ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าที่ถูกสร้างด้วย ''''ผู้เรียบเรียง''' รติกร เจือกโว้น ---- '''ผู้ทรงคุณวุฒ...'
 
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 15: บรรทัดที่ 15:
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย หรือ The initiative process คือ กระบวนการที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมือง โดยการที่ประชาชนจำนวนหนึ่งซึ่งมีเจตนารมณ์หรือความต้องการเช่นเดียวกันเพื่อที่จะให้มีกฎหมายหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งมาร่วมเข้าชื่อกัน เมื่อมีผู้เข้าชื่อครบจำนวนตามที่กฎหมายของแต่ละประเทศกำหนดแล้วก็สามารถเสนอกฎหมายได้ ซึ่งประเภทของกฎหมายที่เสนอได้นั้นแต่ละประเทศก็จะกำหนดไว้ต่างกันออกไป
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย หรือ The initiative process คือ กระบวนการที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมือง โดยการที่ประชาชนจำนวนหนึ่งซึ่งมีเจตนารมณ์หรือความต้องการเช่นเดียวกันเพื่อที่จะให้มีกฎหมายหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งมาร่วมเข้าชื่อกัน เมื่อมีผู้เข้าชื่อครบจำนวนตามที่กฎหมายของแต่ละประเทศกำหนดแล้วก็สามารถเสนอกฎหมายได้ ซึ่งประเภทของกฎหมายที่เสนอได้นั้นแต่ละประเทศก็จะกำหนดไว้ต่างกันออกไป
สำหรับประเทศไทยนั้น สิทธิในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของประชาชนโดยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้รับการรับรองเป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 78.</ref> โดยได้บัญญัติไว้ใน มาตรา 170 ซึ่งกำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า 50,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ต่อมาเมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550[4] ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ในมาตรา 163 ซึ่งกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ  นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 291 ยังได้บัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได้ โดยกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิในการขอเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ส่วนหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
สำหรับประเทศไทยนั้น สิทธิในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของประชาชนโดยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้รับการรับรองเป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 78.</ref> โดยได้บัญญัติไว้ใน มาตรา 170 ซึ่งกำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า 50,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ต่อมาเมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 121.</ref> ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ในมาตรา 163 ซึ่งกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ  นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 291 ยังได้บัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได้ โดยกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิในการขอเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ส่วนหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย


การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย นอกจากจะอาศัยอำนาจตามมาตรา 163 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แล้ว ยังมีกฎหมายอื่นที่ใช้ในการกำหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย คือ
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย นอกจากจะอาศัยอำนาจตามมาตรา 163 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แล้ว ยังมีกฎหมายอื่นที่ใช้ในการกำหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย คือ
บรรทัดที่ 25: บรรทัดที่ 25:
3. ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และหลักเกณฑ์การขอใช้สิทธิเข้าชื่อนอกเขตและการตรวจสอบ พ.ศ. 2542  
3. ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และหลักเกณฑ์การขอใช้สิทธิเข้าชื่อนอกเขตและการตรวจสอบ พ.ศ. 2542  


==ผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[5]==
==ผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2556).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน.  [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556.  เข้าถึงได้จาก http://www.parliament.go.th</ref>==


ผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ได้แก่ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยจะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 99 และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 100 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนี้
ผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ได้แก่ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยจะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 99 และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 100 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนี้
บรรทัดที่ 36: บรรทัดที่ 36:


(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง
(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งอยู่นอกเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาน้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่อยู่นอกราชอาณาจักรย่อมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งอยู่นอกเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาน้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่อยู่นอกราชอาณาจักรย่อมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา


'''มาตรา 100''' บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
'''มาตรา 100''' บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
  (1) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
 
  (2) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
(1) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
  (3) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
 
  (4) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
(2) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง
 
(3) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
 
(4) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ทั้งนี้ พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542[6] ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 6 มีใจความสำคัญว่า เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้ใดร่วมลงชื่อในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยถูกต้องตามกระบวนการที่บัญญัติไว้ในกฎหมายฉบับดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าการเข้าชื่อนั้นมีผลสมบูรณ์และจะถอนการเข้าชื่อในภายหลังไม่ได้
ทั้งนี้ พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542<ref>“พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542” (2542, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา.  เล่ม 116 ตอนที่ 20 ก.  หน้า 31.</ref> ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 6 มีใจความสำคัญว่า เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้ใดร่วมลงชื่อในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยถูกต้องตามกระบวนการที่บัญญัติไว้ในกฎหมายฉบับดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าการเข้าชื่อนั้นมีผลสมบูรณ์และจะถอนการเข้าชื่อในภายหลังไม่ได้


== วิธีการและขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[7] ==
== วิธีการและขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 28-38.</ref> ==


พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 ได้กำหนดวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ 2 วิธี คือ
พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 ได้กำหนดวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ 2 วิธี คือ
1. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อเสนอกฎหมาย มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้  
1. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อเสนอกฎหมาย มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้  
ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมรายชื่อและเอกสาร
 
เมื่อมีผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งจะเป็นบุคคลและคณะบุคคลประสงค์จะให้มีการออกกฎหมายในเรื่องใด ผู้นั้นก็จะเป็น
'''ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมรายชื่อและเอกสาร'''
ผู้ริเริ่มเสนอกฎหมาย โดยจัดทำร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา ซึ่งจะต้องจัดทำตามรูปแบบการเสนอกฎหมายและมีฐานะเป็นผู้แทนการเสนอกฎหมายซึ่งมีหน้าที่จะต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา โดยจะต้องจัดทำตามรูปแบบการเสนอกฎหมาย คือ มีบันทึกหลักการและเหตุผลแห่งร่างพระราชบัญญัติ  มีบทบัญญัติแบ่งเป็นมาตราที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่ามีความประสงค์จะตรากฎหมายในเรื่องใด และต้องมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเท่านั้น นอกจากนี้ จะต้องไปรวบรวมรายชื่อของประชาชนให้ได้อย่างน้อย 10,000 รายชื่อ พร้อมทั้งเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ซึ่งผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย 1 คน จะต้องมีเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 3 อย่าง ได้แก่
 
