%A4%E0%B8%92%E0%B8%B4%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3 กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร] ทรงบันทึกความรู้สึกที่สะท้อนให้เห็นถึงความไม่พอใจของกลุ่มอนุรักษ์-กษัตริย์นิยมต่อการจำกัดอำนาจของพระมหากษัตริย์ของรัฐบาลในครั้งนี้ [20]

อ้างอิง

     1. ↑ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 66 ตอนที่ 17 วันที่ 23 มีนาคม พุทธศักราช 2492 หรือ เวปไซด์ของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา www.krisdika.go.th
     2. ↑ มุกดา เอนกลาภากิจ “รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2542 , หน้า 78-79
     3. ↑ มุกดา เอนกลาภากิจ “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2542) , หน้า 219, 221.
     4. ↑ ดิเรก ชัยนาม ,กฎหมายรัฐธรรมนูญและการเลือกตั้งพิสดาร : คำสอนชั้นปริญญาโท พุทธศักราช 2491-2492. (พระนคร: มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง,2493),หน้า 31-32. และ ไพโรจน์ ชัยนาม , คำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญเปรียบเทียบ (โดยสังเขป) เล่ม 2 กฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศไทย ตอนที่ 1 ,(พระนคร : โรงพิมพ์อักษรนิติ ,2495), หน้า 131.
     5. ↑ คำอภิปรายเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2492 ของ นายชื่น ระวีวรรณ และนายเลียง ไชยกาล ซึ่งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนฯในขณะนั้น ( ธงชัย วินิจจะกูล , ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม , ( กรุงเทพฯ : มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา , 2548 ), หน้า 21.
     6. ↑ พลเรือตรีหลวงสังวรยุทธกิจ ได้บันทึกถึงเสียงตำหนิจากประชาชนต่อวุฒิสภาชุดนี้ว่า เป็น “สภากรุ๋งกริ๋ง” “สภาคนแก่” “สภาคณะเจ้า” โปรดดู พลเรือตรีสังวรยุทธกิจ , “เกิดมาแล้วต้องเป็นไปตามกรรม คือ กฎแห่งธรรมชาติ” อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณ์ยุทธกิจ (ณ เมรุ วัด ธาตุทอง วันที่ 29 ธันวาคม 2516), กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์, หน้า 161
     7. ↑ กริช สืบสนธิ์ , “บทบาทและพฤติกรรมของวุฒิสภาไทยสมัยต่างๆ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2515, หน้า 140-151.
     8. ↑ สุชิน ตันติกุล , “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2517,หน้า 157.
     9. ↑ สุชิน ตันติกุล , “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2517,หน้า 157.
     12. ↑ ราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ เล่มที่ 68 ตอนที่ 71 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2494 , หน้า 1
     13. ↑ จอมพล ป. ได้นำรัฐธรรมนูญฉบับ 2475 ประกาศใช้ช่วงวันที่ 6 ธันวาคม 2494 -7 มีนาคม 2495 ในระหว่างดำเนินการร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2495
     14. ↑ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528,หน้า16.
     15. ↑ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528 ,หน้า16.
     16. ↑ สำนักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร , สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา พ.ศ.2475-2501 , พระนคร : บริษัท ชุมนุมช่าง จำกัด , 2503,หน้า 37-39
     17. ↑ “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 , 17 มกราคม 2495” , หยุด แสงอุทัย , คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495 , (พระนคร : ชูสิน , 2495), หน้า 259.
     18. ↑ “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495 ”, หยุด , อ้างแล้ว , หน้า 258.
     19. ↑ รัฐธรรมนูญฉบับนี้ประกาศใช้วันที่ 8 มีนาคม 2495
     20. ↑ สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ,เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของ ส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป , 2528,หน้า 37.

หนังสือแนะนำให้อ่านต่อ

มุกดา เอนกลาภากิจ , (2542) “ รัฐธรรมนูญและสถาบันทางการเมือง : ศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492” วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสน่ห์ จามริก (2549) การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ , กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

นรนิติ เศรษฐบุตร (2550) รัฐธรรมนูญกับการเมืองไทย , กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บรรณานุกรม

กริช สืบสนธิ์ (2515) “บทบาทและพฤติกรรมของวุฒิสภาไทยสมัยต่างๆ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

ธงชัย วินิจจะกูล (2548 ) ข้ามให้พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลาคม , กรุงเทพฯ : มูลนิธิ 14 ตุลา อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา

ภูมิพลอดุลยเดช , พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ,(2495) “บันทึกพระราชวิจารณ์ เรื่อง ร่างฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ. 2495 ,17 มกราคม 2495” , หยุด แสงอุทัย , คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-2495.พระนคร : โรงพิมพ์ชูสิน.

ณัฐพล ใจจริง (2551) “ คว่ำปฏิวัติ-โค่นคณะราษฎร : การก่อตัวของ ‘ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข’ ” , ฟ้าเดียวกัน ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม หน้า104-146.

สุชิน ตันติกุล (2517) “ผลสะท้อนทางการเมืองของรัฐประหาร พ.ศ.2490 ”, วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุลักษณ์ ศิวรักษ์ (2528) เรื่อง กรมพิทยาลาภพฤฒิยากร ตามทัศนะของส.ศิวรักษ์ . กรุงเทพฯ : มูลนิธิเสถียรโกเศศ- นาคะประทีป.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (2503) สมุดภาพสมาชิกรัฐสภา พ.ศ.2475-2501 , พระนคร : บริษัท ชุมนุมช่าง จำกัด .

หยุด แสงอุทัย (2495) คำอธิบายรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2475-95 พระนคร : โรงพิมพ์ชูสิน.

อนันต์ พิบูลสงคราม , พลตรี (2540) จอมพล ป. พิบูลสงคราม 2 เล่ม . กรุงเทพฯ : ตระกูลพิบูลสงคราม.

อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ พลเรือตรี หลวง สังวรณ์ยุทธกิจ (ณ เมรุ วัด ธาตุทอง วันที่ 29 ธันวาคม 2516),กรุงเทพฯ:ชวนพิมพ์.

Handley , Paul (2008 ) “Princes , Politicians , Bureaucrats , Generals : The Evolution of the Privy Council under the Constitutional Monarchy” , A paper for 10th International Conference on Thai Studies , Thammasat University ,Bangkok , January 9-11

Kobkua Suwannathat-Pian,(1995) Thailand’s Durable Premier : Phibun through Three Decades 1932 – 1957. Kuala Lumpur : Oxford University Press .

ดูเพิ่มเติม