ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบหลายพรรคการเมือง"

จาก ฐานข้อมูลการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Apirom (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
{{รอผู้ทรง}}
'''ผู้เรียบเรียง''' ชัยวัฒน์  ม่านศรีสุข และ  รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


----
----
'''ผู้เรียบเรียง''' ชัยวัฒน์  ม่านศรีสุข และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์
 
'''ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ''' รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


----
----


 
ระบบ[[พรรคการเมือง]]ที่มีพรรคการเมืองตั้งแต่สามพรรคหรือมากกว่านั้นในระบบการเมือง โดยที่พรรคเหล่านี้มีศักยภาพที่จะจัดตั้งรัฐบาลผ่านการแข่งขันอย่างเสรีใน[[การเลือกตั้ง]] [[รัฐบาล]]ที่เกิดขึ้นจากระบบหลากหลายพรรคการเมืองอาจเป็น[[ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว|รัฐบาลพรรคการเมืองเดียว]] หรือ[[รัฐบาลผสม]]หลายพรรคการเมืองก็ได้  
ระบบพรรคการเมืองที่มีพรรคการเมืองตั้งแต่สามพรรคหรือมากกว่านั้นในระบบการเมือง โดยที่พรรคเหล่านี้มีศักยภาพที่จะจัดตั้งรัฐบาลผ่านการแข่งขันอย่างเสรีในการเลือกตั้ง รัฐบาลที่เกิดขึ้นจากระบบหลากหลายพรรคการเมืองอาจเป็น[[ระบบพรรคการเมืองพรรคเดียว|รัฐบาลพรรคการเมืองเดียว]] หรือ[[รัฐบาลผสม]]หลายพรรคการเมืองก็ได้  


==ประเภทของระบบหลายพรรคการเมือง==
==ประเภทของระบบหลายพรรคการเมือง==
ภายใต้ระบบหลากหลายพรรคการเมือง [[Giovanni Sartori]] นักรัฐศาสตร์ชาวอิตาลีได้จำแนกระบบหลากหลายพรรคออกเป็น 2 ประเภทย่อย<ref>Giovanni Sartori, Parties and Party System: A Framework of Analysis, New York: Cambridge University Press, 1976</ref>  '''ประเภทแรก'''ได้แก่ '''ระบบหลากหลายพรรคแบบกลางๆ''' (''moderate multi-party system'') ซึ่งประกอบไปด้วยพรรคการเมืองประมาณ 5-6 พรรค พรรคการเมืองทั้งหมดนี้มีความสามารถที่จะจัดตั้งรัฐบาลหรือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาลผสม โดยที่แต่ละพรรคการเมืองจะมีอุดมการณ์ทางการเมืองไม่แตกต่างกันมากนัก ตัวอย่างเช่น ประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และสวีเดน '''ประเภทที่สอง'''ได้แก่ '''ระบบหลากหลายพรรคแบบแตกย่อย''' (''polarlized multi-party system'') ซึ่งประกอบไปด้วยพรรคการเมืองมากกว่า 5-6 พรรคขึ้นไป ในกรณีนี้รวมพรรคการเมืองชนิดที่ไม่ต้องการเป็นรัฐบาลหรือมี[[ลักษณะต่อต้านระบบ]] (''[[ลักษณะต่อต้านระบบ|anti-system party]]'') เข้าไปด้วย พรรคการเมืองในระบบพรรคการเมืองเช่นนี้จะมีพื้นฐานความแตกต่างในเชิงอุดมการณ์สูงมาก ตัวอย่างเช่น ประเทศฝรั่งเศสในสมัย[[สาณารณรัฐฝรั่งเศส|สาธารณรัฐที่ 4]] อิตาลี และประเทศไทยในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 จนถึงช่วง 6 ตุลาคม 2519 ที่มีพรรคการเมืองกว่า 50 พรรคการเมือง  
 