เมื่อมีผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งจะเป็นบุคคลและคณะบุคคลประสงค์จะให้มีการออกกฎหมายในเรื่องใด ผู้นั้นก็จะเป็นผู้ริเริ่มเสนอกฎหมาย โดยจัดทำร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา ซึ่งจะต้องจัดทำตามรูปแบบการเสนอกฎหมายและมีฐานะเป็นผู้แทนการเสนอกฎหมายซึ่งมีหน้าที่จะต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา โดยจะต้องจัดทำตามรูปแบบการเสนอกฎหมาย คือ มีบันทึกหลักการและเหตุผลแห่งร่างพระราชบัญญัติ  มีบทบัญญัติแบ่งเป็นมาตราที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่ามีความประสงค์จะตรากฎหมายในเรื่องใด และต้องมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเท่านั้น นอกจากนี้ จะต้องไปรวบรวมรายชื่อของประชาชนให้ได้อย่างน้อย 10,000 รายชื่อ พร้อมทั้งเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ซึ่งผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย 1 คน จะต้องมีเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 3 อย่าง ได้แก่
 
(1) แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1)
(1) แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1)
(2) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้
(2) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้
(3) สำเนาทะเบียนบ้าน
(3) สำเนาทะเบียนบ้าน
โดยเอกสารดังกล่าวต้องเป็นเอกสารที่มีความชัดเจนและเป็นปัจจุบันซึ่งจะทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบ
 
เมื่อมีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน แล้ว ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายจัดทำบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยแยกบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายออกเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามแบบแสดงบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 2) หลังจากนั้น ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายกรอกข้อความตามแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อผู้แทนการเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 3) ให้ครบถ้วน
โดยเอกสารดังกล่าวต้องเป็นเอกสารที่มีความชัดเจนและเป็นปัจจุบันซึ่งจะทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบ เมื่อมีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน แล้ว ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายจัดทำบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยแยกบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายออกเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามแบบแสดงบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 2) หลังจากนั้น ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายกรอกข้อความตามแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อผู้แทนการเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 3) ให้ครบถ้วน
 
หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่กล่าวมา ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายยื่นเรื่องเสนอต่อประธานรัฐสภา ณ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในวันและเวลาราชการ พร้อมด้วยร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา  แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1) พร้อมทั้งสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายทุกคน แบบแสดงบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 2) และแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อผู้แทนการเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 3) พร้อมทั้งสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้าน   
หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่กล่าวมา ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายยื่นเรื่องเสนอต่อประธานรัฐสภา ณ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในวันและเวลาราชการ พร้อมด้วยร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา  แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1) พร้อมทั้งสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายทุกคน แบบแสดงบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 2) และแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อผู้แทนการเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 3) พร้อมทั้งสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้าน   
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบความถูกต้องของร่างพระราชบัญญัติ และเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะดำเนินการดังนี้
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบความถูกต้องของร่างพระราชบัญญัติ และเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะดำเนินการดังนี้
1. การรับมอบเอกสารจากผู้แทนการเสนอกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะตรวจสอบจำนวนเอกสารของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมจัดทำหนังสือยืนยันจำนวนรายการของเอกสารที่รับมอบให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายลงลายมือชื่อกำกับและให้มีพยานลงลายมือชื่อ เพื่อรับรองความถูกต้องของจำนวนเอกสารด้วย
1. การรับมอบเอกสารจากผู้แทนการเสนอกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะตรวจสอบจำนวนเอกสารของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมจัดทำหนังสือยืนยันจำนวนรายการของเอกสารที่รับมอบให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายลงลายมือชื่อกำกับและให้มีพยานลงลายมือชื่อ เพื่อรับรองความถูกต้องของจำนวนเอกสารด้วย
2. ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้พิจารณาว่าร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเสนอมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่  
2. ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้พิจารณาว่าร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเสนอมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่  
3. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะทำการตรวจสอบเอกสารการเข้าชื่อเสนอกฎหมายว่าเอกสารที่ผู้แทนการเสนอกฎหมายส่งมานั้นมีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายจำนวนครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนดไว้หรือไม่ และผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายได้กรอกข้อมูลและลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1) ครบถ้วนหรือไม่ พร้อมทั้งตรวจสอบเอกสารประกอบการเข้าชื่อการเสนอกฎหมาย คือ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายว่ามีความถูกต้องและครบถ้วนหรือไม่
3. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะทำการตรวจสอบเอกสารการเข้าชื่อเสนอกฎหมายว่าเอกสารที่ผู้แทนการเสนอกฎหมายส่งมานั้นมีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายจำนวนครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนดไว้หรือไม่ และผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายได้กรอกข้อมูลและลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1) ครบถ้วนหรือไม่ พร้อมทั้งตรวจสอบเอกสารประกอบการเข้าชื่อการเสนอกฎหมาย คือ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายว่ามีความถูกต้องและครบถ้วนหรือไม่
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการกรณีรายชื่อไม่ครบ 10,000 รายชื่อ
ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการกรณีรายชื่อไม่ครบ 10,000 รายชื่อ
หากปรากฏว่ามีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและเอกสารหลักฐานไม่ครบตามที่กฎหมายกำหนด สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายทราบ เพื่อให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายไปดำเนินการรวบรวมรายชื่อเพิ่มเติมให้ครบ 10,000 รายชื่อ ภายใน 30 วัน ถ้าพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ผู้แทนการเสนอกฎหมายยังไม่ส่งรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายเพิ่มเติมให้ครบ 10,000 คน ประธานรัฐสภาจะสั่งจำหน่ายเรื่อง
หากปรากฏว่ามีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและเอกสารหลักฐานไม่ครบตามที่กฎหมายกำหนด สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายทราบ เพื่อให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายไปดำเนินการรวบรวมรายชื่อเพิ่มเติมให้ครบ 10,000 รายชื่อ ภายใน 30 วัน ถ้าพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ผู้แทนการเสนอกฎหมายยังไม่ส่งรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายเพิ่มเติมให้ครบ 10,000 คน ประธานรัฐสภาจะสั่งจำหน่ายเรื่อง
ขั้นตอนที่ 4 การปิดประกาศรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและการคัดค้าน  
ขั้นตอนที่ 4 การปิดประกาศรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและการคัดค้าน  
เมื่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อและเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายแล้ว ปรากฏว่ามีจำนวนครบตามที่กฎหมายกำหนด คือ ไม่น้อยกว่า 10,000 รายชื่อ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะจัดส่งบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายไปปิดประกาศตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน เขตชุมชนหนาแน่น ทั้งนี้ เฉพาะในเขตท้องที่ที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
เมื่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อและเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายแล้ว ปรากฏว่ามีจำนวนครบตามที่กฎหมายกำหนด คือ ไม่น้อยกว่า 10,000 รายชื่อ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะจัดส่งบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายไปปิดประกาศตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน เขตชุมชนหนาแน่น ทั้งนี้ เฉพาะในเขตท้องที่ที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน
หากประชาชนผู้ใดพบว่ามีรายชื่อของตนเป็นผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยที่ตนมิได้ร่วมลงชื่อเสนอกฎหมายด้วย ให้ผู้นั้นยื่นคำร้องคัดค้านตามแบบคำร้องคัดค้านรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 4) ต่อประธานรัฐสภาหรือผู้ที่ประธานรัฐสภาแต่งตั้งให้เป็นผู้รับคำร้องคัดค้าน เพื่อให้ทำการขีดฆ่าชื่อของตนออกจากบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายภายใน 20 วัน นับแต่วันปิดประกาศ หากพ้นกำหนดดังกล่าว ไม่มีผู้ใดคัดค้านให้ถือว่าไม่มีผู้คัดค้าน   
 
