ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใหญ่ ศวิตชาต"
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร ผู้ท..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร | ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร | ||
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
---- | ---- | ||
<p style="text-align: center;">'''ใหญ่ ศวิตชาต : อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์'''</p> | |||
'''ใหญ่ ศวิตชาต : อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์''' | <br/> ในบรรดานักการเมืองจากต่างจังหวัดและสังกัด[[ประชาธิปัตย์|พรรคประชาธิปัตย์]]นั้น คุณ ใหญ่ ศวิตชาต อดีตผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์นับเป็นนักการเมืองเรืองนามที่มีคนรู้จักชื่อมากที่สุดคนหนึ่ง ยิ่งคนในพรรคประชาธิปัตย์ด้วยกันแล้ว คุณใหญ่จะเป็น "พี่" เป็น. "อา" ซึ่งเป็นที่รู้จักดีมาก เพราะคุณใหญ่เป็นทั้งผู้ร่วมก่อตั้งพรรคและเคยเป็น[[เลขาธิการพรรค]]อยู่นาน อย่างไรก็ตามคุณใหญ่ก็มิได้อยู่กับพรรคนี้ตลอดกาล แต่เมื่อเป็นคนชอบการเมือง ใหญ่ ศวิตชาต ก็อยู่ในวงการเมืองมานานถึง 38 ปี มากกว่าครึ่งชีวิตของตัวเอง | ||
<br/> | |||
ตลอดชีวิตการเป็นผู้แทนราษฎรของใหญ่ ศวิตชาต นั้นท่านเป็นผู้แทนฯจังหวัดนครสวรรค์ แต่บ้านเกิดของท่านนั้นอยู่ที่จังหวัดอุทัยธานี ดังที่ท่านบันทึกไว้ว่า “เกิด 7 ตุลาคม พ.ศ.2450 ที่หมู่ 2 ตำบลหนองนางนวล อำเภออุไทยเก่า (อำเภอหนองฉาง) จังหวัดอุทัยธานี” มีบิดาชื่อขาว มารดาชื่อเปี่ยม เดิมนั้นใช้นามสกุลว่า “ขามเทศ” มาเปลี่ยนเป็น “ศวิตชาต” ในภายหลัง ตอนเด็กได้เรียนหนังสือที่วัดหนองกระทุ่ม อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี แล้วจึงมาเรียนวิชาครูที่โรงเรียนฝึกหัดครูจังหวัดนครสวรรค์ จบวิชาครูมูล จึงเข้ารับราชการเป็นครูที่โรงเรียนประจำอำเภอหนองฉาง ก่อนที่จะสอบเข้าเป็นปลัดอำเภอ ได้เป็นปลัดอำเภออยู่ที่อำเภอลาดยาว และอำเภอเมืองนครสวรรค์ตามลำดับ ทำงานไปเรียนไปที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง จนจบได้ปริญญาในปี 2481 จากนั้นได้โอนไปเป็นตำรวจได้ยศเป็นร้อยตำรวจตรี กระทั่งต่อมาก็ได้ย้ายกลับมาเป็นนายอำเภอลาดยาวที่ยังหวัดนครสวรรค์อีก แล้วจึงไปเป็นนายอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนที่จะไปเป็นนายอำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม การที่ย้ายไปทำงานมาถึง 3 อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์นี่เองทำให้คุณใหญ่เป็นที่รู้จักมากในจังหวัด อันเป็นผลดีให้มีคนเลือกในภายหลัง | ตลอดชีวิตการเป็นผู้แทนราษฎรของใหญ่ ศวิตชาต นั้นท่านเป็นผู้แทนฯจังหวัดนครสวรรค์ แต่บ้านเกิดของท่านนั้นอยู่ที่จังหวัดอุทัยธานี ดังที่ท่านบันทึกไว้ว่า “เกิด 7 ตุลาคม พ.