ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 2 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2480"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Teeraphan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
'''ผู้เรียบเรียง''' ชาย  ไชยชิต
'''ผู้เรียบเรียง''' ชาย  ไชยชิต
----


'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต
บรรทัดที่ 5: บรรทัดที่ 7:
----
----


'''การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 2 วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480'''
==การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 2 วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480==


[[การเลือกตั้ง]]ครั้งที่สองนี้เป็น[[การเลือกตั้งแบบแบ่งเขต]] โดยประชาชนเป็น[[ผู้ลงคะแนนเสียง]]เลือกตั้ง[[ผู้แทนราษฎร]]ในเขตของตนเองโดยตรง มีเ[[กณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎร]]ในแต่ละเขตคือ ราษฎรจำนวนหนึ่งแสนคนต่อผู้แทนหนึ่งคน จากจำนวนประชากรทั้งประเทศในขณะนั้นทำให้ได้ผู้แทนราษฎรทั้งสิ้นจำนวน 91 คน การเลือกตั้งครั้งนี้จัดให้มีขึ้นเนื่องจาก[[ผู้แทนราษฎร]]ชุดแรกได้พ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ  
[[การเลือกตั้ง]]ครั้งที่สองนี้เป็น[[การเลือกตั้งแบบแบ่งเขต]] โดยประชาชนเป็น[[ผู้ลงคะแนนเสียง]]เลือกตั้ง[[ผู้แทนราษฎร]]ในเขตของตนเองโดยตรง มีเ[[กณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎร]]ในแต่ละเขตคือ ราษฎรจำนวนหนึ่งแสนคนต่อผู้แทนหนึ่งคน จากจำนวนประชากรทั้งประเทศในขณะนั้นทำให้ได้ผู้แทนราษฎรทั้งสิ้นจำนวน 91 คน การเลือกตั้งครั้งนี้จัดให้มีขึ้นเนื่องจาก[[ผู้แทนราษฎร]]ชุดแรกได้พ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ  


ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,123,239 คน มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 2,462,535 คน คิดเป็นร้อยละ 40.22 จังหวัดที่มี[[ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง]]มากที่สุดคือ จังหวัดนครนายก คิดเป็นร้อยละ 80.80 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน คิดเป็นร้อยละ 22.24 [[การจัดการเลือกตั้ง]]ครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 247]]5 ซึ่งกำหนดให้[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]มี[[ระบบสภาเดีย]]และ[[พรรคการเมือง]]ที่มีบทบาทในการเลือกตั้งยังคงมีเพียงพรรคเดียวคือ พรรค[[คณะราษฎร]]
ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,123,239 คน มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 2,462,535 คน คิดเป็นร้อยละ 40.22 จังหวัดที่มี[[ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง]]มากที่สุดคือ จังหวัดนครนายก คิดเป็นร้อยละ 80.80 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน คิดเป็นร้อยละ 22.24 [[การจัดการเลือกตั้ง]]ครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติ[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475]] ซึ่งกำหนดให้[[ฝ่ายนิติบัญญัติ]]มี[[ระบบสภาเดียว]] และ[[พรรคการเมือง]]ที่มีบทบาทในการเลือกตั้งยังคงมีเพียงพรรคเดียวคือ พรรค[[คณะราษฎร]]
 
----
 


'''ที่มา'''
==ที่มา==
บุญทัน  ดอกไธสง, '''การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย''', กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520
บุญทัน  ดอกไธสง, '''การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย''', กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:14, 1 สิงหาคม 2554

ผู้เรียบเรียง ชาย ไชยชิต


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งที่ 2 วันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480

การเลือกตั้งครั้งที่สองนี้เป็นการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต โดยประชาชนเป็นผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งผู้แทนราษฎรในเขตของตนเองโดยตรง มีเกณฑ์การคำนวณสัดส่วนผู้แทนราษฎรในแต่ละเขตคือ ราษฎรจำนวนหนึ่งแสนคนต่อผู้แทนหนึ่งคน จากจำนวนประชากรทั้งประเทศในขณะนั้นทำให้ได้ผู้แทนราษฎรทั้งสิ้นจำนวน 91 คน การเลือกตั้งครั้งนี้จัดให้มีขึ้นเนื่องจากผู้แทนราษฎรชุดแรกได้พ้นจากตำแหน่งไปตามวาระ

ผลการเลือกตั้งพบว่า จากจำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้งทั้งหมด 6,123,239 คน มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งจำนวน 2,462,535 คน คิดเป็นร้อยละ 40.22 จังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งมากที่สุดคือ จังหวัดนครนายก คิดเป็นร้อยละ 80.80 และจังหวัดที่มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งน้อยที่สุดคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน คิดเป็นร้อยละ 22.24 การจัดการเลือกตั้งครั้งนี้เป็นไปตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่งกำหนดให้ฝ่ายนิติบัญญัติมีระบบสภาเดียว และพรรคการเมืองที่มีบทบาทในการเลือกตั้งยังคงมีเพียงพรรคเดียวคือ พรรคคณะราษฎร

ที่มา

บุญทัน ดอกไธสง, การเปลี่ยนแปลงทางการบริหารและการเมืองไทย, กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์, 2520

ฝ่ายพัฒนาการเมืองและการปกครอง สำนักนโยบายและแผนมหาดไทย, อนุสารการเมือง, มีนาคม 2522