หากประชาชนผู้ใดพบว่ามีรายชื่อของตนเป็นผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยที่ตนมิได้ร่วมลงชื่อเสนอกฎหมายด้วย ให้ผู้นั้นยื่นคำร้องคัดค้านตามแบบคำร้องคัดค้านรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 4) ต่อประธานรัฐสภาหรือผู้ที่ประธานรัฐสภาแต่งตั้งให้เป็นผู้รับคำร้องคัดค้าน เพื่อให้ทำการขีดฆ่าชื่อของตนออกจากบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายภายใน 20 วัน นับแต่วันปิดประกาศ หากพ้นกำหนดดังกล่าว ไม่มีผู้ใดคัดค้านให้ถือว่าไม่มีผู้คัดค้าน  
   
กรณีมีผู้คัดค้านภายในกำหนดเวลา 20 วัน จนทำให้รายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนไม่ครบ 10,000 คน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายทราบ เพื่อให้ยื่นรายชื่อเพิ่มเติมภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง  
กรณีมีผู้คัดค้านภายในกำหนดเวลา 20 วัน จนทำให้รายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนไม่ครบ 10,000 คน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายทราบ เพื่อให้ยื่นรายชื่อเพิ่มเติมภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง  
กรณีไม่มีการคัดค้าน หรือมีการคัดค้าน แต่รายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนครบจำนวน 10,000 คน ตามที่กฎหมายกำหนด ประธานรัฐสภาจะดำเนินการนำร่างพระราชบัญญัติที่เสนอเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาต่อไป
กรณีไม่มีการคัดค้าน หรือมีการคัดค้าน แต่รายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนครบจำนวน 10,000 คน ตามที่กฎหมายกำหนด ประธานรัฐสภาจะดำเนินการนำร่างพระราชบัญญัติที่เสนอเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาต่อไป
2. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้ดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้ คือ
2. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้ดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้ คือ
ขั้นตอนที่ 1 การริเริ่มเสนอกฎหมาย  
 
'''ขั้นตอนที่ 1 การริเริ่มเสนอกฎหมาย'''
 
ในขั้นตอนแรกของการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย จะต้องมีผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป ที่ประสงค์จะขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยให้ยื่นคำขอพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมทั้งจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 2)
ในขั้นตอนแรกของการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย จะต้องมีผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป ที่ประสงค์จะขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยให้ยื่นคำขอพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมทั้งจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 2)
นอกจากนี้ จะต้องจัดทำร่างกฎหมายที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา โดยจัดทำในรูปแบบการเสนอกฎหมาย ซึ่งประกอบด้วย บันทึกหลักการและเหตุผลแห่งร่างพระราชบัญญัติ  ร่างพระราชบัญญัติซึ่งจะต้องแบ่งเป็นมาตราที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่ามีความประสงค์จะตรากฎหมายในเรื่องใด ตลอดจนมีหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย และสรุปสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัตินั้น  
นอกจากนี้ จะต้องจัดทำร่างกฎหมายที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา โดยจัดทำในรูปแบบการเสนอกฎหมาย ซึ่งประกอบด้วย บันทึกหลักการและเหตุผลแห่งร่างพระราชบัญญัติ  ร่างพระราชบัญญัติซึ่งจะต้องแบ่งเป็นมาตราที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่ามีความประสงค์จะตรากฎหมายในเรื่องใด ตลอดจนมีหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย และสรุปสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัตินั้น  
หลังจากนั้น จะต้องยื่นคำขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 1) พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้ง ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด
หลังจากนั้น จะต้องยื่นคำขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 1) พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้ง ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด
ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการตรวจสอบเอกสารและปิดประกาศเอกสาร
 