ศ.2450 ที่หมู่ 2 ตำบลหนองนางนวล อำเภออุไทยเก่า (อำเภอหนองฉาง) จังหวัดอุทัยธานี” มีบิดาชื่อขาว มารดาชื่อเปี่ยม เดิมนั้นใช้นามสกุลว่า “ขามเทศ” มาเปลี่ยนเป็น “ศวิตชาต” ในภายหลัง ตอนเด็กได้เรียนหนังสือที่วัดหนองกระทุ่ม อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี แล้วจึงมาเรียนวิชาครูที่โรงเรียนฝึกหัดครูจังหวัดนครสวรรค์ จบวิชาครูมูล จึงเข้ารับราชการเป็นครูที่โรงเรียนประจำอำเภอหนองฉาง ก่อนที่จะสอบเข้าเป็นปลัดอำเภอ ได้เป็นปลัดอำเภออยู่ที่อำเภอลาดยาว และอำเภอเมืองนครสวรรค์ตามลำดับ ทำงานไปเรียนไปที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง จนจบได้ปริญญาในปี 2481 จากนั้นได้โอนไปเป็นตำรวจได้ยศเป็นร้อยตำรวจตรี กระทั่งต่อมาก็ได้ย้ายกลับมาเป็นนายอำเภอลาดยาวที่ยังหวัดนครสวรรค์อีก แล้วจึงไปเป็นนายอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนที่จะไปเป็นนายอำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม การที่ย้ายไปทำงานมาถึง 3 อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์นี่เองทำให้คุณใหญ่เป็นที่รู้จักมากในจังหวัด อันเป็นผลดีให้มีคนเลือกในภายหลัง | ||
ใหญ่ ศวิตชาต ลงเล่นการเมืองโดยลงสมัครเป็นผู้แทนฯเป็นครั้งแรกในปี 2487 | ใหญ่ ศวิตชาต ลงเล่นการเมืองโดยลงสมัครเป็นผู้แทนฯเป็นครั้งแรกในปี 2487 เมื่อครั้งที่มี[[จอมพล_แปลก_พิบูลสงคราม|จอมพล ป.พิบูลสงคราม]]เป็นนายกฯ ซึ่งเป็นการเลือกตั้งซ่อมที่จังหวัดนครสวรรค์ เพราะผู้แทนฯ คนเดิม ขุนอนุกูลประชากร เสียชีวิตจากลูกระเบิดที่หน้าสถานีรถไฟหัวลำโพงในวันที่ 12 มกราคม ปี 2487 และคุณใหญ่ก็ชนะเลือกตั้งได้เป็นผู้แทนฯเป็นครั้งแรก เข้าประชุมสภาฯครั้งแรกก็แสดงฝีปากและคารมเล่นงานรัฐบาลหลวงพิบูลฯให้คนในสภาฯได้ประจักษ์ และอีกไม่กี่วันต่อมา เมื่อแพ้เสียงในสภาฯซ้ำสองหลวงพิบูลฯ ก็ลาออกจากนายกฯ [[ควง_อภัยวงศ์|นายควง อภัยวงศ์]] ขึ้นมาเป็นนายกฯ คุณใหญ่ได้ตำแหน่งการเมืองเพิ่มขึ้นเป็นเลขานุการรัฐมนตรี ในการเลือกตั้งครั้งต่อมาเมื่อต้นปี 2489 คุณใหญ่ก็ยังได้เป็นผู้แทนฯจังหวัดนครสวรรค์และได้เข้าร่วมรัฐบาลของนายกฯควง ได้เป็นรัฐมนตรีสั่งราชการกระทรวงคมนาคม แต่เป็นอยู่ได้เดือนกว่าๆ รัฐบาลแพ้เสียงในสภาฯจนนายกฯควง ต้องลาออก คุณใหญ่จึงพ้นตำแหน่งรัฐมนตรี | ||
หลังการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน ปี 2490 นายควง | หลังการรัฐประหาร [[8_พฤศจิกายน_พ.ศ._2490|8 พฤศจิกายน ปี 2490]] นายควง ได้กลับมาเป็นนายกฯ จัดการเลือกตั้งใหม่ คุณใหญ่ก็ได้ร่วมรัฐบาลเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อยู่ทั้งก่อนและหลังการเลือกตั้งปี 2490 แต่ก็เป็นอยู่สั้นๆ เมื่อปี 2489 คุณใหญ่ได้ร่วมกันกับเพื่อนตั้งพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้นายควงเป็นหัวหน้า โดยคุณใหญ่ได้เป็นกรรมการพรรคด้วย และได้ลงเลือกตั้งในปี 2491 ท่านชนะได้เข้าสภาฯ ส่วนการเลือกตั้งเมื่อปี 2495 นั้นพรรคประชาธิปัตย์ประท้วงรัฐบาล คุณใหญ่จึงไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งด้วย จนถึงปี 2498 มีกฎหมายพรรคการเมือง พรรคประชาธิปัตย์กลับมาเล่นการเมือง จดทะเบียนพรรคกับนายทะเบียน คราวนี้คุณใหญ่ได้ตำแหน่งใหญ่เป็นเลขาธิการพรรคสืบต่อจากนายชวลิต อภัยวงศ์ อดีตผู้แทนเมืองพระตะบอง การเมืองจึงคึกคักมากและเข้มข้นขึ้นเมื่อใกล้การเลือกตั้งในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ปี 2500 บทบาทของคุณใหญ่จึงสำคัญ | ||