ภายใต้ระบบหลากหลายพรรคการเมือง [[Giovanni Sartori]] นักรัฐศาสตร์ชาวอิตาลีได้จำแนกระบบหลากหลายพรรคออกเป็น 2 ประเภทย่อย<ref>Giovanni Sartori, Parties and Party System: A Framework of Analysis, New York: Cambridge University Press, 1976</ref>  '''ประเภทแรก'''ได้แก่ '''ระบบหลากหลายพรรคแบบกลางๆ''' (''moderate multi-party system'') ซึ่งประกอบไปด้วยพรรคการเมืองประมาณ 5-6 พรรค พรรคการเมืองทั้งหมดนี้มีความสามารถที่จะจัดตั้งรัฐบาลหรือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาลผสม โดยที่แต่ละพรรคการเมืองจะมี[[อุดมการณ์ทางการเมือง]]ไม่แตกต่างกันมากนัก ตัวอย่างเช่น ประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และสวีเดน '''ประเภทที่สอง'''ได้แก่ '''ระบบหลากหลายพรรคแบบแตกย่อย''' (''polarlized multi-party system'') ซึ่งประกอบไปด้วยพรรคการเมืองมากกว่า 5-6 พรรคขึ้นไป ในกรณีนี้รวมพรรคการเมืองชนิดที่ไม่ต้องการเป็นรัฐบาลหรือมี[[ลักษณะต่อต้านระบบ]] (''[[ลักษณะต่อต้านระบบ|anti-system party]]'') เข้าไปด้วย พรรคการเมืองในระบบพรรคการเมืองเช่นนี้จะมีพื้นฐานความแตกต่างในเชิงอุดมการณ์สูงมาก ตัวอย่างเช่น ประเทศฝรั่งเศสในสมัย[[สาณารณรัฐฝรั่งเศส|สาธารณรัฐที่ 4]] อิตาลี และประเทศไทยในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 จนถึงช่วง 6 ตุลาคม 2519 ที่มีพรรคการเมืองกว่า 50 พรรคการเมือง  
 
เมื่อเทียบกับระบบสองพรรคใหญ่ทางการเมืองแล้ว ระบบหลากหลายพรรค (แบบกลางๆ) มีข้อดีที่น่าสนใจคือ ภายใต้ระบบสองพรรคใหญ่ ผู้ลงคะแนนได้จำแนกตนออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ โดยที่ทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันในเชิงพื้นฐานอุดมการณ์อย่างมากจนในบางครั้งส่งผลให้ไม่สามารถตกลงกันได้ในหลักการสำคัญๆ ขณะที่ภายใต้ระบบหลากหลายพรรค พรรคการเมืองจะมีลักษณะธรรมชาติที่มีความเป็นกลางๆ ไม่สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึ่ง และถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียงข้างมากเด็ดขาด สภาวะดังกล่าวจะบังคับให้พรรคการเมืองต้องหันหน้าเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม ซึ่งสิ่งนี้จะเป็นปัจจัยสนับสนุนรูปแบบของความเป็นกลาง (''centrism'')  กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ ภายใต้ระบบหลากหลายพรรคการเมืองมักจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงหรืออย่างถอนรากถอนโคนในเชิงนโยบาย


เมื่อเทียบกับระบบสองพรรคใหญ่ทางการเมืองแล้ว ระบบหลากหลายพรรค (แบบกลางๆ) มีข้อดีที่น่าสนใจคือ ภายใต้ระบบสองพรรคใหญ่ ผู้ลงคะแนนได้จำแนกตนออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ โดยที่ทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันในเชิงพื้นฐานอุดมการณ์อย่างมากจนในบางครั้งส่งผลให้ไม่สามารถตกลงกันได้ในหลักการสำคัญๆ ขณะที่ภายใต้ระบบหลากหลายพรรค พรรคการเมืองจะมีลักษณะธรรมชาติที่มีความเป็นกลางๆ ไม่สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึ่ง และถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียงข้างมากเด็ดขาด สภาวะดังกล่าวจะบังคับให้พรรคการเมืองต้องหันหน้าเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม ซึ่งสิ่งนี้จะเป็นปัจจัยสนับสนุนรูปแบบของความเป็นกลาง (''centrism'')  กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ ภายใต้ระบบหลากหลายพรรคการเมืองมักจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงหรืออย่างถอนรากถอนโคนในเชิงนโยบาย


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:45, 29 มิถุนายน 2554

ผู้เรียบเรียง ชัยวัฒน์ ม่านศรีสุข และ รศ.ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์