'''ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการตรวจสอบเอกสารและปิดประกาศเอกสาร'''


เมื่อสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับคำขอพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว จะดำเนินการดังนี้
เมื่อสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับคำขอพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว จะดำเนินการดังนี้
บรรทัดที่ 113: บรรทัดที่ 139:
2. กรณีที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบหนึ่งหมื่นคน ประธานกรรมการการเลือกตั้งจะรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องส่งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อพิจารณา หากเห็นว่าถูกต้องและมีผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน ให้ประธานรัฐสภาดำเนินการให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อไป
2. กรณีที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบหนึ่งหมื่นคน ประธานกรรมการการเลือกตั้งจะรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องส่งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อพิจารณา หากเห็นว่าถูกต้องและมีผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน ให้ประธานรัฐสภาดำเนินการให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อไป


3. กรณีที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายไม่ครบหนึ่งหมื่นคน ประธานกรรมการการเลือกตั้งจะรายงานให้ประธานรัฐสภาทราบ เพื่อให้ประธานรัฐสภาสั่งจำหน่ายเรื่อง
3. กรณีที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายไม่ครบหนึ่งหมื่นคน ประธานกรรมการการเลือกตั้งจะรายงานให้ประธานรัฐสภาทราบ เพื่อให้ประธานรัฐสภาสั่งจำหน่ายเรื่องการเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ<ref>สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า  41-42.</ref>
การเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ[8]
 
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ได้วางหลักเกณฑ์และวิธีการในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไว้ ดังนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ได้วางหลักเกณฑ์และวิธีการในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไว้ ดังนี้
ผู้มีสิทธิเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ได้แก่
ผู้มีสิทธิเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ได้แก่


บรรทัดที่ 131: บรรทัดที่ 158:


(3) บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม
(3) บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม
หลักการแห่งร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมนั้นให้กำหนดโดยชัดแจ้ง
หลักการแห่งร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมนั้นให้กำหนดโดยชัดแจ้ง
เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายที่กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่ให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไว้โดยเฉพาะ แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 291 (1) วางหลักว่าญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต้องมาจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ดังนั้น ในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จึงต้องนำหลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 มาบังคับใช้โดยอนุโลม เพราะฉะนั้น วิธีการเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจึงมี 2 วิธี คือ
เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายที่กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่ให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไว้โดยเฉพาะ แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 291 (1) วางหลักว่าญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต้องมาจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ดังนั้น ในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จึงต้องนำหลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 มาบังคับใช้โดยอนุโลม เพราะฉะนั้น วิธีการเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจึงมี 2 วิธี คือ


บรรทัดที่ 141: บรรทัดที่ 170:
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
<references/>
<references/>
[1]


[2]
==เอกสารแนะนำให้อ่านต่อ==
[3]
[4] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 121.
[5] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2556).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน.  [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556.  เข้าถึงได้จาก http://www.parliament.go.th
[6] “พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542” (2542, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา.  เล่ม 116 ตอนที่ 20 ก.  หน้า 31.
[7] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 28-38.
[8] สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า  41-42.
เอกสารแนะนำให้อ่านต่อ
จันทิมา ทองชาติ.  (2551).  การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง).  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
จันทิมา ทองชาติ.  (2551).  การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง).  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บรรณานุกรม
 
==บรรณานุกรม==
 
ปัทมา สูบกำปัง.  (2556).  การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอดีต สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ.  [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556.  เข้าถึงได้จาก http://www.kpi.ac.th/ kpith/ index.php?option=com_content&task=view&id=250&Itemid=214
ปัทมา สูบกำปัง.  (2556).  การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอดีต สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ.  [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556.  เข้าถึงได้จาก http://www.kpi.ac.th/ kpith/ index.php?option=com_content&task=view&id=250&Itemid=214
“พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542” (2542, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา.  เล่ม 116 ตอนที่ 20ก.  หน้า 31.
“พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542” (2542, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา.  เล่ม 116 ตอนที่ 20ก.  หน้า 31.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2554).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2556).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน.  [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556.  เข้าถึงได้จากhttp://www.parliament.go.th/
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2556).  การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน.  [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556.  เข้าถึงได้จากhttp://www.parliament.go.th/
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2550).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.   
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.  (2550).  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550.  กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.   
==ดูเพิ่มเติม==
==ดูเพิ่มเติม==
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
• พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542  
• พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542  
• ประกาศรัฐสภา เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย  
• ประกาศรัฐสภา เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย  
• ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และหลักเกณฑ์การขอใช้สิทธิเข้าชื่อนอกเขตและการตรวจสอบ พ.ศ. 2542  
• ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และหลักเกณฑ์การขอใช้สิทธิเข้าชื่อนอกเขตและการตรวจสอบ พ.ศ. 2542  