การเลือกตั้งต้นปี 2500 มีความสำคัญมากเพราะนายกฯหลวงพิบูลฯนำรัฐมนตรีสำคัญลงสมัครที่พระนคร และพรรคเสรีมนังคศิลาก็ส่งผู้สมัครเกือบทั่วประเทศ พรรคประชาธิปัตย์เป็นพรรคฝ่ายค้านสำคัญส่งผู้สมัครสู้เป็นจำนวนมากเช่นกัน คุณใหญ่จึงต้องหาคนมาสมัครและเดินทางไปช่วยหาเสียง ผู้คนจึงรู้จักชื่อเสียงของท่าน ผลของการเลือกตั้งพรรครัฐบาลชนะแต่คนประท้วงว่าการเลือกตั้งสกปรกจนทหารเข้ามายึดอำนาจและจัดการเลือกตั้งใหม่ คุณใหญ่ก็ลงเลือกตั้งอีกและก็ชนะอีก แต่ก็อยู่ได้เพียงปี 2501 ทหารก็ยึดอำนาจอีก คราวนี้ไม่มีเลือกตั้งไปนาน 11 ปี จนปี 2512 พรรคประชาธิปัตย์ฟื้นขึ้นมาจดทะเบียนอีก แต่นายควงเสียชีวิตไปก่อนแล้ว จึงได้ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช | การเลือกตั้งต้นปี 2500 มีความสำคัญมากเพราะนายกฯหลวงพิบูลฯนำรัฐมนตรีสำคัญลงสมัครที่พระนคร และพรรคเสรีมนังคศิลาก็ส่งผู้สมัครเกือบทั่วประเทศ พรรคประชาธิปัตย์เป็นพรรคฝ่ายค้านสำคัญส่งผู้สมัครสู้เป็นจำนวนมากเช่นกัน คุณใหญ่จึงต้องหาคนมาสมัครและเดินทางไปช่วยหาเสียง ผู้คนจึงรู้จักชื่อเสียงของท่าน ผลของการเลือกตั้งพรรครัฐบาลชนะแต่คนประท้วงว่าการเลือกตั้งสกปรกจนทหารเข้ามายึดอำนาจและจัดการเลือกตั้งใหม่ คุณใหญ่ก็ลงเลือกตั้งอีกและก็ชนะอีก แต่ก็อยู่ได้เพียงปี 2501 ทหารก็ยึดอำนาจอีก คราวนี้ไม่มีเลือกตั้งไปนาน 11 ปี จนปี 2512 พรรคประชาธิปัตย์ฟื้นขึ้นมาจดทะเบียนอีก แต่นายควงเสียชีวิตไปก่อนแล้ว จึงได้ [[เสนีย์_ปราโมช|ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช]] มาเป็น[[หัวหน้าพรรค]]แต่เลขาธิการพรรคก็คือคุณใหญ่ และในการเลือกตั้งในปีนี้คุณใหญ่ก็ยังชนะเลือกตั้งเหมือนเดิม และอยู่เป็นผู้แทนฯจนทหารยึดอำนาจในปี 2514 | ||
| หลัง[[14_ตุลาคม_พ.ศ._2516|เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516]] คุณใหญ่ก็กลับมาลงเลือกตั้งและตั้งพรรคการเมืองอีก แต่คราวนี้ท่านออกจากพรรคประชาธิปัตย์ มาตั้งพรรคกิจสังคมร่วมกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เมื่อ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์เป็นนายกฯ คุณใหญ่ได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อยู่นานเกือบหนึ่งปี เมื่อมีเลือกตั้งครั้งต่อมาคุณใหญ่ก็ยังชนะ ท่านมาแพ้เลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งปี 2522 นับเป็นการปิดฉากการเมืองว่าด้วยการเลือกตั้งของท่าน | ||
อีก 3 ปีต่อมาในวันที่ 12 มกราคม ปี 2525 คุณใหญ่ได้เสียชีวิตและจากคุณเจริญใจ ผู้เป็นภรรยาและบุตรไป | อีก 3 ปีต่อมาในวันที่ 12 มกราคม ปี 2525 คุณใหญ่ได้เสียชีวิตและจากคุณเจริญใจ ผู้เป็นภรรยาและบุตรไป | ||
