ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทวี บุณยเกตุ"
สร้างหน้าด้วย " ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ ผู้ทร..." |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 4: | บรรทัดที่ 4: | ||
| | ||
ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ | ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ | ||
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต | ||
| | ||
บรรทัดที่ 12: | บรรทัดที่ 12: | ||
'''นายทวี บุณยเกตุ''' | '''นายทวี บุณยเกตุ''' | ||
นายทวี บุณยเกตุ | นายทวี บุณยเกตุ [[นายกรัฐมนตรี]]ลำดับที่ 5 ของไทย เป็น[[สมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน]] เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการ[[คณะรัฐมนตรี]] [[รัฐมนตรี]]ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ [[ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] และเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการประกาศสันติภาพ | ||
| | ||
บรรทัดที่ 22: | บรรทัดที่ 22: | ||
นายทวี บุณยเกตุเข้าศึกษาที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และโรงเรียนราชวิทยาลัย จังหวัดนนทบุรี จนจบชั้นมัธยมปีที่ 7 ต่อมาได้ไปศึกษาต่อที่ King's College ประเทศอังกฤษเป็นเวลา 2 ปี 6 เดือน จึงย้ายไปศึกษาต่อด้านวิชากสิกรรมที่ Greenyon University ประเทศฝรั่งเศส[[#_ftn2|[2]]] | นายทวี บุณยเกตุเข้าศึกษาที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และโรงเรียนราชวิทยาลัย จังหวัดนนทบุรี จนจบชั้นมัธยมปีที่ 7 ต่อมาได้ไปศึกษาต่อที่ King's College ประเทศอังกฤษเป็นเวลา 2 ปี 6 เดือน จึงย้ายไปศึกษาต่อด้านวิชากสิกรรมที่ Greenyon University ประเทศฝรั่งเศส[[#_ftn2|[2]]] | ||
ในระหว่างที่เรียนที่ประเทศฝรั่งเศส แม้นายทวีจะเรียนทางด้านการเกษตร แต่มีความสนใจในการบ้านการเมือง | ในระหว่างที่เรียนที่ประเทศฝรั่งเศส แม้นายทวีจะเรียนทางด้านการเกษตร แต่มีความสนใจในการบ้านการเมือง ได้พบกับนาย[[ปรีดี_พนมยงค์]]ซึ่งคุ้นเคยกันที่กรุงปารีส ได้ปรึกษาหารือในการจะนำระบอบรัฐธรรมนูญมาใช้ในประเทศไทย[[#_ftn3|[3]]] | ||
เมื่อกลับมาประเทศไทยนายทวี ได้เข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ. 2475 เป็นพนักงานบำรุงพันธุ์สัตว์ชั้น 2 กรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ | เมื่อกลับมาประเทศไทยนายทวี ได้เข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ. 2475 เป็นพนักงานบำรุงพันธุ์สัตว์ชั้น 2 กรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ | ||
บรรทัดที่ 30: | บรรทัดที่ 30: | ||
'''เหตุการณ์สำคัญ''' | '''เหตุการณ์สำคัญ''' | ||
| นายทวีเข้าร่วม[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_พ.ศ_2475]] เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน ภายหลัง[[การเปลี่ยนแปลงการปกครอง_24_มิถุนายน_2475|การเปลี่ยนแปลงการปกครอง]] วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เมื่อ[[พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว_พ.ศ.2475]] ประกาศใช้ นายทวีได้รับการแต่งตั้งให้เป็น[[ผู้แทนราษฎร]]ชั่วคราวจาก[[คณะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหาร]]ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจประกาศตั้งผู้แทนราษฎรชั่วคราวซึ่งมีจำนวน 70 นาย[[#_ftn4|[4]]]และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่สอง โดยนายทวียังคงรับราชการอยู่ในกระทรวงเกษตราธิการ จนถึง พ.ศ. 2482 ในสมัยที่[[จอมพล_ป.พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรีจึงได้โอนมาเป็นผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและขึ้นเป็นเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเมื่อ พ.ศ.2483[[#_ftn5|[5]]] | ||
เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายทวีในฐานะเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ยื่นใบลาออกของจอมพล ป.พิบูลสงคราม | เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายทวีในฐานะเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ยื่นใบลาออกของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ต่อ[[พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา]] [[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] และนายทวีในฐานะเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ส่งใบลาออกไปประกาศทางวิทยุกระจายเสียงให้ประชาชนรับทราบ ซึ่งเป็นการชิงไหวชิงพริบทางการเมืองระหว่างกลุ่มทหารที่นำโดยจอมพล ป.พิบูลสงครามกับกลุ่มพลเรือนของนายปรีดี[[#_ftn6|[6]]] เรื่องดังกล่าว จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไม่พอใจมากโดยอ้างว่าเรื่องดังกล่าวยังไม่ถึงเวลาเผยแพร่และตนเองไม่ได้ต้องการลาออกจริง เพียงแต่ต้องการลองพระทัยพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภาเท่านั้น[[#_ftn7|[7]]] | ||
วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2486 | วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2486 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้เลือกนายทวีให้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรและนาย[[ควง_อภัยวงศ์]]เป็นรองประธานฯ แต่จอมพล ป.พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีไม่ยอมลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ทำให้นายทวีและนายควงได้ลาออกจากตำแหน่งที่ได้รับเลือก[[#_ftn8|[8]]] | ||
เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามลาออกจากจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2487 นายควง อภัยวงศ์ได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ[[#_ftn9|[9]]] | เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามลาออกจากจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2487 นายควง อภัยวงศ์ได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ[[#_ftn9|[9]]] | ||
วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2488 นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ | วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2488 นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธย[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล]] ให้การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นโมฆะ เนื่องจากเป็นการกระทำอันขัดต่อเจตจำนงของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งประชาชนชาวไทยทั้งในและนอกประเทศได้ร่วมกันแสดงเจตจำนงไม่ยอมรับคำประกาศดังกล่าวด้วยการจัดตั้งขบวนการเสรีไทยช่วยเหลือฝ่ายสัมพันธมิตรในการต่อสู้กับกองทัพญี่ปุ่นที่ยึดครองประเทศไทยอยู่ในระหว่างสงคราม โดยที่ประเทศไทยประกาศว่าจะร่วมมือเต็มที่ทุกทางกับองค์การสหประชาชาติในการสถาปนาเสถียรภาพในโลกนี้ ประกาศสันติภาพนี้มีนายทวี บุณยเกตุ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแทนที่จะเป็นนายควง อภัยวงศ์นายกรัฐมนตรี[[#_ftn10|[10]]] | ||
| เมื่อ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ยุติ นายควง อภัยวงศ์ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2488 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ตกลงในที่ประชุมว่าผู้ที่เหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีควรจะเป็น หม่อมราชวงศ์[[เสนีย์_ปราโมช]] เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกาและหัวหน้า[[ขบวนการเสรีไทย]]ในประเทศสหรัฐอเมริกา แต่เพราะเหตุที่ยังเดินางมาไม่ถึงประเทศไทย จึงเห็นควรให้นายทวี บุณยเกตุดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[[#_ftn11|[11]]] นายทวี บุณยเกตุได้รับการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีในวันที่ 31 สิงหาคมและมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีในวันที่ 1 กันยายน โดยบริหารประเทศถึงวันที่ 17 กันยายน 2488 รวมระยะเวลา 17 วัน | ||
ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และในรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ | ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และในรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ | ||
| เมื่อจอมพล[[สฤษดิ์_ธนะรัชต์]]เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายส่งเสริมการลงทุนใหม่ โดยยกเลิกพระราชบัญญัติเดิมและตราพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนเพื่อกิจการอุตสาหกรรม พ.ศ. 2503 แทน และมีการแต่งตั้ง "คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเพื่อกิจการอุตสาหกรรม" มีอำนาจหน้าที่ให้การส่งเสริมการลงทุน มีกรรมการทั้งหมด 36 คน จอมพลสฤษดิ์ได้เชิญนายทวีมาเป็นประธานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และอยู่ในตำแหน่งดังกล่าวเกือบ 10 ปี[[#_ftn12|[12]]] นอกจากนี้เมื่อ[[พลเอกหลวงสุทธิสารรณกร]] [[ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]ได้ถึงแก่อนิจกรรม จอมพลสฤษดิ์ได้แต่งตั้งนายทวีให้เป็นประธาน[[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]]แทน[[#_ftn13|[13]]] | ||
'''ผลงานอื่น ๆ''' | '''ผลงานอื่น ๆ''' | ||
บรรทัดที่ 56: | บรรทัดที่ 56: | ||
'''หนังสือแนะนำ''' | '''หนังสือแนะนำ''' | ||
บุญชนะ อัตถากร.(2526).'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย'''.กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย. | บุญชนะ อัตถากร.(2526).'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย'''.กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย. | ||
| | ||