[[หมวดหมู่ : กิจกรรมที่เกี่ยวกับกระบวนการทางนิติบัญญัติ]]
[[หมวดหมู่ : กิจกรรมที่เกี่ยวกับกระบวนการทางนิติบัญญัติ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:37, 22 พฤษภาคม 2556

ผู้เรียบเรียง รติกร เจือกโว้น


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ นายจเร พันธุ์เปรื่อง


การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

ตามหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รัฐสภาเป็นองค์กรนิติบัญญัติที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่พิจารณาและให้ความเห็นชอบร่างกฎหมายเพื่อบังคับใช้ในสังคมตามทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจอธิปไตยที่นานาประเทศยอมรับ อย่างไรก็ตาม การแสดงบทบาทอำนาจหน้าที่ของรัฐสภามีข้อจำกัดและอาจไม่สอดคล้องหรือไม่สนองตอบต่อความต้องการของประชาชนได้ครบทุกคน ดังนั้น การกำหนดให้ประชาชนมีสิทธิเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายที่เห็นว่าจำเป็นและเกี่ยวข้องกับกลุ่มตนได้นั้น จึงเป็นการให้สิทธิประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองตามหลักการของประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม อันจะช่วยในการอุดช่องว่างหรือเป็นส่วนเสริมให้ประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนนั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น[1]

ความหมายและที่มาของการเข้าชื่อเสนอกฎหมายในประเทศไทย [2]

การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย หรือ The initiative process คือ กระบวนการที่ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมือง โดยการที่ประชาชนจำนวนหนึ่งซึ่งมีเจตนารมณ์หรือความต้องการเช่นเดียวกันเพื่อที่จะให้มีกฎหมายหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงกฎหมายฉบับใดฉบับหนึ่งมาร่วมเข้าชื่อกัน เมื่อมีผู้เข้าชื่อครบจำนวนตามที่กฎหมายของแต่ละประเทศกำหนดแล้วก็สามารถเสนอกฎหมายได้ ซึ่งประเภทของกฎหมายที่เสนอได้นั้นแต่ละประเทศก็จะกำหนดไว้ต่างกันออกไป

สำหรับประเทศไทยนั้น สิทธิในการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของประชาชนโดยการเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้รับการรับรองเป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540[3] โดยได้บัญญัติไว้ใน มาตรา 170 ซึ่งกำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ต่ำกว่า 50,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณากฎหมายตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ต่อมาเมื่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550[4] ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550 ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้บัญญัติเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ในมาตรา 163 ซึ่งกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 10,000 คน มีสิทธิเข้าชื่อร้องขอต่อประธานรัฐสภา เพื่อให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 291 ยังได้บัญญัติรับรองสิทธิของประชาชนในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญได้ โดยกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิในการขอเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ส่วนหลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย นอกจากจะอาศัยอำนาจตามมาตรา 163 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แล้ว ยังมีกฎหมายอื่นที่ใช้ในการกำหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย คือ

1. พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542

2. ประกาศรัฐสภา เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

3. ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และหลักเกณฑ์การขอใช้สิทธิเข้าชื่อนอกเขตและการตรวจสอบ พ.ศ. 2542

ผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[5]

ผู้มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ได้แก่ ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โดยจะต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 99 และไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 100 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังนี้

มาตรา 99 บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

(1)มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการเปลี่ยนสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี

(2)มีอายุไม่ต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคมของปีที่มีการเลือกตั้ง และ

(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง

ผู้มีสิทธิเลือกตั้งซึ่งอยู่นอกเขตเลือกตั้งที่ตนมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน หรือมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งเป็นเวลาน้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง หรือมีถิ่นที่อยู่นอกราชอาณาจักรย่อมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้ง ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา

มาตรา 100 บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เป็นบุคคลต้องห้ามมิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง

(1) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

(2) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง

(3) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย

(4) วิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ

ทั้งนี้ พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542[6] ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 6 มีใจความสำคัญว่า เมื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้ใดร่วมลงชื่อในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยถูกต้องตามกระบวนการที่บัญญัติไว้ในกฎหมายฉบับดังกล่าวแล้ว ให้ถือว่าการเข้าชื่อนั้นมีผลสมบูรณ์และจะถอนการเข้าชื่อในภายหลังไม่ได้

วิธีการและขั้นตอนการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[7]

พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 ได้กำหนดวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไว้ 2 วิธี คือ

1. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อเสนอกฎหมาย มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมรายชื่อและเอกสาร

เมื่อมีผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งจะเป็นบุคคลและคณะบุคคลประสงค์จะให้มีการออกกฎหมายในเรื่องใด ผู้นั้นก็จะเป็นผู้ริเริ่มเสนอกฎหมาย โดยจัดทำร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา ซึ่งจะต้องจัดทำตามรูปแบบการเสนอกฎหมายและมีฐานะเป็นผู้แทนการเสนอกฎหมายซึ่งมีหน้าที่จะต้องจัดทำร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา โดยจะต้องจัดทำตามรูปแบบการเสนอกฎหมาย คือ มีบันทึกหลักการและเหตุผลแห่งร่างพระราชบัญญัติ มีบทบัญญัติแบ่งเป็นมาตราที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่ามีความประสงค์จะตรากฎหมายในเรื่องใด และต้องมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐเท่านั้น นอกจากนี้ จะต้องไปรวบรวมรายชื่อของประชาชนให้ได้อย่างน้อย 10,000 รายชื่อ พร้อมทั้งเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ซึ่งผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย 1 คน จะต้องมีเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย 3 อย่าง ได้แก่

(1) แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1)

