ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจำปี 2555"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัดที่ 29: | บรรทัดที่ 29: | ||
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ เสด็จฯ แทนพระองค์ มาทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจำปี 2555 | พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ เสด็จฯ แทนพระองค์ มาทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจำปี 2555 | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C%20%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%20VTS_01_1.VOB วีดีทัศน์เรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภา”] ''(แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)'' | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/8-11%20Parliamentary%20Reform_Keynote_Mr.%20Pierre-Francois.pdf Mr. Anders B. Johnsson ปาฐกถานำ เรื่อง “Parliamentary Reform”] | ||
'''อภิปรายเรื่อง''' “การปฏิรูปรัฐสภา: ประสบการณ์จากต่างประเทศ โดย | '''อภิปรายเรื่อง''' “การปฏิรูปรัฐสภา: ประสบการณ์จากต่างประเทศ โดย | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/8-11%20PARLIAMENTARY%20REFORM,%20Bangkok.pdf Mrs. Timo Pangerang (อินโดนีเซีย)] | ||
Mr. Pierre-Francois Derminon (ฝรั่งเศส) | Mr. Pierre-Francois Derminon (ฝรั่งเศส) | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/8-11%20Parliamentary%20Reforms_Dr.Sonam1_Update.pdf Dr.Sonam Kinga (ภูฏาน)] | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/8-11%20PARUAMENTARY%20REFORM%20IN%20THE%20UK.pdf Assoc.Prof. M.R. Prudhisan Jumbala (อังกฤษ)] | ||
บรรทัดที่ 77: | บรรทัดที่ 77: | ||
'''ผลการประชุมกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม''' | '''ผลการประชุมกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม''' | ||
'''กลุ่มย่อยที่ 1''' [http:// | '''กลุ่มย่อยที่ 1''' [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/1.ppt บทบาทด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ขจิต จิตตเสวี ] | ||
'''กลุ่มย่อยที่ 2''' [http:// | '''กลุ่มย่อยที่ 2''' [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/2.ppt บทบาทด้านการตรวจสอบ และถ่วงดุลของรัฐสภา โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ] | ||
'''กลุ่มย่อยที่ 3''' [http:// | '''กลุ่มย่อยที่ 3''' [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/3.ppt บทบาทด้านงบประมาณของรัฐ โดย ดร. สติธร ธนานิธิโชติ] | ||
'''กลุ่มย่อยที่ 4''' [http:// | '''กลุ่มย่อยที่ 4''' [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/4.ppt บทบาทด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน โดย นายศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์ ] | ||
'''กลุ่มย่อยที่ 5''' [http:// | '''กลุ่มย่อยที่ 5''' [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/5.ppt รัฐสภากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรทัย ก๊กผล] | ||
'''''ผู้ดำเนินรายการ''''' : รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย (รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า) | '''''ผู้ดำเนินรายการ''''' : รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย (รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า) | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/media/%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A5%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%B2%2055%20VIDEO_TS/VTS_01_1.VOB วีดิทัศน์รางวัลพระปกเกล้าและพิธีมอบรางวัลพระปกเกล้า] | ||
''(แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)'' | ''(แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)'' | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/10-11%20ppt%20%20%E0%B8%AD.%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C%20%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%A7%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B9%83%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%AA%E0%B8%A0%E0%B8%B2.pdf ศ.ดร. บวรศักดิ์ อุวรรณโณ แสดงปาฐกถาปิดและกล่าวปิดการประชุม โดย ศาสตราจารย์ ดร.บวรศักดิ์ อุวรรณโณ เลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า ] | ||