บรรทัดที่ 68: | บรรทัดที่ 68: | ||
นรนิติ เศรษฐบุตร, '''เกิดมาเป็นนายก''', (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), หน้า 94. | นรนิติ เศรษฐบุตร, '''เกิดมาเป็นนายก''', (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), หน้า 94. | ||
รัฐบาลไทย,'''นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจาก http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ[https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | รัฐบาลไทย,'''นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจาก [http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ][https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | ||
บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 41. | บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 41. | ||
วีรชาติ ชุ่มสนิท, '''24 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ: ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง,2549), หน้า 41. | วีรชาติ ชุ่มสนิท, '''24 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ: ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง,2549), หน้า 41. | ||
วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร,รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์กับขบวนการเสรีไทยใน '''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี, 2543 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 90. | วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร,รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์กับขบวนการเสรีไทยใน '''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี, 2543 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 90. | ||
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน''',เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน] [https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน''',เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน] [https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | ||
บรรทัดที่ 82: | บรรทัดที่ 82: | ||
หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, '''นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559 | หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, '''นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559 | ||
<div>'''อ้างอิง''' <div id="ftn1"> | <div>'''อ้างอิง''' <div id="ftn1"> | ||
[[#_ftnref1|[1]]] รัฐบาลไทย,'''นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจาก http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ[https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | [[#_ftnref1|[1]]] รัฐบาลไทย,'''นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจาก [http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ][https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | ||
</div> <div id="ftn2"> | </div> <div id="ftn2"> | ||
[[#_ftnref2|[2]]] หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, '''นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559 | [[#_ftnref2|[2]]] หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, '''นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559 | ||
</div> <div id="ftn3"> | </div> <div id="ftn3"> | ||
[[#_ftnref3|[3]]] บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 41. | [[#_ftnref3|[3]]] บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 41. | ||
</div> <div id="ftn4"> | </div> <div id="ftn4"> | ||
[[#_ftnref4|[4]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, '''วันการเมือง''', (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 159. | [[#_ftnref4|[4]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, '''วันการเมือง''', (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 159. | ||
บรรทัดที่ 92: | บรรทัดที่ 92: | ||
[[#_ftnref5|[5]]] วีรชาติ ชุ่มสนิท, '''24 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ: ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง,2549), หน้า 41. | [[#_ftnref5|[5]]] วีรชาติ ชุ่มสนิท, '''24 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ: ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง,2549), หน้า 41. | ||
</div> <div id="ftn6"> | </div> <div id="ftn6"> | ||
[[#_ftnref6|[6]]] บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 40. | [[#_ftnref6|[6]]] บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 40. | ||
