ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Suksan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''เรียบเรียงโดย''' : อาจารย์บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
'''เรียบเรียงโดย''' : อาจารย์บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' : รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล
 
----
----


แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด หมายความว่า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่าง ๆ ของ[[กลุ่มจังหวัด]]ที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคต<ref>พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 มาตรา 3</ref>  
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด หมายความว่า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่าง ๆ ของ[[กลุ่มจังหวัด|กลุ่มจังหวัด]]ที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคต<ref>พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 มาตรา 3</ref>


จากการที่มีการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด ตามมาตรา 26 ของ[[พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551]] ซึ่งบัญญัติให้มี[[คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.)]] พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด และเสนอ[[คณะรัฐมนตรี]]เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด  
จากการที่มีการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด ตามมาตรา 26 ของ[[พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ_พ.ศ.2551|พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551]] ซึ่งบัญญัติให้มี[[คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ_(ก.น.จ.)|คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.)]] พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด และเสนอ[[คณะรัฐมนตรี|คณะรัฐมนตรี]]เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด


==กรอบแนวคิดของการจัดกลุ่มจังหวัด==  
== กรอบแนวคิดของการจัดกลุ่มจังหวัด ==


มี 3 ประการ คือ<ref>สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แนวทางการบริหารราชการแบบกลุ่มจังหวัด [ออนไลน์] , แหล่งข้อมูล : http://www.opdc.go.th/content.php?menu_id=5&content_id=780</ref>  
มี 3 ประการ คือ<ref>สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แนวทางการบริหารราชการแบบกลุ่มจังหวัด [ออนไลน์] , แหล่งข้อมูล : http://www.opdc.go.th/content.php?menu_id=5&content_id=780</ref>


ประการแรก เรื่องของการจัดการปัญหาในระดับพื้นที่ที่เชื่อมโยงกันระหว่างจังหวัด ปัญหานี้เป็นปัญหาทั้งทางด้านสังคมและปัญหาเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องยาเสพติด ปัญหาเรื่องอาชญากรรม หรือปัญหาเกี่ยวกับเรื่องราคาพืชผลต่างๆ ที่เป็นปัญหาร่วมกันในพื้นที่ เช่น เรื่องราคาข้าวต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาปริมาณข้าวในระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิจิตรเป็นต้น
ประการแรก เรื่องของการจัดการปัญหาในระดับพื้นที่ที่เชื่อมโยงกันระหว่างจังหวัด ปัญหานี้เป็นปัญหาทั้งทางด้านสังคมและปัญหาเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องยาเสพติด ปัญหาเรื่องอาชญากรรม หรือปัญหาเกี่ยวกับเรื่องราคาพืชผลต่างๆ ที่เป็นปัญหาร่วมกันในพื้นที่ เช่น เรื่องราคาข้าวต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาปริมาณข้าวในระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิจิตรเป็นต้น
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 20:
ประการที่สาม ยุทธศาสตร์ในจังหวัดใกล้เคียงกันจะมีจุดเน้นของแต่ละจังหวัดที่ต่างกัน แต่เกื้อกูลกัน เราก็ต้องการให้มีเจ้าภาพในแต่ละยุทธศาสตร์ให้จังหวัดใดเป็นผู้นำในยุทธศาสตร์นั้นรับผิดชอบ
ประการที่สาม ยุทธศาสตร์ในจังหวัดใกล้เคียงกันจะมีจุดเน้นของแต่ละจังหวัดที่ต่างกัน แต่เกื้อกูลกัน เราก็ต้องการให้มีเจ้าภาพในแต่ละยุทธศาสตร์ให้จังหวัดใดเป็นผู้นำในยุทธศาสตร์นั้นรับผิดชอบ


==แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด==
== แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด ==
 
การจัดกลุ่มจังหวัดเป็น 19 กลุ่มที่ผ่านมามีแนวทางในการจัดกลุ่ม 3 ประการ คือ
การจัดกลุ่มจังหวัดเป็น 19 กลุ่มที่ผ่านมามีแนวทางในการจัดกลุ่ม 3 ประการ คือ


บรรทัดที่ 28: บรรทัดที่ 30:
'''ประการที่สาม''' ต้องการที่จะให้มีความร่วมมือกันในการที่จะแก้ปัญหา ที่เป็นปัญหาเร่งด่วนของชาติ ที่อยู่บนพื้นฐานความร่วมมือของจังหวัด
'''ประการที่สาม''' ต้องการที่จะให้มีความร่วมมือกันในการที่จะแก้ปัญหา ที่เป็นปัญหาเร่งด่วนของชาติ ที่อยู่บนพื้นฐานความร่วมมือของจังหวัด


คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการได้เสนอจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ตามมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารราชการจังหวัดและส่วนจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 โดย[[มติคณะรัฐมนตรี]]เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 17 พฤศจิกายน 2546<ref>สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด  สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, ความเป็นมาของการแบ่งกลุ่มจังหวัด  [ออนไลน์], แหล่งข้อมูล : http://www.osm.moi.go.th/images/stories/april/osm1.pdf . </ref> ได้ให้ความเห็นชอบ โดยแบ่งจังหวัดออกเป็น 18 กลุ่มจังหวัด และกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติราชของกลุ่มจังหวัด ดังต่อไปนี้<ref>ประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด,ราชกิจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 28 ง ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552. </ref>  
คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการได้เสนอจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ตามมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารราชการจังหวัดและส่วนจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 โดย[[มติคณะรัฐมนตรี|มติคณะรัฐมนตรี]]เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 17 พฤศจิกายน 2546<ref>สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด  สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, ความเป็นมาของการแบ่งกลุ่มจังหวัด  [ออนไลน์], แหล่งข้อมูล : http://www.osm.moi.go.th/images/stories/april/osm1.pdf . </ref> ได้ให้ความเห็นชอบ โดยแบ่งจังหวัดออกเป็น 18 กลุ่มจังหวัด และกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติราชของกลุ่มจังหวัด ดังต่อไปนี้<ref>ประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด,ราชกิจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 28 ง ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552. </ref>


1.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดสระบุรี โดยให้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
1.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน_1|กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดสระบุรี โดยให้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


2.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง โดยให้จังหวัดลพบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
2.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน_2|กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง โดยให้จังหวัดลพบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


3.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง]]''' ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสระแก้ว โดยให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
3.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง|กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง]]''' ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสระแก้ว โดยให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


4. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี โดยให้จังหวัดนครปฐมเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
4. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง_1|กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี โดยให้จังหวัดนครปฐมเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


5.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร โดยให้จังหวัดเพชรบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
5.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง_2|กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร โดยให้จังหวัดเพชรบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


6.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย]]''' ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
6.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย|กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย]]''' ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


7.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง โดยให้จังหวัดภูเก็ตเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
7.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน|กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง โดยให้จังหวัดภูเก็ตเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


8.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน]]''' ประกอบด้วย จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล โดยให้จังหวัดสงขลาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
8.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน|กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน]]''' ประกอบด้วย จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล โดยให้จังหวัดสงขลาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


9. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก]]''' ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด และจังหวัดระยอง โดยให้จังหวัดชลบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
9. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก|กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก]]''' ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด และจังหวัดระยอง โดยให้จังหวัดชลบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


10. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี โดยให้จังหวัดอุดรธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
10. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน_1|กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี โดยให้จังหวัดอุดรธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


11. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดสกลนคร โดยให้จังหวัดสกลนครเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
11. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน_2|กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดสกลนคร โดยให้จังหวัดสกลนครเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


12.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดร้อยเอ็ด โดยให้จังหวัดขอนแก่นเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
12.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง|กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดร้อยเอ็ด โดยให้จังหวัดขอนแก่นเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


13.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1]]''' ประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ โดยให้จังหวัดนครราชสีมาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
13.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง_1|กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1]]''' ประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ โดยให้จังหวัดนครราชสีมาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


14. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยให้จังหวัดอุบลราชธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
14. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง_2|กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยให้จังหวัดอุบลราชธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


15. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง และจังหวัดลำพูน โดยให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
15. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน_1|กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง และจังหวัดลำพูน โดยให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


16. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดแพร่ โดยให้จังหวัดเชียงรายเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
16. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน_2|กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดแพร่ โดยให้จังหวัดเชียงรายเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


17.''' [[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
17.'''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง_1|กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1]]''' ประกอบด้วย จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


18. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดอุทัยธานี โดยให้จังหวัดนครสวรรค์เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด
18. '''[[กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง_2|กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2]]''' ประกอบด้วย จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดอุทัยธานี โดยให้จังหวัดนครสวรรค์เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด


==การจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด==
== การจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ==


ตาม[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534]] มาตรา 53/1 ได้กำหนดให้จังหวัดจัดทำ[[แผนพัฒนาจังหวัด]]ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด
ตาม[[พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน_พ.ศ._2534|พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534]] มาตรา 53/1 ได้กำหนดให้จังหวัดจัดทำ[[แผนพัฒนาจังหวัด|แผนพัฒนาจังหวัด]]ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด


ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ให้[[ผู้ว่าราชการจังหวัด]]จัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็น[[ราชการบริหารส่วนภูมิภาค]] หรือ[[ราชการบริหารส่วนกลาง]] และ[[ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]ทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทน[[ภาคประชาสังคม]] และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน  
ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ให้[[ผู้ว่าราชการจังหวัด|ผู้ว่าราชการจังหวัด]]จัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็น[[ราชการบริหารส่วนภูมิภาค|ราชการบริหารส่วนภูมิภาค]] หรือ[[ราชการบริหารส่วนกลาง|ราชการบริหารส่วนกลาง]] และ[[ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]ทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทน[[ภาคประชาสังคม|ภาคประชาสังคม]] และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน


พระราชกฤษฎีว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 ได้กำหนดแนวทางการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดในมาตรา 27 โดยมีวิธีการดังนี้ คือ
พระราชกฤษฎีว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 ได้กำหนดแนวทางการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดในมาตรา 27 โดยมีวิธีการดังนี้ คือ


1. ให้คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ( ก.น.จ.) เป็นผู้กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
1. ให้คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ( ก.น.จ.) เป็นผู้กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด


2. คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการเป็นผู้ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด โดยจัดทำเป็นแผนสี่ป การจัดทำต้องคํานึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ
2. คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการเป็นผู้ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด โดยจัดทำเป็นแผนสี่ป การจัดทำต้องคํานึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ


แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดต้องระบุรายละเอียดของวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดต้องระบุรายละเอียดของวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์
บรรทัดที่ 82: บรรทัดที่ 84:
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดต้องให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จากนั้นให้คณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีกลุ่มจังหวัดโดยระบุรายละเอียดของโครงการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบและงบประมาณที่ต้องใช้ดำเนินการ
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดต้องให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จากนั้นให้คณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีกลุ่มจังหวัดโดยระบุรายละเอียดของโครงการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบและงบประมาณที่ต้องใช้ดำเนินการ


==แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด==
== แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ==
 
 
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด จะต้องคำนึงถึงแนวทาง ดังนี้<ref>ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546</ref>  
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด จะต้องคำนึงถึงแนวทาง ดังนี้<ref>ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546</ref>


1. ต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์รายสาขา/เฉพาะด้าน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่  
1. ต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์รายสาขา/เฉพาะด้าน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่


2. คุณภาพของแผน ในการจัดทำ[[แผนพัฒนาจังหวัด]]และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ที่มีคุณภาพ จะต้องผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกันของทุกฝ่าย และแผนดังกล่าวจะต้องมีความชัดเจน ความเป็นเหตุเป็นผลของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่สอดคล้อง เชื่อมโยงตั้งแต่[[วิสัยทัศน์]] [[ประเด็นยุทธศาสตร์]] [[เป้าประสงค์]] [[ตัวชี้วัด]] [[ค่าเป้าหมาย]] [[กลยุทธ์]] จนถึง[[แผนงาน/โครงการ]] (Logical Framework) โดยมีรายละเอียดดังนี้
2. คุณภาพของแผน ในการจัดทำ[[แผนพัฒนาจังหวัด|แผนพัฒนาจังหวัด]]และแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ที่มีคุณภาพ จะต้องผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกันของทุกฝ่าย และแผนดังกล่าวจะต้องมีความชัดเจน ความเป็นเหตุเป็นผลของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่สอดคล้อง เชื่อมโยงตั้งแต่[[วิสัยทัศน์|วิสัยทัศน์]] [[ประเด็นยุทธศาสตร์|ประเด็นยุทธศาสตร์]] [[เป้าประสงค์|เป้าประสงค์]] [[ตัวชี้วัด|ตัวชี้วัด]] [[ค่าเป้าหมาย|ค่าเป้าหมาย]] [[กลยุทธ์|กลยุทธ์]] จนถึง[[แผนงาน/โครงการ|แผนงาน/โครงการ]] (Logical Framework) โดยมีรายละเอียดดังนี้


