ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สยามก่อนกาลอภิวัฒน์"
ล สยามก่อกาลอภิวัฒน์ ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น สยามก่อนกาลอภิวัฒน์ |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
สภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำไปทั่วโลกส่งผลกระทบอย่างหนักต่อเศรษฐกิจของสยามในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[รัฐบาล]]ต้องแก้ไขปัญหาเพื่อให้รายได้สอดรับกับงบประมาณแผ่นดิน มีการยุบหน่วยงาน ปลดข้าราชการ เพื่อลดรายจ่ายของรัฐบาลขณะนั้น นับเป็นช่วงเวลาที่ย่ำแย่อย่างเห็นได้ชัด | |||
ด้านความเคลื่อนไหวทางการเมืองมี ๒ กลุ่มที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองชัดเจน | ด้านความเคลื่อนไหวทางการเมืองมี ๒ กลุ่มที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองชัดเจน คือกลุ่มลัทธิเสรีนิยมและ[[ระบอบประชาธิปไตย]]แบบตะวันตก กับกลุ่มลัทธิคอมมิวนิสต์ ที่คอยสร้างความผันแปรทางการเมืองอยู่ตลอดเวลา | ||
แล้วสยาม...จะเดินหน้าต่อไปอย่างไรท่ามกลางกระแสความร้อนแรงของวิกฤตการณ์เหล่านี้? | แล้วสยาม...จะเดินหน้าต่อไปอย่างไรท่ามกลางกระแสความร้อนแรงของวิกฤตการณ์เหล่านี้? |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 10:30, 10 กุมภาพันธ์ 2559
สภาพเศรษฐกิจที่ตกต่ำไปทั่วโลกส่งผลกระทบอย่างหนักต่อเศรษฐกิจของสยามในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัฐบาลต้องแก้ไขปัญหาเพื่อให้รายได้สอดรับกับงบประมาณแผ่นดิน มีการยุบหน่วยงาน ปลดข้าราชการ เพื่อลดรายจ่ายของรัฐบาลขณะนั้น นับเป็นช่วงเวลาที่ย่ำแย่อย่างเห็นได้ชัด
ด้านความเคลื่อนไหวทางการเมืองมี ๒ กลุ่มที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองชัดเจน คือกลุ่มลัทธิเสรีนิยมและระบอบประชาธิปไตยแบบตะวันตก กับกลุ่มลัทธิคอมมิวนิสต์ ที่คอยสร้างความผันแปรทางการเมืองอยู่ตลอดเวลา
แล้วสยาม...จะเดินหน้าต่อไปอย่างไรท่ามกลางกระแสความร้อนแรงของวิกฤตการณ์เหล่านี้?
เหตุการณ์บ้านเมืองในรัชสมัยที่ดูวุ่นวายและไม่เงียบสงบเหล่านี้ ทำให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่สบายพระราชหฤทัย...ดังเช่นพระราชกระแสตอบเสนาบดีกระทรวงธรรมการว่า…
“...ความนิยมและนับถือในองค์สมเด็จพระเจ้าแผ่นดินอย่างที่เคยเป็นมาก่อน ฉันเห็นว่าจะกลับฟื้นขึ้น อย่างแต่ก่อนไม่ได้อีกแล้ว...”
ที่มา
บทสารคดี “ปกเกล้าธรรมราชา” สารคดีเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ในวโรกาสครบ ๑๒๐ ปี แห่งวันพระบรมราชสมภพและเป็นบุคคลสำคัญของโลก โดยองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ประจำปี ๒๕๕๖