</div> <div id="ftn7"> | </div> <div id="ftn7"> | ||
[[#_ftnref7|[7]]] วีรชาติ ชุ่มสนิท,หน้า 41. | [[#_ftnref7|[7]]] วีรชาติ ชุ่มสนิท,หน้า 41. | ||
บรรทัดที่ 98: | บรรทัดที่ 98: | ||
[[#_ftnref8|[8]]] วีรชาติ ชุ่มสนิท,หน้า 42.. | [[#_ftnref8|[8]]] วีรชาติ ชุ่มสนิท,หน้า 42.. | ||
</div> <div id="ftn9"> | </div> <div id="ftn9"> | ||
[[#_ftnref9|[9]]] รัฐบาลไทย,'''นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจาก http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ[https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | [[#_ftnref9|[9]]] รัฐบาลไทย,'''นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจาก [http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุ][https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | ||
</div> <div id="ftn10"> | </div> <div id="ftn10"> | ||
[[#_ftnref10|[10]]] วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร,รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์กับขบวนการเสรีไทยใน '''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี, 2543 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 90. | [[#_ftnref10|[10]]] วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร,รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์กับขบวนการเสรีไทยใน '''คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์''', (กรุงเทพฯ : กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี, 2543 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 90. | ||
</div> <div id="ftn11"> | </div> <div id="ftn11"> | ||
[[#_ftnref11|[11]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, '''เกิดมาเป็นนายก''', (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), หน้า 94. | [[#_ftnref11|[11]]] นรนิติ เศรษฐบุตร, '''เกิดมาเป็นนายก''', (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), หน้า 94. | ||
บรรทัดที่ 106: | บรรทัดที่ 106: | ||
[[#_ftnref12|[12]]] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน''',เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน] [https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | [[#_ftnref12|[12]]] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, '''สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน''',เข้าถึงจาก [https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน] [https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐประหารในประเทศไทย_(พ.ศ._2549)%20%20เมื่อ เมื่อ] 6 กันยายน 2559 | ||
</div> <div id="ftn13"> | </div> <div id="ftn13"> | ||
[[#_ftnref13|[13]]] บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 40. | [[#_ftnref13|[13]]] บุญชนะ อัตถากร,'''บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย''', (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 40. | ||
</div> <div id="ftn14"> | </div> <div id="ftn14"> | ||
[[#_ftnref14|[14]]] หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, '''นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559 | [[#_ftnref14|[14]]] หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, '''นายทวี บุณยเกตุ''', เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559 | ||
</div> </div> | </div> </div> | ||
[[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]] | [[Category:บุคคลสำคัญทางการเมือง]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:18, 4 กรกฎาคม 2561
ผู้เรียบเรียง : ดร.บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์
ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
นายทวี บุณยเกตุ
นายทวี บุณยเกตุ นายกรัฐมนตรีลำดับที่ 5 ของไทย เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน เคยดำรงตำแหน่งเลขาธิการคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และเลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการประกาศสันติภาพ
ประวัติส่วนบุคคล
นายทวี บุณยเกตุ เกิดเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447 ที่จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของพระยารณชัยชาญยุทธ์ (ถนอม บุณยเกตุ) กับคุณหญิงรณชัยชาญยุทธ์ (ทับทิม)[1]
นายทวี บุณยเกตุเข้าศึกษาที่โรงเรียนเบญจมราชูทิศ จังหวัดจันทบุรี โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย และโรงเรียนราชวิทยาลัย จังหวัดนนทบุรี จนจบชั้นมัธยมปีที่ 7 ต่อมาได้ไปศึกษาต่อที่ King's College ประเทศอังกฤษเป็นเวลา 2 ปี 6 เดือน จึงย้ายไปศึกษาต่อด้านวิชากสิกรรมที่ Greenyon University ประเทศฝรั่งเศส[2]