(1) มีการกำหนดประเด็นปัญหาและโอกาสการพัฒนาชัดเจนทั้งในเชิงของขนาด และพื้นที่ พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและโอกาสการพัฒนานั้น ๆ
(1) มีการกำหนดประเด็นปัญหาและโอกาสการพัฒนาชัดเจนทั้งในเชิงของขนาด และพื้นที่ พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและโอกาสการพัฒนานั้น ๆ


(2) มีวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นถึงการแก้ปัญหา และการใช้โอกาสในการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
(2) มีวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นถึงการแก้ปัญหา และการใช้โอกาสในการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด


(3) มีประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผน โดยในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์จะต้องมีการหาข้อตกลงร่วมกันเพื่อยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์นั้น ๆ และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน
(3) มีประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผน โดยในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์จะต้องมีการหาข้อตกลงร่วมกันเพื่อยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์นั้น ๆ และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน


(4) มีการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์
(4) มีการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์


(5) มีแผนงาน/โครงการ ตอบสนองกับแนวทางพัฒนานั้น ๆ  
(5) มีแผนงาน/โครงการ ตอบสนองกับแนวทางพัฒนานั้น ๆ


แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดจะเป็นการสนับสนุนให้การปฏิบัติราชการของจังหวัดต่างๆ เป็น[[การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ]] มีหน่วยงานเชิงยุทธศาสตร์ภาครัฐในระดับพื้นที่ที่มีศักยภาพและสมรรถภาพสูง สามารถประสานและกำกับดูแลการปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการ [[รัฐวิสาหกิจ]] และหน่วยงานอื่นของรัฐ และส่งเสริมสนับสนุน[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]และชุมชนในพื้นที่ ให้สามารถริเริ่ม แก้ไขปัญหา และพัฒนาพื้นที่ของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดระบบงานที่มีกระบวนการสร้างความเห็นพ้องต้องกันของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนใน[[การบริหารราชการระดับพื้นที่]]
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดจะเป็นการสนับสนุนให้การปฏิบัติราชการของจังหวัดต่างๆ เป็น[[การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ|การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ]] มีหน่วยงานเชิงยุทธศาสตร์ภาครัฐในระดับพื้นที่ที่มีศักยภาพและสมรรถภาพสูง สามารถประสานและกำกับดูแลการปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการ [[รัฐวิสาหกิจ|รัฐวิสาหกิจ]] และหน่วยงานอื่นของรัฐ และส่งเสริมสนับสนุน[[องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น|องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น]]และชุมชนในพื้นที่ ให้สามารถริเริ่ม แก้ไขปัญหา และพัฒนาพื้นที่ของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดระบบงานที่มีกระบวนการสร้างความเห็นพ้องต้องกันของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนใน[[การบริหารราชการระดับพื้นที่|การบริหารราชการระดับพื้นที่]]


แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดคือการกำหนดบูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ สรรพกำลังและทรัพยากรในจังหวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทำให้การทำงานเกิดการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทางและเป้าหมายร่วมกัน รวมทั้งมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานในการบริหาร การพัฒนา การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาในเขตพื้นที่จังหวัดอย่างชัดเจน
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดคือการกำหนดบูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ สรรพกำลังและทรัพยากรในจังหวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทำให้การทำงานเกิดการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทางและเป้าหมายร่วมกัน รวมทั้งมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานในการบริหาร การพัฒนา การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาในเขตพื้นที่จังหวัดอย่างชัดเจน


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==


<references/>
<references />


==หนังสืออ่านประกอบ==
== หนังสืออ่านประกอบ ==


ประสิทธิ์ การกลาง,'''รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาขีดสมรรถนะจังหวัดในการจัดทำแผนและงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด''',(กรุงเทพมหานคร : สถาบันดำรงราชานุภาพ, 2552).
ประสิทธิ์ การกลาง,'''รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาขีดสมรรถนะจังหวัดในการจัดทำแผนและงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด''',(กรุงเทพมหานคร &nbsp;: สถาบันดำรงราชานุภาพ, 2552).


สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย,'''วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด''',(กรุงเทพมหานคร : สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด,2547).
สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย,'''วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด''',(กรุงเทพมหานคร&nbsp;: สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด,2547).


สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, '''รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัดในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระดับพื้นที่''',(กรุงเทพมหานคร : สถาบันดำรงราชานุภาพ, 2548).
สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, '''รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัดในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระดับพื้นที่''',(กรุงเทพมหานคร &nbsp;: สถาบันดำรงราชานุภาพ, 2548).


[[หมวดหมู่:การบริหารราชการแผ่นดิน]]
[[Category:การบริหารราชการแผ่นดิน|ผ]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:50, 3 กรกฎาคม 2560

เรียบเรียงโดย : อาจารย์บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ

ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ : รศ.ดร.ปธาน สุวรรณมงคล


แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด หมายความว่า รายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่าง ๆ ของกลุ่มจังหวัดที่จำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาของกลุ่มจังหวัดในอนาคต[1]

จากการที่มีการจัดตั้งกลุ่มจังหวัด ตามมาตรา 26 ของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 ซึ่งบัญญัติให้มีคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) พิจารณาจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดของจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัดทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มจังหวัด

กรอบแนวคิดของการจัดกลุ่มจังหวัด

มี 3 ประการ คือ[2]

ประการแรก เรื่องของการจัดการปัญหาในระดับพื้นที่ที่เชื่อมโยงกันระหว่างจังหวัด ปัญหานี้เป็นปัญหาทั้งทางด้านสังคมและปัญหาเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาเรื่องยาเสพติด ปัญหาเรื่องอาชญากรรม หรือปัญหาเกี่ยวกับเรื่องราคาพืชผลต่างๆ ที่เป็นปัญหาร่วมกันในพื้นที่ เช่น เรื่องราคาข้าวต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาปริมาณข้าวในระหว่างจังหวัดนครสวรรค์กับจังหวัดพิจิตรเป็นต้น

ประการที่สอง เน้นความร่วมมือในเรื่องของการใช้ทรัพยากรร่วมกันในการพัฒนายุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจและสังคม

ประการที่สาม ยุทธศาสตร์ในจังหวัดใกล้เคียงกันจะมีจุดเน้นของแต่ละจังหวัดที่ต่างกัน แต่เกื้อกูลกัน เราก็ต้องการให้มีเจ้าภาพในแต่ละยุทธศาสตร์ให้จังหวัดใดเป็นผู้นำในยุทธศาสตร์นั้นรับผิดชอบ

แนวทางการจัดกลุ่มจังหวัด

การจัดกลุ่มจังหวัดเป็น 19 กลุ่มที่ผ่านมามีแนวทางในการจัดกลุ่ม 3 ประการ คือ

ประการแรก เน้นเรื่องของพื้นที่ที่มีความเชื่อมโยงกันสัมพันธ์กัน พื้นที่ที่เกี่ยวเนื่องกันในลักษณะของเป็นภาคเล็กๆ ลักษณะเป็น Sub-region

ประการที่สอง แม้พื้นที่จะเกี่ยวเนื่องกันจะเชื่อมโยงกัน จะใช้หลักความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ การผลิต การค้า และการลงทุนเป็นตัวที่จะช่วยชี้ว่า จังหวัดนี้ควรจะอยู่ในกลุ่มไหน จากการพิจารณาลักษณะนี้จะเห็นว่า จังหวัดพิจิตรแม้จะอยู่ใกล้กับ พิษณุโลกและใกล้กับนครสวรรค์ ซึ่งถ้ามองในเชิงพื้นทีอย่างเดียวน่าจะอยู่ในกลุ่มเดียวกัน แต่ถ้าพิจารณาองค์ประกอบอื่นเพิ่มเติม เช่น ความสัมพันธ์เชื่อมโยงทางด้านการ การค้าการลงทุนแล้ว จะต่างกัน พิษณุโลกจะเน้นไปด้านอุตสาหกรรมใหม่ ขณะที่พิจิตรกับนครสวรรค์มีความสัมพันธ์เรื่องของด้านการเกษตร เรื่องข้าว ปริมาณ ผลผลิต ราคาต่างๆ ก็อยู่คนละกลุ่มกัน พิจิตรจึงเข้าใกล้นครสวรรค์มากกว่าพิษณุโลก การที่จะนำพิจิตรไปอยู่กับพิษณุโลกเพราะพื้นที่ติดกันนั้น จะติดที่เงื่อนไขของการลงทุน ปัจจัยร่วมต่างๆ แตกต่างกัน