(2) สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้

(3) สำเนาทะเบียนบ้าน

โดยเอกสารดังกล่าวต้องเป็นเอกสารที่มีความชัดเจนและเป็นปัจจุบันซึ่งจะทำให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในการตรวจสอบ เมื่อมีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน แล้ว ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายจัดทำบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยแยกบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายออกเป็นจังหวัด อำเภอ ตำบล และหมู่บ้าน ตามแบบแสดงบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 2) หลังจากนั้น ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายกรอกข้อความตามแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อผู้แทนการเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 3) ให้ครบถ้วน

หลังจากเสร็จสิ้นขั้นตอนที่กล่าวมา ให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายยื่นเรื่องเสนอต่อประธานรัฐสภา ณ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในวันและเวลาราชการ พร้อมด้วยร่างพระราชบัญญัติที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา แบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1) พร้อมทั้งสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายทุกคน แบบแสดงบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 2) และแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อผู้แทนการเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 3) พร้อมทั้งสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้าน

ขั้นตอนที่ 2 การตรวจสอบความถูกต้องของร่างพระราชบัญญัติ และเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะดำเนินการดังนี้

1. การรับมอบเอกสารจากผู้แทนการเสนอกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะตรวจสอบจำนวนเอกสารของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมจัดทำหนังสือยืนยันจำนวนรายการของเอกสารที่รับมอบให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายลงลายมือชื่อกำกับและให้มีพยานลงลายมือชื่อ เพื่อรับรองความถูกต้องของจำนวนเอกสารด้วย

2. ประธานรัฐสภาจะเป็นผู้พิจารณาว่าร่างพระราชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเสนอมีหลักการเกี่ยวกับเรื่องที่บัญญัติตามที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย หรือหมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หรือไม่

3. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะทำการตรวจสอบเอกสารการเข้าชื่อเสนอกฎหมายว่าเอกสารที่ผู้แทนการเสนอกฎหมายส่งมานั้นมีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายจำนวนครบถ้วนตามที่กฎหมายกำหนดไว้หรือไม่ และผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายได้กรอกข้อมูลและลงลายมือชื่อในแบบแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับชื่อ ที่อยู่ ลายมือชื่อของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 1) ครบถ้วนหรือไม่ พร้อมทั้งตรวจสอบเอกสารประกอบการเข้าชื่อการเสนอกฎหมาย คือ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายว่ามีความถูกต้องและครบถ้วนหรือไม่ ขั้นตอนที่ 3 การดำเนินการกรณีรายชื่อไม่ครบ 10,000 รายชื่อ

หากปรากฏว่ามีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและเอกสารหลักฐานไม่ครบตามที่กฎหมายกำหนด สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายทราบ เพื่อให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายไปดำเนินการรวบรวมรายชื่อเพิ่มเติมให้ครบ 10,000 รายชื่อ ภายใน 30 วัน ถ้าพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าวแล้ว ผู้แทนการเสนอกฎหมายยังไม่ส่งรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายเพิ่มเติมให้ครบ 10,000 คน ประธานรัฐสภาจะสั่งจำหน่ายเรื่อง ขั้นตอนที่ 4 การปิดประกาศรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและการคัดค้าน

เมื่อสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรตรวจสอบความถูกต้องของรายชื่อและเอกสารประกอบการเข้าชื่อเสนอกฎหมายแล้ว ปรากฏว่ามีจำนวนครบตามที่กฎหมายกำหนด คือ ไม่น้อยกว่า 10,000 รายชื่อ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะจัดส่งบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายไปปิดประกาศตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน เขตชุมชนหนาแน่น ทั้งนี้ เฉพาะในเขตท้องที่ที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน

หากประชาชนผู้ใดพบว่ามีรายชื่อของตนเป็นผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยที่ตนมิได้ร่วมลงชื่อเสนอกฎหมายด้วย ให้ผู้นั้นยื่นคำร้องคัดค้านตามแบบคำร้องคัดค้านรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ก. 4) ต่อประธานรัฐสภาหรือผู้ที่ประธานรัฐสภาแต่งตั้งให้เป็นผู้รับคำร้องคัดค้าน เพื่อให้ทำการขีดฆ่าชื่อของตนออกจากบัญชีรายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายภายใน 20 วัน นับแต่วันปิดประกาศ หากพ้นกำหนดดังกล่าว ไม่มีผู้ใดคัดค้านให้ถือว่าไม่มีผู้คัดค้าน

กรณีมีผู้คัดค้านภายในกำหนดเวลา 20 วัน จนทำให้รายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนไม่ครบ 10,000 คน สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรจะแจ้งให้ผู้แทนการเสนอกฎหมายทราบ เพื่อให้ยื่นรายชื่อเพิ่มเติมภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง

กรณีไม่มีการคัดค้าน หรือมีการคัดค้าน แต่รายชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนครบจำนวน 10,000 คน ตามที่กฎหมายกำหนด ประธานรัฐสภาจะดำเนินการนำร่างพระราชบัญญัติที่เสนอเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาต่อไป

2. การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้ดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย มีขั้นตอนปฏิบัติดังนี้ คือ

ขั้นตอนที่ 1 การริเริ่มเสนอกฎหมาย

ในขั้นตอนแรกของการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย จะต้องมีผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป ที่ประสงค์จะขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยให้ยื่นคำขอพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พร้อมทั้งจัดทำบัญชีรายชื่อผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 2)