ในระหว่างที่เรียนที่ประเทศฝรั่งเศส แม้นายทวีจะเรียนทางด้านการเกษตร แต่มีความสนใจในการบ้านการเมือง ได้พบกับนายปรีดี_พนมยงค์ซึ่งคุ้นเคยกันที่กรุงปารีส ได้ปรึกษาหารือในการจะนำระบอบรัฐธรรมนูญมาใช้ในประเทศไทย[3]
เมื่อกลับมาประเทศไทยนายทวี ได้เข้ารับราชการเมื่อ พ.ศ. 2475 เป็นพนักงานบำรุงพันธุ์สัตว์ชั้น 2 กรมเพาะปลูก กระทรวงเกษตราธิการ
เหตุการณ์สำคัญ
นายทวีเข้าร่วมการเปลี่ยนแปลงการปกครอง_พ.ศ_2475 เป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง วันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 เมื่อพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว_พ.ศ.2475 ประกาศใช้ นายทวีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนราษฎรชั่วคราวจากคณะผู้รักษาพระนครฝ่ายทหารซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจประกาศตั้งผู้แทนราษฎรชั่วคราวซึ่งมีจำนวน 70 นาย[4]และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่สอง โดยนายทวียังคงรับราชการอยู่ในกระทรวงเกษตราธิการ จนถึง พ.ศ. 2482 ในสมัยที่จอมพล_ป.พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรีจึงได้โอนมาเป็นผู้ช่วยเลขาธิการคณะรัฐมนตรีและขึ้นเป็นเลขาธิการคณะรัฐมนตรีเมื่อ พ.ศ.2483[5]
เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามยื่นใบลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นายทวีในฐานะเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ยื่นใบลาออกของจอมพล ป.พิบูลสงคราม ต่อพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภา ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และนายทวีในฐานะเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได้ส่งใบลาออกไปประกาศทางวิทยุกระจายเสียงให้ประชาชนรับทราบ ซึ่งเป็นการชิงไหวชิงพริบทางการเมืองระหว่างกลุ่มทหารที่นำโดยจอมพล ป.พิบูลสงครามกับกลุ่มพลเรือนของนายปรีดี[6] เรื่องดังกล่าว จอมพล ป. พิบูลสงคราม ไม่พอใจมากโดยอ้างว่าเรื่องดังกล่าวยังไม่ถึงเวลาเผยแพร่และตนเองไม่ได้ต้องการลาออกจริง เพียงแต่ต้องการลองพระทัยพระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพย์อาภาเท่านั้น[7]
วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2486 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้เลือกนายทวีให้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรและนายควง_อภัยวงศ์เป็นรองประธานฯ แต่จอมพล ป.พิบูลสงครามในฐานะนายกรัฐมนตรีไม่ยอมลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ ทำให้นายทวีและนายควงได้ลาออกจากตำแหน่งที่ได้รับเลือก[8]
เมื่อจอมพล ป.พิบูลสงครามลาออกจากจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ.2487 นายควง อภัยวงศ์ได้รับการโปรดเกล้าฯให้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทน นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ[9]
วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ.2488 นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ให้การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นโมฆะ เนื่องจากเป็นการกระทำอันขัดต่อเจตจำนงของประชาชนและขัดต่อรัฐธรรมนูญ ซึ่งประชาชนชาวไทยทั้งในและนอกประเทศได้ร่วมกันแสดงเจตจำนงไม่ยอมรับคำประกาศดังกล่าวด้วยการจัดตั้งขบวนการเสรีไทยช่วยเหลือฝ่ายสัมพันธมิตรในการต่อสู้กับกองทัพญี่ปุ่นที่ยึดครองประเทศไทยอยู่ในระหว่างสงคราม โดยที่ประเทศไทยประกาศว่าจะร่วมมือเต็มที่ทุกทางกับองค์การสหประชาชาติในการสถาปนาเสถียรภาพในโลกนี้ ประกาศสันติภาพนี้มีนายทวี บุณยเกตุ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแทนที่จะเป็นนายควง อภัยวงศ์นายกรัฐมนตรี[10]
เมื่อสงครามโลกครั้งที่สองยุติ นายควง อภัยวงศ์ได้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ.2488 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรได้ตกลงในที่ประชุมว่าผู้ที่เหมาะสมจะเป็นนายกรัฐมนตรีควรจะเป็น หม่อมราชวงศ์เสนีย์_ปราโมช เอกอัครราชทูตไทยประจำสหรัฐอเมริกาและหัวหน้าขบวนการเสรีไทยในประเทศสหรัฐอเมริกา แต่เพราะเหตุที่ยังเดินางมาไม่ถึงประเทศไทย จึงเห็นควรให้นายทวี บุณยเกตุดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี[11] นายทวี บุณยเกตุได้รับการโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นนายกรัฐมนตรีในวันที่ 31 สิงหาคมและมีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีในวันที่ 1 กันยายน โดยบริหารประเทศถึงวันที่ 17 กันยายน 2488 รวมระยะเวลา 17 วัน
ในรัฐบาลของหม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และในรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ นายทวีได้รับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการ
เมื่อจอมพลสฤษดิ์_ธนะรัชต์เป็นนายกรัฐมนตรี ได้ปรับปรุงแก้ไขกฎหมายส่งเสริมการลงทุนใหม่ โดยยกเลิกพระราชบัญญัติเดิมและตราพระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุนเพื่อกิจการอุตสาหกรรม พ.ศ. 2503 แทน และมีการแต่งตั้ง "คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเพื่อกิจการอุตสาหกรรม" มีอำนาจหน้าที่ให้การส่งเสริมการลงทุน มีกรรมการทั้งหมด 36 คน จอมพลสฤษดิ์ได้เชิญนายทวีมาเป็นประธานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน และอยู่ในตำแหน่งดังกล่าวเกือบ 10 ปี[12] นอกจากนี้เมื่อพลเอกหลวงสุทธิสารรณกร ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ถึงแก่อนิจกรรม จอมพลสฤษดิ์ได้แต่งตั้งนายทวีให้เป็นประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติแทน[13]
ผลงานอื่น ๆ
นายทวี บุณยเกตุ ในขณะที่ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการได้เป็นนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โดยตำแหน่ง นับเป็นนายกสภามหาวิทยาลัย คนที่ 2 ซึ่งดำรงตำแหน่ง 3 วาระ และดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ 28 กันยายน 2488 - 5 พฤษภาคม 2489[14]
นายทวี บุณยเกตุ ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2514 ณ บ้านเลขที่ 102 ถนนเศรษฐศิริ อำเภอดุสิต กรุงเทพมหานคร รวมอายุได้ 67 ปี
หนังสือแนะนำ
บุญชนะ อัตถากร.(2526).บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย.กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย.
บรรณานุกรม
นรนิติ เศรษฐบุตร, วันการเมือง, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 159.
นรนิติ เศรษฐบุตร, เกิดมาเป็นนายก, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), หน้า 94.
รัฐบาลไทย,นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจาก http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุเมื่อ 6 กันยายน 2559
บุญชนะ อัตถากร,บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 41.
วีรชาติ ชุ่มสนิท, 24 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ: ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง,2549), หน้า 41.
วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร,รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์กับขบวนการเสรีไทยใน คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์, (กรุงเทพฯ : กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี, 2543 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 90.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน,เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เมื่อ 6 กันยายน 2559
หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559
หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559
[1] รัฐบาลไทย,นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจาก http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุเมื่อ 6 กันยายน 2559
[2] หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559
[3] บุญชนะ อัตถากร,บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 41.
[4] นรนิติ เศรษฐบุตร, วันการเมือง, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า, 2555), หน้า 159.
[5] วีรชาติ ชุ่มสนิท, 24 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ: ออลบุ๊คส์พับลิสชิ่ง,2549), หน้า 41.
[6] บุญชนะ อัตถากร,บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 40.
[7] วีรชาติ ชุ่มสนิท,หน้า 41.
[8] วีรชาติ ชุ่มสนิท,หน้า 42..
[9] รัฐบาลไทย,นายกรัฐมนตรีคนที่ 5 นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจาก http://www.thaigov.go.th/index.php/th/primeminster/item/78211-นายกรัฐมนตรีคนที่-5-นายทวี-บุณยเกตุเมื่อ 6 กันยายน 2559
[10] วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร,รัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์กับขบวนการเสรีไทยใน คือวิญญาณเสรี ปรีดี พนมยงค์, (กรุงเทพฯ : กองบรรณาธิการนิตยสารสารคดี, 2543 พิมพ์ครั้งที่ 2), หน้า 90.
[11] นรนิติ เศรษฐบุตร, เกิดมาเป็นนายก, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554), หน้า 94.
[12] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน,เข้าถึงจาก https://th.wikipedia.org/wiki/สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน เมื่อ 6 กันยายน 2559
[13] บุญชนะ อัตถากร,บันทึกวิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย, (กรุงเทพฯ : มูลนิธิศาสตราจารย์บุญชนะ อัตถากร เพื่อการศึกษาและวิจัย, 2526), หน้า 40.
[14] หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, นายทวี บุณยเกตุ, เข้าถึงจากhttp://archives.psd.ku.ac.th/kuout/p042.html เมื่อ 5 กันยายน 2559