[http:// | [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/kpi%2015/VTS_01_0.IFO วีดิทัศน์การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15] | ||
''(แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)'' | ''(แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)'' | ||
'''ประวัติผู้แสดงปาฐกถาและวิทยากร''' | '''ประวัติผู้แสดงปาฐกถาและวิทยากร''' | ||
1. [http:// | 1. [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/8-11%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2.pdf ผู้แสดงปาฐกถานำ และ วิทยากรอภิปรายร่วมระหว่างผู้แทนจากต่างประเทศ วันที่ 8 พ.ย. 55] | ||
2. [http:// | 2. [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/9-11%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%A0%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2.pdf ผู้แสดงปาฐกถาเปิด และวิทยากรอภิปรายเรื่อง “แนวทางการปฏิรูปรัฐสภาไทย”วันที่ 9 พ.ย. 55] | ||
3. [http:// | 3. [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/10-11%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%20KPI14.pdf ผู้สรุปกลุ่มย่อย วันที่ 10 พ.ย. 55] | ||
4. [http:// | 4. [http://kpi2.kpi.ac.th/kpith/downloads/KPI14_PPT%20%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%2010/9-11%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%90%E0%B8%81%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%94%20KPI14.pdf ผู้แสดงปาฐกถาปิด วันที่ 10 พ.ย. 55] | ||
[[หมวดหมู่: วิทยานิพนธ์ / งานวิจัย / หนังสือต่าง ๆ]] | [[หมวดหมู่: วิทยานิพนธ์ / งานวิจัย / หนังสือต่าง ๆ]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:31, 12 พฤศจิกายน 2558
หลักการและเหตุผล รัฐสภาถือได้ว่าเป็นสถาบันการเมืองที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการปกครองระบอบประชาธิปไตย เพราะเป็นสถาบันตัวแทนประชาชน มีหน้าที่รักษาผลประโยชน์ของประชาชน ศึกษาอภิปรายประเด็นปัญหาเพื่อเสนอแนะหนทางแก้ไข ตรากฎหมายเพื่อใช้บังคับในสังคม พิจารณาอนุมัติงบประมาณ ติดตาม ควบคุม และตรวจสอบการทำหน้าที่ของรัฐบาล รวมถึงการทำหน้าที่ส่งเสริมและสร้างสรรค์วัฒนธรรมทางการเมืองที่พึงปรารถนา และในกรณีของวุฒิสภา ซึ่งรัฐธรรมนูญได้กำหนดให้มีอำนาจหน้าที่เป็นพิเศษจากสภาผู้แทนราษฎร คือมีอำนาจแต่งตั้งและถอดถอนบุคลากรขององค์กรอิสระที่ทำหน้าที่ตรวจสอบควบคุมการใช้อำนาจรัฐ อีกทั้งมีอำนาจถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง หากปรากฏหรือส่อว่าใช้อำนาจรัฐไปในทางทุจริตหรือผิดกฎหมายการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภานี้ อาจกล่าวได้ว่า ต้นกำเนิดของอำนาจอธิปไตยอยู่ที่รัฐสภา เพราะมาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง เป็นผู้ใช้อำนาจแทนประชาชน โดยเฉพาะอำนาจในการแต่งตั้งรัฐบาล และควบคุมรัฐบาล ดังนั้น ในการบริหารประเทศ รัฐบาลจึงต้องรับผิดชอบต่อรัฐสภา และอยู่ในอำนาจได้เท่าที่ได้รับความไว้วางใจจากรัฐสภา
ประเทศไทยได้มีการนำระบบรัฐสภามาใช้ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยแรกเริ่มอยู่ในรูปแบบของสภาเดี่ยว และในปี พ.ศ. 2489 เริ่มมีการนำระบบสภาคู่มาใช้ แต่ความผันผวนทางการเมือง ทำให้มีการนำระบบสภาเดี่ยวมาใช้อีก อย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 เป็นต้นมา รัฐธรรมนูญฉบับถาวรทุกฉบับกำหนดให้ระบบรัฐสภาไทยเป็นระบบสภาคู่
ในด้านการทำหน้าที่ของรัฐสภาไทย ทั้งในแง่ของการตรากฎหมาย การประชุมสภา การเป็นตัวแทนประชาชน การสร้างสรรค์วัฒนธรรมทางการเมือง การอนุมัติงบประมาณ ตลอดจนการควบคุมตรวจสอบรัฐบาลนั้น ยังมีความไม่สมบูรณ์ในบางส่วน ทำให้ไม่สามารถแสดงศักยภาพและประสิทธิภาพของการเป็นตัวแทนรักษาผลประโยชน์ของประชาชนและประเทศชาติได้เต็มที่ ผลก็คือ การตรากฎหมายสำคัญๆล่าช้า ไม่ทันการณ์ รัฐสภาไม่สามารถทำหน้าที่ชี้นำฝ่ายบริหาร ขาดข้อมูล แสดงบทบาทในเชิงรับมากกว่าเชิงรุก และไม่ได้ทำหน้าที่เป็นสถาบันสร้างสรรค์และส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองที่ดีแก่สังคม