ประการที่สาม ต้องการที่จะให้มีความร่วมมือกันในการที่จะแก้ปัญหา ที่เป็นปัญหาเร่งด่วนของชาติ ที่อยู่บนพื้นฐานความร่วมมือของจังหวัด

คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการได้เสนอจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด ตามมาตรา 26 วรรคหนึ่ง แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารราชการจังหวัดและส่วนจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551 โดยมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2546 และวันที่ 17 พฤศจิกายน 2546[3] ได้ให้ความเห็นชอบ โดยแบ่งจังหวัดออกเป็น 18 กลุ่มจังหวัด และกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติราชของกลุ่มจังหวัด ดังต่อไปนี้[4]

1.กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 1 ประกอบด้วย จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดสระบุรี โดยให้จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

2.กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท จังหวัดลพบุรี จังหวัดสิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง โดยให้จังหวัดลพบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

3.กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ประกอบด้วย จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสระแก้ว โดยให้จังหวัดฉะเชิงเทราเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

4. กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 ประกอบด้วย จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดนครปฐม จังหวัดราชบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี โดยให้จังหวัดนครปฐมเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

5.กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 ประกอบด้วย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดสมุทรสาคร โดยให้จังหวัดเพชรบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

6.กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย ประกอบด้วย จังหวัดชุมพร จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยให้จังหวัดสุราษฎร์ธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

7.กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ประกอบด้วย จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพังงา จังหวัดภูเก็ต และจังหวัดระนอง โดยให้จังหวัดภูเก็ตเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

8.กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน ประกอบด้วย จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล โดยให้จังหวัดสงขลาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

9. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี จังหวัดชลบุรี จังหวัดตราด และจังหวัดระยอง โดยให้จังหวัดชลบุรีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

10. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ประกอบด้วย จังหวัดเลย จังหวัดหนองคาย จังหวัดบึงกาฬ จังหวัดหนองบัวลำภู และจังหวัดอุดรธานี โดยให้จังหวัดอุดรธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

11. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย จังหวัดนครพนม จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดสกลนคร โดยให้จังหวัดสกลนครเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

12.กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหาสารคาม และจังหวัดร้อยเอ็ด โดยให้จังหวัดขอนแก่นเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

13.กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วยจังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ และจังหวัดสุรินทร์ โดยให้จังหวัดนครราชสีมาเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

14. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย จังหวัดยโสธร จังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี โดยให้จังหวัดอุบลราชธานีเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

15. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 ประกอบด้วย จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัดลำปาง และจังหวัดลำพูน โดยให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

16. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา และจังหวัดแพร่ โดยให้จังหวัดเชียงรายเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

17.กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย จังหวัดตาก จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยให้จังหวัดพิษณุโลกเป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

18. กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย จังหวัดกำแพงเพชร จังหวัดนครสวรรค์ จังหวัดพิจิตร และจังหวัดอุทัยธานี โดยให้จังหวัดนครสวรรค์เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด

การจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด

ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 53/1 ได้กำหนดให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นในจังหวัด

ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุมปรึกษาหารือร่วมกันระหว่างหัวหน้าส่วนราชการที่มีสถานที่ตั้งทำการอยู่ในจังหวัดไม่ว่าจะเป็นราชการบริหารส่วนภูมิภาค หรือราชการบริหารส่วนกลาง และผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในจังหวัด รวมทั้งผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน

พระราชกฤษฎีว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 ได้กำหนดแนวทางการจัดทำแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดในมาตรา 27 โดยมีวิธีการดังนี้ คือ

1. ให้คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุมจังหวัดแบบบูรณาการ( ก.น.จ.) เป็นผู้กําหนดนโยบาย หลักเกณฑ และวิธีการในการจัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด

2. คณะกรรมการบริหารงานกลุมจังหวัดแบบบูรณาการเป็นผู้ดําเนินการจัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด โดยจัดทำเป็นแผนสี่ป การจัดทำต้องคํานึงถึงความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น ในจังหวัด รวมตลอดถึงความพร้อมของภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน และยุทธศาสตร์ระดับชาติ

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดต้องระบุรายละเอียดของวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดต้องให้คณะรัฐมนตรีเห็นชอบ จากนั้นให้คณะกรรมการบริหารกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีกลุ่มจังหวัดโดยระบุรายละเอียดของโครงการ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของงาน หน่วยงานผู้รับผิดชอบและงบประมาณที่ต้องใช้ดำเนินการ

แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด

แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด จะต้องคำนึงถึงแนวทาง ดังนี้[5]

1. ต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดินแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค ยุทธศาสตร์รายสาขา/เฉพาะด้าน รวมทั้งสอดคล้องกับศักยภาพ โอกาส สภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่

2. คุณภาพของแผน ในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ที่มีคุณภาพ จะต้องผ่านกระบวนการเห็นชอบร่วมกันของทุกฝ่าย และแผนดังกล่าวจะต้องมีความชัดเจน ความเป็นเหตุเป็นผลของแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดที่สอดคล้อง เชื่อมโยงตั้งแต่วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ จนถึงแผนงาน/โครงการ (Logical Framework) โดยมีรายละเอียดดังนี้

(1) มีการกำหนดประเด็นปัญหาและโอกาสการพัฒนาชัดเจนทั้งในเชิงของขนาด และพื้นที่ พร้อมทั้งจัดลำดับความสำคัญของปัญหาและโอกาสการพัฒนานั้น ๆ

(2) มีวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพที่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นถึงการแก้ปัญหา และการใช้โอกาสในการพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด

(3) มีประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา และการแก้ไขปัญหาที่ตอบสนองกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแผน โดยในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์จะต้องมีการหาข้อตกลงร่วมกันเพื่อยืนยันประเด็นยุทธศาสตร์นั้น ๆ และเป็นที่ยอมรับของทุกภาคส่วน

(4) มีการจัดลำดับความสำคัญของประเด็นยุทธศาสตร์

(5) มีแผนงาน/โครงการ ตอบสนองกับแนวทางพัฒนานั้น ๆ

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดจะเป็นการสนับสนุนให้การปฏิบัติราชการของจังหวัดต่างๆ เป็นการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ มีหน่วยงานเชิงยุทธศาสตร์ภาครัฐในระดับพื้นที่ที่มีศักยภาพและสมรรถภาพสูง สามารถประสานและกำกับดูแลการปฏิบัติราชการของทุกส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ และส่งเสริมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่ ให้สามารถริเริ่ม แก้ไขปัญหา และพัฒนาพื้นที่ของตนเอง รวมทั้งส่งเสริมให้เกิดระบบงานที่มีกระบวนการสร้างความเห็นพ้องต้องกันของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการด้วยความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง และมีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจนในการบริหารราชการระดับพื้นที่

แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดคือการกำหนดบูรณาการยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ สรรพกำลังและทรัพยากรในจังหวัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ทำให้การทำงานเกิดการประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในสังคมอย่างมีทิศทางและเป้าหมายร่วมกัน รวมทั้งมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงานในการบริหาร การพัฒนา การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาในเขตพื้นที่จังหวัดอย่างชัดเจน

อ้างอิง

  1. พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 มาตรา 3
  2. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, แนวทางการบริหารราชการแบบกลุ่มจังหวัด [ออนไลน์] , แหล่งข้อมูล : http://www.opdc.go.th/content.php?menu_id=5&content_id=780
  3. สำนักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, ความเป็นมาของการแบ่งกลุ่มจังหวัด [ออนไลน์], แหล่งข้อมูล : http://www.osm.moi.go.th/images/stories/april/osm1.pdf .
  4. ประกาศคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ เรื่อง การจัดตั้งกลุ่มจังหวัดและกำหนดจังหวัดที่เป็นศูนย์ปฏิบัติการของกลุ่มจังหวัด,ราชกิจานุเบกษา เล่ม 126 ตอนพิเศษ 28 ง ลงวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2552.
  5. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยระบบการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546

หนังสืออ่านประกอบ

ประสิทธิ์ การกลาง,รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการพัฒนาขีดสมรรถนะจังหวัดในการจัดทำแผนและงบประมาณจังหวัดและกลุ่มจังหวัด,(กรุงเทพมหานคร  : สถาบันดำรงราชานุภาพ, 2552).

สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด กระทรวงมหาดไทย,วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด,(กรุงเทพมหานคร : สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด,2547).

สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารราชการจังหวัด สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, รายงานการศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารจัดการของกลุ่มจังหวัดในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระดับพื้นที่,(กรุงเทพมหานคร  : สถาบันดำรงราชานุภาพ, 2548).