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]] | [[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง|ห]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:24, 16 พฤศจิกายน 2561
ผู้เรียบเรียง : ศาสตราจารย์พิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
ใหญ่ ศวิตชาต : อดีตเลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์
ในบรรดานักการเมืองจากต่างจังหวัดและสังกัดพรรคประชาธิปัตย์นั้น คุณ ใหญ่ ศวิตชาต อดีตผู้แทนราษฎรจังหวัดนครสวรรค์นับเป็นนักการเมืองเรืองนามที่มีคนรู้จักชื่อมากที่สุดคนหนึ่ง ยิ่งคนในพรรคประชาธิปัตย์ด้วยกันแล้ว คุณใหญ่จะเป็น "พี่" เป็น. "อา" ซึ่งเป็นที่รู้จักดีมาก เพราะคุณใหญ่เป็นทั้งผู้ร่วมก่อตั้งพรรคและเคยเป็นเลขาธิการพรรคอยู่นาน อย่างไรก็ตามคุณใหญ่ก็มิได้อยู่กับพรรคนี้ตลอดกาล แต่เมื่อเป็นคนชอบการเมือง ใหญ่ ศวิตชาต ก็อยู่ในวงการเมืองมานานถึง 38 ปี มากกว่าครึ่งชีวิตของตัวเอง
ตลอดชีวิตการเป็นผู้แทนราษฎรของใหญ่ ศวิตชาต นั้นท่านเป็นผู้แทนฯจังหวัดนครสวรรค์ แต่บ้านเกิดของท่านนั้นอยู่ที่จังหวัดอุทัยธานี ดังที่ท่านบันทึกไว้ว่า “เกิด 7 ตุลาคม พ.ศ.2450 ที่หมู่ 2 ตำบลหนองนางนวล อำเภออุไทยเก่า (อำเภอหนองฉาง) จังหวัดอุทัยธานี” มีบิดาชื่อขาว มารดาชื่อเปี่ยม เดิมนั้นใช้นามสกุลว่า “ขามเทศ” มาเปลี่ยนเป็น “ศวิตชาต” ในภายหลัง ตอนเด็กได้เรียนหนังสือที่วัดหนองกระทุ่ม อำเภอหนองฉาง จังหวัดอุทัยธานี แล้วจึงมาเรียนวิชาครูที่โรงเรียนฝึกหัดครูจังหวัดนครสวรรค์ จบวิชาครูมูล จึงเข้ารับราชการเป็นครูที่โรงเรียนประจำอำเภอหนองฉาง ก่อนที่จะสอบเข้าเป็นปลัดอำเภอ ได้เป็นปลัดอำเภออยู่ที่อำเภอลาดยาว และอำเภอเมืองนครสวรรค์ตามลำดับ ทำงานไปเรียนไปที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง จนจบได้ปริญญาในปี 2481 จากนั้นได้โอนไปเป็นตำรวจได้ยศเป็นร้อยตำรวจตรี กระทั่งต่อมาก็ได้ย้ายกลับมาเป็นนายอำเภอลาดยาวที่ยังหวัดนครสวรรค์อีก แล้วจึงไปเป็นนายอำเภอท่าตะโก จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนที่จะไปเป็นนายอำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม การที่ย้ายไปทำงานมาถึง 3 อำเภอในจังหวัดนครสวรรค์นี่เองทำให้คุณใหญ่เป็นที่รู้จักมากในจังหวัด อันเป็นผลดีให้มีคนเลือกในภายหลัง
ใหญ่ ศวิตชาต ลงเล่นการเมืองโดยลงสมัครเป็นผู้แทนฯเป็นครั้งแรกในปี 2487 เมื่อครั้งที่มีจอมพล ป.พิบูลสงครามเป็นนายกฯ ซึ่งเป็นการเลือกตั้งซ่อมที่จังหวัดนครสวรรค์ เพราะผู้แทนฯ คนเดิม ขุนอนุกูลประชากร เสียชีวิตจากลูกระเบิดที่หน้าสถานีรถไฟหัวลำโพงในวันที่ 12 มกราคม ปี 2487 และคุณใหญ่ก็ชนะเลือกตั้งได้เป็นผู้แทนฯเป็นครั้งแรก เข้าประชุมสภาฯครั้งแรกก็แสดงฝีปากและคารมเล่นงานรัฐบาลหลวงพิบูลฯให้คนในสภาฯได้ประจักษ์ และอีกไม่กี่วันต่อมา เมื่อแพ้เสียงในสภาฯซ้ำสองหลวงพิบูลฯ ก็ลาออกจากนายกฯ นายควง อภัยวงศ์ ขึ้นมาเป็นนายกฯ คุณใหญ่ได้ตำแหน่งการเมืองเพิ่มขึ้นเป็นเลขานุการรัฐมนตรี ในการเลือกตั้งครั้งต่อมาเมื่อต้นปี 2489 คุณใหญ่ก็ยังได้เป็นผู้แทนฯจังหวัดนครสวรรค์และได้เข้าร่วมรัฐบาลของนายกฯควง ได้เป็นรัฐมนตรีสั่งราชการกระทรวงคมนาคม แต่เป็นอยู่ได้เดือนกว่าๆ รัฐบาลแพ้เสียงในสภาฯจนนายกฯควง ต้องลาออก คุณใหญ่จึงพ้นตำแหน่งรัฐมนตรี
หลังการรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน ปี 2490 นายควง ได้กลับมาเป็นนายกฯ จัดการเลือกตั้งใหม่ คุณใหญ่ก็ได้ร่วมรัฐบาลเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ อยู่ทั้งก่อนและหลังการเลือกตั้งปี 2490 แต่ก็เป็นอยู่สั้นๆ เมื่อปี 2489 คุณใหญ่ได้ร่วมกันกับเพื่อนตั้งพรรคประชาธิปัตย์ที่ได้นายควงเป็นหัวหน้า โดยคุณใหญ่ได้เป็นกรรมการพรรคด้วย และได้ลงเลือกตั้งในปี 2491 ท่านชนะได้เข้าสภาฯ ส่วนการเลือกตั้งเมื่อปี 2495 นั้นพรรคประชาธิปัตย์ประท้วงรัฐบาล คุณใหญ่จึงไม่ลงสมัครรับเลือกตั้งด้วย จนถึงปี 2498 มีกฎหมายพรรคการเมือง พรรคประชาธิปัตย์กลับมาเล่นการเมือง จดทะเบียนพรรคกับนายทะเบียน คราวนี้คุณใหญ่ได้ตำแหน่งใหญ่เป็นเลขาธิการพรรคสืบต่อจากนายชวลิต อภัยวงศ์ อดีตผู้แทนเมืองพระตะบอง การเมืองจึงคึกคักมากและเข้มข้นขึ้นเมื่อใกล้การเลือกตั้งในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ ปี 2500 บทบาทของคุณใหญ่จึงสำคัญ
การเลือกตั้งต้นปี 2500 มีความสำคัญมากเพราะนายกฯหลวงพิบูลฯนำรัฐมนตรีสำคัญลงสมัครที่พระนคร และพรรคเสรีมนังคศิลาก็ส่งผู้สมัครเกือบทั่วประเทศ พรรคประชาธิปัตย์เป็นพรรคฝ่ายค้านสำคัญส่งผู้สมัครสู้เป็นจำนวนมากเช่นกัน คุณใหญ่จึงต้องหาคนมาสมัครและเดินทางไปช่วยหาเสียง ผู้คนจึงรู้จักชื่อเสียงของท่าน ผลของการเลือกตั้งพรรครัฐบาลชนะแต่คนประท้วงว่าการเลือกตั้งสกปรกจนทหารเข้ามายึดอำนาจและจัดการเลือกตั้งใหม่ คุณใหญ่ก็ลงเลือกตั้งอีกและก็ชนะอีก แต่ก็อยู่ได้เพียงปี 2501 ทหารก็ยึดอำนาจอีก คราวนี้ไม่มีเลือกตั้งไปนาน 11 ปี จนปี 2512 พรรคประชาธิปัตย์ฟื้นขึ้นมาจดทะเบียนอีก แต่นายควงเสียชีวิตไปก่อนแล้ว จึงได้ ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช มาเป็นหัวหน้าพรรคแต่เลขาธิการพรรคก็คือคุณใหญ่ และในการเลือกตั้งในปีนี้คุณใหญ่ก็ยังชนะเลือกตั้งเหมือนเดิม และอยู่เป็นผู้แทนฯจนทหารยึดอำนาจในปี 2514
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 คุณใหญ่ก็กลับมาลงเลือกตั้งและตั้งพรรคการเมืองอีก แต่คราวนี้ท่านออกจากพรรคประชาธิปัตย์ มาตั้งพรรคกิจสังคมร่วมกับ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ เมื่อ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์เป็นนายกฯ คุณใหญ่ได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม อยู่นานเกือบหนึ่งปี เมื่อมีเลือกตั้งครั้งต่อมาคุณใหญ่ก็ยังชนะ ท่านมาแพ้เลือกตั้งครั้งแรกในการเลือกตั้งปี 2522 นับเป็นการปิดฉากการเมืองว่าด้วยการเลือกตั้งของท่าน
อีก 3 ปีต่อมาในวันที่ 12 มกราคม ปี 2525 คุณใหญ่ได้เสียชีวิตและจากคุณเจริญใจ ผู้เป็นภรรยาและบุตรไป