นอกจากนี้ จะต้องจัดทำร่างกฎหมายที่จะเสนอให้รัฐสภาพิจารณา โดยจัดทำในรูปแบบการเสนอกฎหมาย ซึ่งประกอบด้วย บันทึกหลักการและเหตุผลแห่งร่างพระราชบัญญัติ ร่างพระราชบัญญัติซึ่งจะต้องแบ่งเป็นมาตราที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้าใจได้ว่ามีความประสงค์จะตรากฎหมายในเรื่องใด ตลอดจนมีหลักเกณฑ์และวิธีการในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมาย และสรุปสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัตินั้น

หลังจากนั้น จะต้องยื่นคำขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 1) พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อประธานกรรมการการเลือกตั้ง ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือ ณ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด

ขั้นตอนที่ 2 การดำเนินการตรวจสอบเอกสารและปิดประกาศเอกสาร

เมื่อสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งได้รับคำขอพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้องแล้ว จะดำเนินการดังนี้

1. เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้งดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

2. เมื่อเลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้งเห็นว่าเอกสารทั้งหมดถูกต้องตามที่กฎหมายกำหนดก็จะแจ้งให้ตัวแทนผู้ยื่นคำขอทราบและส่งรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ยื่นคำขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายไปให้ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่มีรายชื่อผู้ยื่นคำขอดังกล่าวอยู่ในทะเบียนบ้านเพื่อปิดประกาศตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน เขตชุมชนหนาแน่น หากประชาชนผู้ใดพบว่ามีรายชื่อของตนเป็นผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยที่ตนมิได้ร่วมลงชื่อเสนอกฎหมายด้วย ให้ผู้นั้นยื่นหนังสือคัดค้านต่อผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดนั้น ภายใน 20 วัน นับแต่วันปิดประกาศ จากนั้น ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่มีการคัดค้านจะดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง หากข้อเท็จจริงฟังได้ว่าผู้คัดค้านมิได้ร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายจริงก็จะดำเนินการขีดฆ่าชื่อผู้นั้นออกจากบัญชีรายชื่อ แต่ถ้าข้อเท็จจริงฟังได้ว่าผู้คัดค้านเป็นผู้ขอให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดจะสั่งจำหน่ายหนังสือคัดค้านนั้นและแจ้งให้ผู้คัดค้านทราบ

3. ถ้าปรากฏว่าผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ยื่นคำขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดการให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวนไม่ถึง 100 คน เลขาธิการคณะกรรมการการเลือกตั้งจะแจ้งให้ผู้แทนผู้ยื่นคำขอทราบโดยเร็ว และเสนอต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งเพื่อให้มีคำสั่งจำหน่ายเรื่อง

4. ถ้าปรากฏว่าผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ยื่นคำขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดการให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายมีจำนวน 100 คน ขึ้นไป คณะกรรมการการเลือกตั้งจะจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประกาศกำหนดเวลาเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ซึ่งจะต้องมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน โดยสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งจะจัดส่งประกาศดังกล่าวพร้อมด้วยร่างพระราชบัญญัติและเอกสารที่เกี่ยวข้องไปให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด

5. เมื่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดได้รับร่างพระราชบัญญัติและเอกสารข้างต้นแล้ว ก็จะกำหนดสถานที่ลงชื่อสำหรับผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ประสงค์จะร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมาย โดยจะปิดประกาศกำหนดระยะเวลาการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และประกาศกำหนดสถานที่ลงชื่อตามสถานที่ต่าง ๆ ได้แก่ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ สำนักงานเทศบาล ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน เขตชุมชนหนาแน่น พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบ

ขั้นตอนที่ 3 การร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมาย สามารถทำได้ 2 ทาง คือ

1. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายในเขตจังหวัดที่ตนมีสิทธิเลือกตั้ง ในช่วงระยะเวลาที่มีการกำหนดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่ประสงค์จะร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายมาแสดงตนต่อผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัด หรือผู้ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งแต่งตั้ง พร้อมทั้งแสดงบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ ณ สถานที่ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดกำหนด จากนั้น คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดหรือผู้ที่คณะกรรมการการเลือกตั้งแต่งตั้งจะทำการตรวจสอบหลักฐานกับทะเบียนรายชื่อของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง หากปรากฏว่าเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งในทะเบียนรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งผู้นั้นกรอกข้อความ และลงชื่อในแบบคำขอเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช.9) แต่ถ้าผู้นั้นไม่มีรายชื่อในทะเบียนรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดแจ้งให้ผู้นั้นทราบทันที

2. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายนอกเขตจังหวัดที่ตนมีสิทธิเลือกตั้ง

การขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง จัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามถิ่นที่อยู่นอกเขตจังหวัดตามทะเบียนรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้

(1) ให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่อยู่นอกเขตจังหวัดและประสงค์จะร่วมเข้าชื่อเสนอกฎหมายมาแสดงตนต่อผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ตนมีถิ่นที่อยู่ พร้อมทั้งแสดงบัตรประจำตัวประชาชน บัตรประจำตัวประชาชนที่หมดอายุ หรือบัตรหรือหลักฐานอื่นใดของทางราชการที่มีรูปถ่ายสามารถแสดงตนได้ และลงชื่อตามแบบคำขอเข้าชื่อเสนอกฎหมาย (แบบ ข.ช. 10) โดยจะต้องดำเนินการก่อนวันสุดท้ายของระยะเวลาเข้าชื่อเสนอกฎหมายที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดไม่น้อยกว่าสิบวัน
(2) ให้ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีถิ่นที่อยู่แจ้งไปยังผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ผู้เข้าชื่ออ้างว่ามีชื่ออยู่ในทะเบียนรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งจริงหรือไม่