ดังนั้น เพื่อที่จะให้รัฐสภาเป็นองค์กรที่สามารถปฏิบัติภารกิจได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และเป็นที่ภาคภูมิใจของประชาชนชาวไทย จึงน่าจะมีการวิเคราะห์และทบทวนบทบาทการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา ระบบการตรวจสอบและถ่วงดุลของรัฐสภา ความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงระหว่างรัฐสภากับประชาชน ตลอดจนคุณธรรมจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภา ทั้งมุมมองจากในประเทศ และมุมมองของต่างประเทศ ซึ่งไม่ได้เน้นแต่เพียงในส่วนของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเท่านั้น แต่ยังต้องเป็นการมองถึงระบบกลไก หรือโครงสร้างที่สนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร รวมไปถึงโครงสร้างของคณะกรรมาธิการ ซึ่งเป็นกลไกที่มีบทบาทหลักในการทำงานในรายละเอียดในการตรากฎหมายอีกด้วย
ด้วยเหตุนี้ จึงมีความจำเป็นที่จะมีการระดมความคิดจากมุมมองของทุกภาคส่วนในสังคม เพื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบ ตลอดจนทบทวนการเรียนรู้จากนานาประเทศถึงรูปแบบการทำงานที่มีประสิทธิภาพของรัฐสภา เพื่อวิเคราะห์ พัฒนาและค้นหาแนวทางปฏิรูประบบรัฐสภาให้มีประสิทธิภาพสมกับการเป็นตัวแทนของประชาชน โดยทำการศึกษาขององค์ประกอบที่สำคัญต่างๆ เพื่อที่จะเป็นกรอบที่สำคัญที่จะนำไปสู่ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูประบบรัฐสภาให้เป็นสถาบันทางการเมืองหลักที่ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์สมกับการเป็นตัวแทนของประชาชนชาวไทย
สถาบันพระปกเกล้า ซึ่งมีพันธกิจสำคัญในการพัฒนาประชาธิปไตย จึงจัดให้มีการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้าครั้งที่ 14 ประจำปี 2555 (KPI Congress XIV) ในหัวข้อ “การปฏิรูปรัฐสภา: มุมมองเชิงเปรียบเทียบ” (Parliamentary Reform: Comparative Perspectives) ขึ้น เพื่อเป็นเวทีสาธารณะในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทบทวนหาคำตอบถึงแนวทางการปฏิรูประบบรัฐสภา เพื่อสร้างสังคมที่ยุติธรรม สมานฉันท์ และมีธรรมภิบาล ให้กับทุกภาคส่วนของสังคมด้วยโครงสร้างของรัฐสภาที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพต่อบริบทของสังคมประชาธิปไตยไทย…..ดาวน์โหลดรายละเอียดเพิ่มเติม
จดหมายข่าว วันศุกร์ที่ 8 พ.ย. 2555
จดหมายข่าว วันเสาร์ที่ 9 พ.ย. 2555
เอกสารประกอบการสัมมนา
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ เสด็จฯ แทนพระองค์ มาทรงเป็นประธานในพิธีเปิดการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 14 ประจำปี 2555
วีดีทัศน์เรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภา” (แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)
Mr. Anders B. Johnsson ปาฐกถานำ เรื่อง “Parliamentary Reform”
อภิปรายเรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภา: ประสบการณ์จากต่างประเทศ โดย
Mrs. Timo Pangerang (อินโดนีเซีย)
Mr. Pierre-Francois Derminon (ฝรั่งเศส)
Assoc.Prof. M.R. Prudhisan Jumbala (อังกฤษ)
นายนิคม ไวยรัชพานิช ประธานวุฒิสภา ปาฐกถา เรื่อง “การปฏิรูปรัฐสภาไทย”
อภิปราย เรื่อง “แนวทางการปฏิรูปรัฐสภาไทย” โดย ดร.ดิเรก ถึงฝั่ง นายจาตุรนต์ ฉายแสง ศ.ดร.ลิขิต ธีรเวคิน ศ.ดร.ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์
การประชุมกลุ่มย่อย
กลุ่มย่อยที่ 1 บทบาทด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา
กลุ่มย่อยที่2 บทบาทด้านการตรวจสอบ และถ่วงดุลของรัฐสภา
กลุ่มย่อยที่ 3 บทบาทด้านการงบประมาณของรัฐสภา
กลุ่มย่อยที่ 4 บทบาทด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน
กลุ่มย่อยที่ 5 รัฐสภากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ผลการประชุมกลุ่มย่อย 5 กลุ่ม
กลุ่มย่อยที่ 1 บทบาทด้านนิติบัญญัติของรัฐสภา โดย รองศาสตราจารย์ ดร. ขจิต จิตตเสวี
กลุ่มย่อยที่ 2 บทบาทด้านการตรวจสอบ และถ่วงดุลของรัฐสภา โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
กลุ่มย่อยที่ 3 บทบาทด้านงบประมาณของรัฐ โดย ดร. สติธร ธนานิธิโชติ
กลุ่มย่อยที่ 4 บทบาทด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน โดย นายศุภณัฐ เพิ่มพูนวิวัฒน์
กลุ่มย่อยที่ 5 รัฐสภากับการสร้างวัฒนธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อรทัย ก๊กผล
ผู้ดำเนินรายการ : รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย (รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า)
วีดิทัศน์รางวัลพระปกเกล้าและพิธีมอบรางวัลพระปกเกล้า (แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)
วีดิทัศน์การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 15 (แสดงผลได้สมบูรณ์ ด้วย web browser Internet Explorer version 8.0 - Mozilla Firefox)
ประวัติผู้แสดงปาฐกถาและวิทยากร
1. ผู้แสดงปาฐกถานำ และ วิทยากรอภิปรายร่วมระหว่างผู้แทนจากต่างประเทศ วันที่ 8 พ.ย. 55
2. ผู้แสดงปาฐกถาเปิด และวิทยากรอภิปรายเรื่อง “แนวทางการปฏิรูปรัฐสภาไทย”วันที่ 9 พ.ย. 55