ผู้ทรงคุณวุฒิประจำบทความ รองศาสตราจารย์นรนิติ เศรษฐบุตร และ รองศาสตราจารย์ ดร.นิยม รัฐอมฤต


ระบบพรรคการเมืองที่มีพรรคการเมืองตั้งแต่สามพรรคหรือมากกว่านั้นในระบบการเมือง โดยที่พรรคเหล่านี้มีศักยภาพที่จะจัดตั้งรัฐบาลผ่านการแข่งขันอย่างเสรีในการเลือกตั้ง รัฐบาลที่เกิดขึ้นจากระบบหลากหลายพรรคการเมืองอาจเป็นรัฐบาลพรรคการเมืองเดียว หรือรัฐบาลผสมหลายพรรคการเมืองก็ได้

ประเภทของระบบหลายพรรคการเมือง

ภายใต้ระบบหลากหลายพรรคการเมือง Giovanni Sartori นักรัฐศาสตร์ชาวอิตาลีได้จำแนกระบบหลากหลายพรรคออกเป็น 2 ประเภทย่อย[1] ประเภทแรกได้แก่ ระบบหลากหลายพรรคแบบกลางๆ (moderate multi-party system) ซึ่งประกอบไปด้วยพรรคการเมืองประมาณ 5-6 พรรค พรรคการเมืองทั้งหมดนี้มีความสามารถที่จะจัดตั้งรัฐบาลหรือเข้าเป็นส่วนหนึ่งของรัฐบาลผสม โดยที่แต่ละพรรคการเมืองจะมีอุดมการณ์ทางการเมืองไม่แตกต่างกันมากนัก ตัวอย่างเช่น ประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส เบลเยี่ยม และสวีเดน ประเภทที่สองได้แก่ ระบบหลากหลายพรรคแบบแตกย่อย (polarlized multi-party system) ซึ่งประกอบไปด้วยพรรคการเมืองมากกว่า 5-6 พรรคขึ้นไป ในกรณีนี้รวมพรรคการเมืองชนิดที่ไม่ต้องการเป็นรัฐบาลหรือมีลักษณะต่อต้านระบบ (anti-system party) เข้าไปด้วย พรรคการเมืองในระบบพรรคการเมืองเช่นนี้จะมีพื้นฐานความแตกต่างในเชิงอุดมการณ์สูงมาก ตัวอย่างเช่น ประเทศฝรั่งเศสในสมัยสาธารณรัฐที่ 4 อิตาลี และประเทศไทยในช่วงหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 จนถึงช่วง 6 ตุลาคม 2519 ที่มีพรรคการเมืองกว่า 50 พรรคการเมือง

เมื่อเทียบกับระบบสองพรรคใหญ่ทางการเมืองแล้ว ระบบหลากหลายพรรค (แบบกลางๆ) มีข้อดีที่น่าสนใจคือ ภายใต้ระบบสองพรรคใหญ่ ผู้ลงคะแนนได้จำแนกตนออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ โดยที่ทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันในเชิงพื้นฐานอุดมการณ์อย่างมากจนในบางครั้งส่งผลให้ไม่สามารถตกลงกันได้ในหลักการสำคัญๆ ขณะที่ภายใต้ระบบหลากหลายพรรค พรรคการเมืองจะมีลักษณะธรรมชาติที่มีความเป็นกลางๆ ไม่สุดโต่งไปด้านใดด้านหนึ่ง และถ้าไม่มีพรรคการเมืองใดได้เสียงข้างมากเด็ดขาด สภาวะดังกล่าวจะบังคับให้พรรคการเมืองต้องหันหน้าเข้ามาทำงานร่วมกันเพื่อจัดตั้งรัฐบาลผสม ซึ่งสิ่งนี้จะเป็นปัจจัยสนับสนุนรูปแบบของความเป็นกลาง (centrism) กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ ภายใต้ระบบหลากหลายพรรคการเมืองมักจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงหรืออย่างถอนรากถอนโคนในเชิงนโยบาย

อ้างอิง

  1. Giovanni Sartori, Parties and Party System: A Framework of Analysis, New York: Cambridge University Press, 1976


ดูเพิ่มเติม