หากผลการตรวจสอบถูกต้อง ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัดที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายมีถิ่นที่อยู่ก็จะบันทึกผลการตรวจสอบในช่องหมายเหตุตามแบบคำขอเข้าชื่อกฎหมาย (แบบ ข.ช.10) ว่า “ถูกต้อง” และลงลายช่องกำกับไว้ในช่อง “หมายเหตุ”

หากผลการตรวจสอบไม่ถูกต้อง ก็จะขีดฆ่าชื่อผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายและบันทึกผลการตรวจสอบในช่องหมายเหตุตามแบบคำขอเข้าชื่อกฎหมาย (แบบ ข.ช.10) ว่า “ไม่ถูกต้อง” และลงลายช่องกำกับไว้ในช่อง “หมายเหตุ” ขั้นตอนที่ 4 การเสนอกฎหมายต่อรัฐสภา มีขั้นตอน ดังต่อไปนี้

1. เมื่อครบกำหนดระยะเวลาเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามที่คณะกรรมการการเลือกตั้งกำหนดแล้วคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดจะรวบรวมเอกสารเสนอต่อคณะกรรมการการการเลือกตั้งภายใน 20 วัน

2. กรณีที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบหนึ่งหมื่นคน ประธานกรรมการการเลือกตั้งจะรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องส่งไปยังประธานรัฐสภาเพื่อพิจารณา หากเห็นว่าถูกต้องและมีผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายครบ 10,000 คน ให้ประธานรัฐสภาดำเนินการให้รัฐสภาพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อไป

3. กรณีที่ผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายไม่ครบหนึ่งหมื่นคน ประธานกรรมการการเลือกตั้งจะรายงานให้ประธานรัฐสภาทราบ เพื่อให้ประธานรัฐสภาสั่งจำหน่ายเรื่องการเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ[8]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ มาตรา 291 ได้วางหลักเกณฑ์และวิธีการในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไว้ ดังนี้

ผู้มีสิทธิเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ ได้แก่

(1) คณะรัฐมนตรี

(2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

(3) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน

โดยในการเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญนั้น ต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐจะเสนอมิได้ และร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมนั้น จะต้องแบ่งเป็นมาตราและต้องมีเอกสารประกอบดังต่อไปนี้

(1) หลักการแห่งร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม

(2) เหตุผลในการเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม

(3) บันทึกวิเคราะห์สรุปสาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติม

หลักการแห่งร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมนั้นให้กำหนดโดยชัดแจ้ง

เนื่องจากในปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายที่กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการที่ให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญไว้โดยเฉพาะ แต่เนื่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 291 (1) วางหลักว่าญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญต้องมาจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ดังนั้น ในการเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จึงต้องนำหลักเกณฑ์และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542 มาบังคับใช้โดยอนุโลม เพราะฉะนั้น วิธีการเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญจึงมี 2 วิธี คือ

1. การเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ โดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คน ยื่นเรื่องเสนอต่อประธานรัฐสภาและให้นำวิธีการยื่นคำขอเข้าชื่อเสนอกฎหมายมาบังคับใช้กับการยื่นคำขอเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญโดยอนุโลม

2. การเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ โดยประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 100 คน ร้องขอให้คณะกรรมการการเลือกตั้งจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอญัตติเพื่อขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ จะเห็นได้ว่า การเข้าชื่อเสนอกฎหมายเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการเสนอกฎหมายซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่ต้องการให้ประชาชนเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการปกครองและตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอย่างเป็นรูปธรรม หากประชาชนเห็นว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและคณะรัฐมนตรีไม่เสนอร่างกฎหมายอันเกี่ยวข้องกับสิทธิและเสรีภาพของประชาชนหรือแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ประชาชนก็มีสิทธิรวมกลุ่มกันใช้อำนาจโดยเสนอร่างกฎหมายนั้นให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาเองได้

อ้างอิง

  1. ปัทมา สูบกำปัง. (2556). การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอดีต สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ. [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556. เข้าถึงได้จาก http://www.kpi.ac.th/kpith/index.php?option=com_content&task=view&id=250&Itemid=214
  2. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 3-5.
  3. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 78.
  4. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 121.
  5. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2556). การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน. [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556. เข้าถึงได้จาก http://www.parliament.go.th
  6. “พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542” (2542, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 20 ก. หน้า 31.
  7. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 28-38.
  8. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, หน้า 41-42.

เอกสารแนะนำให้อ่านต่อ

จันทิมา ทองชาติ. (2551). การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน ศึกษาเฉพาะกรณีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การเมืองการปกครอง). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

บรรณานุกรม

ปัทมา สูบกำปัง. (2556). การใช้สิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน : บทเรียนจากอดีต สู่ "สิทธิ" ที่เป็นจริงได้ในทางปฏิบัติ. [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556. เข้าถึงได้จาก http://www.kpi.ac.th/ kpith/ index.php?option=com_content&task=view&id=250&Itemid=214

“พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542” (2542, 25 มีนาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 116 ตอนที่ 20ก. หน้า 31.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2554). การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์, สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2556). การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน. [ออนไลน์] วันที่ค้นข้อมูล 5 มีนาคม 2556. เข้าถึงได้จากhttp://www.parliament.go.th/

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2549). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2550). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. กรุงเทพฯ : สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

ดูเพิ่มเติม

• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550

• พระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย พ.ศ. 2542

• ประกาศรัฐสภา เรื่อง หลักเกณฑ์ และวิธีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

• ระเบียบคณะกรรมการการเลือกตั้งว่าด้วยวิธีปฏิบัติในการจัดให้มีการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย และหลักเกณฑ์การขอใช้สิทธิเข้าชื่อนอกเขตและการตรวจสอบ พ.ศ. 2542